fbpx
วิกิพีเดีย

การกล่อมเกลาทางการเมือง

การกล่อมเกลาทางการเมือง หรือ การเรียนรู้ทางการเมือง หรือสังคมประกิตทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ได้รับความสนใจศึกษากันมานานแล้ว ในยุคที่รัฐศาสตร์ได้รับความสนใจศึกษาในเชิงปรัชญา นักปรัชญาการเมืองบอกว่า การกล่อมเกลาทางการเมือง เป็นการเตรียมความพร้อมของบุคคลสำหรับความเป็นพลเมือง (Citizenship) ในแบบที่พึงปรารถนาของรัฐ

ในบทสนทนา (Dialoque) เรื่อง “อุตมรัฐ” หรือ “The Republic” ของ เพลโต้ (Plato) นักปรัชญาการเมืองสมัยกรีกโบราณ ซึ่งเป็นบทสนทนาหนึ่งห้าเรื่องที่มีชื่อเสียงที่สุดของเพลโต้ (Plato’ s Great Five Dialoques) มีข้อความที่กล่าวถึงการให้การศึกษาและการให้ประสบการณ์แก่เด็กในนครรัฐว่าเป็นช่องทางหรือวิธีการสร้างค่านิยมความเป็นพลเมืองที่เหมาะสม เพลโต้จึงได้วางโครงการฝึกอบรมคน เพื่อให้เป็นพลเมืองที่มีค่านิยมและมีความโน้มเอียงพื้นฐานที่สอดคล้องกับบทบาทที่เขาจะมีส่วนร่วมในนครรัฐ ซึ่งจะเป็นบทบาทที่แตกต่างกันไป

เพลโต้ อธิบายว่า ค่านิยมของพลเมืองนั้น มีความเกี่ยวข้องกับเสถียรภาพและความเป็นระเบียบของสถาบันทางการเมืองด้วย ในทำนองเดียวกัน อริสโตเติล (Aristotle) ศิษย์เอกจากสำนักวิชาการอะแคเดมี่ (Academy) ของเพลโต้ กล่าวเน้นว่า กระบวนการให้การศึกษาทางการเมือง (Political Education) เป็นกระบวนการสร้างค่านิยมและความโน้มเอียงทางการเมือง (Dawson and Prewitt 1969, 6-7)

นักวิชาการทางรัฐศาสตร์ ได้กล่าวถึงความหมายของการกล่อมเกลาทางการเมืองไว้หลายท่าน ขอยกตัวอย่างมากล่าวถึงโดยสังเขปได้แก่

อัลมอนด์และเพาเวลล์ ได้ให้ความหมายไว้ว่า การกล่อมเกลาทางการเมือง เป็นการนำมาซึ่งวัฒนธรรมทางการเมืองแก่ประชาชนในระบบการเมือง (Almond and Powell 1966, 64) โดยเป็นกระบวนการสร้างและการถ่ายทอดวัฒนธรรมทางการเมือง การกล่อมเกลาทางการเมืองจากคนรุ่นไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง หรือทำให้เกิดการถ่ายทอดวัฒนธรรมทางการเมืองอย่างใดอย่างหนึ่งของระบบการเมือง ที่ได้รับจากประสบการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลา (Almond and Powell 1980, 36) ซึ่งจะช่วยรักษาวัฒนธรรมทางการเมืองเดิมเอาไว้ หรือนำมาซึ่งความเปลี่ยนแปลงไปจากวัฒนธรรมทางการเมืองเดิม หรือก่อให้เกิดการก่อตัวของวัฒนธรรมทางการเมืองใหม่ขึ้นมาก็ได้ ในเชิงการวิเคราะห์ระบบการเมืองกระบวนการเรียนรู้หรือการกล่อมเกลาทางการเมืองนี้ ในทัศนะของแอลมอนด์ จัดเป็นหน้าที่หนึ่งในระบบการเมืองตามตัวแบบการวิเคราะห์เชิงโครงสร้าง-หน้าที่ (Structural-Functional Approach ) โดยเป็นหน้าที่นำเข้าสู่ระบบการเมือง หรือ Input Functions ซึ่งทำหน้าที่บำรุงรักษาระบบให้คงอยู่ ตามตัวแบบนี้ แอลมอนด์ตั้งสมมติฐานว่า ในแต่ละระบบการเมือง จะมีการสืบทอดวัฒนธรรมและโครงสร้างของระบบการเมืองยู่ตลอดเวลา และการสืบทอดดังกล่าวนี้ เป็นไปได้ด้วยกระบวนการกล่อมเกลาทางการเมือง

อีสตันและเดนนิส (Easton and Dennis 1969, 7 ) อธิบายว่า การกล่อมเกลาทางการเมือง เป็นวิธีการที่สังคมส่งผ่านความโน้มเอียงทางการเมือง อันได้แก่ ความรู้ ทัศนคติ ปทัสถาน และค่านิยม จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง ซึ่งถ้าไม่มีกระบวนการถ่ายทอดสิ่งเหล่านี้ สมาชิกใหม่ของระบบการเมืองซึ่งได้แก่ เด็ก ๆ ก็จะต้องแสวงหารูปแบบความโน้มเอียงเรื่องที่เกี่ยวกับการเมืองใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา อันจะย่อมมีผลกระทบต่อความมั่นคงของระบบการเมือง

กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมือง

การที่มนุษย์สามารถเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ในสังคม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการปกครอง การเมือง สังคม เศรษฐกิจ การศึกษาและอื่น ๆ ซึ่งเมื่อมนุษย์ได้รับรู้เข้าใจแล้ว จะเกิดความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ ค่านิยม เกี่ยวกับสิ่งเหล่านั้น การเรียนรู้นี้ จะเกิดขึ้นเป็นขั้นเป็นตอน เรียกว่า “กระบวนการ”

แอลมอนด์ และเพาเวล (Almond and Powell , 1966) เสนอว่า กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมือง คือ กระบวนการถ่ายทอดวัฒนธรรมทางการเมืองแก่ประชาชน หรือส่งผ่านวัฒนธรรมทางการเมือง กระบวนการสังคมประกิตทางการเมือง ช่วยผดุงวัฒนธรรมทางการเมืองเดิมไว้ โดยส่งผ่านจากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่ง และในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองและสังคมย่างรวดเร็ว ฉับพลัน เช่น เกิดการปฏิวัติ กระบวนการสังคมประกิตทางการเมืองก็สร้างวัฒนธรรมทางการเมืองที่ไม่เคยมีมาก่อนขึ้นมาใหม่ได้

แลงตัน (Langton, 1969) สรุปอย่างกว้างๆ ว่า กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมืองเป็นกระบวนการที่เกี่ยวกับวิถีทางของการสืบทอดวัฒนธรรมทางการเมือง ภายในสังคมหนึ่งๆ จากคนรุ่นหนึ่งไปยังคนอีกรุ่นหนึ่ง เป็นกระบวนการของการสืบทอด ที่ดำเนินการผ่านตัวการต่างๆ ของสังคม ซึ่งจะทำให้แต่ละคนได้เรียนรู้ ในอันที่จะกำหนดรูปแบบความสัมพันธ์ของตนกับการเมืองให้เหมาะสม

รัชและอัลธอฟ (Rush and Althoff 1971, 16) กล่าวว่า การกล่อมเกลาทางการเมืองเป็นการที่บุคคลได้รู้ว่าเยาอยู่ในระบบการเมืองและมีการรับรู้ (Perception) และปฏิกิริยา (Reaction) ต่อปรากฏการณ์ทางการเมือง โดยเกิดขึ้นมาจากสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมในสังคมที่บุคคลนั้นเป็นสมาชิกอยู่ นอกจากนี้ ยังเกิดขึ้นมาจากปฏิสัมพันธ์ (Interrelation) ของบุคลิกภาพและประสบการณ์ของบุคคลด้วย

หากพิจารณานิยามของคำว่าการกล่อมเกลาทางการเมืองของอีสตันและเดนนิส (Easton and Dennis 1969, 7) เช่นที่ได้กล่าวถึงไปแล้ว กระบวนการการกล่อมเกลาทางการเมือง ก็ย่อมหมายถึง กระบวนการที่สังคมส่งผ่านความโน้มเอียงทางการเมือง อันได้แก่ ความรู้ ทัศนคติ ปทัสถาน และค่านิยม จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง ซึ่งถ้าไม่มีกระบวนการถ่ายทอดสิ่งเหล่านี้ สมาชิกใหม่ของระบบการเมืองซึ่งได้แก่ เด็ก ๆ ก็จะต้องแสวงหารูปแบบความโน้มเอียงเรื่องที่เกี่ยวกับการเมืองใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา อันจะย่อมมีผลกระทบต่อความมั่นคงของระบบการเมือง และกระบวนการกล่อมเกลาทางการเมืองนี้เอง จะเป็นกระบวนการที่ช่วยรักษาระบบการเมืองให้สามารถดำรงอยู่ได้

ในทัศนะของนักวิชาการไทย ทินพันธ์ นาคะตะ (Nakata 1975, 88) อธิบายว่า กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมืองโดยทั่วไปคือ การพัฒนาพฤติกรรมของบุคคลซึ่งกระทำต่อกัน และเป็นกระบวนการถ่ายทอดทางวัฒนธรรมทางการเมือง แต่ในกระบวนการกล่อมเกลาทางการเมืองทั่วไปนั้น บุคคลจะเรียนรู้ทั้งสิ่งที่เกี่ยวข้องกับการเมือง และไม่เกี่ยวข้องกับการเมืองโดยตรง ถึงกระนั้นก็ตาม สิ่งต่างๆเหล่านั้นต่างมีผลต่อทัศนคติ และพฤติกรรมทางการเมืองของบุคคลด้วย

พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว และสายทิพย์ สุคติพันธ์ (2523) ให้คำจำกัดความว่าเป็นกระบวนการที่บุคคลได้มาซึ่งความโน้มเอียงทางการเมือง (political orientation) ต่าง ๆ อันได้แก่ ความรู้ (knowledge หรือ cognition) ความเชื่อ (beliefs) ทัศนคติ และความรู้สึก (attitudes and feeling) และค่านิยม (values) ที่เกี่ยวกับระบบการเมือง กระบวนการทางการเมือง อำนาจทางการเมืองและบทบาทต่างๆในระบบการเมือง กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมืองนี้ อาจเป็นการผดุงรักษาและส่งทอด (maintain and transmit) หรือการแปลงรูป (transform) หรือการสร้าง (create) ความโน้มเอียงทางการเมืองเหล่านั้นก็ได้

จะเห็นได้ว่า คำจำกัดความและทัศนะของนักรัฐศาสตร์เกี่ยวกับกระบวนการกล่อมเกลาทางการเมืองที่ยกมากล่าวข้างต้น จะเห็นได้ว่ามีส่วนร่วมกันหลายประการ ส่วนที่แตกต่างกันไปบ้าง ก็ในประเด็นปลีกย่อย ซึ่งมีลักษณะที่เสริมหรือเพิ่มในรายละเอียดเท่านั้น ซึ่งอาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมือง คือ กระบวนการถ่ายทอดความรู้ ความเชื่อ ทัศนคติ หรือความรู้และค่านิยมที่เกี่ยวข้องกับด้านการเมือง จากคนกลุ่มหนึ่งไปยังคนอีกกลุ่มหนึ่ง เป็นการถ่ายทอดโดยผ่านตัวการ (agents) ต่าง ๆ ของสังคม

รูปแบบของการกล่อมเกลาทางการเมือง

กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมือง เป็นกระบวนการที่มีอิทธิพลต่อการเกิดแบบแผนเชิงพฤติกรรมที่มีหรือแสดงออกต่อการเมืองของบุคคล อันมีส่วนสร้างบุคลิกภาพและวัฒนธรรมทางการเมือง อันเป็นกระบวนการที่ดำเนินไปตลอดชีวิต ดังที่ได้กล่าวถึงไปบ้างแล้ว ในแง่รูปแบบของการกล่อมเกลาทางการเมืองนั้น ดอว์สัน และพรีวิทท์ (Dawson, and Prewitt 1969, 41-80) กล่าวไว้ว่า การกล่อมเกลาทางการเมืองของบุคคลสามารถจำแนกได้เป็น 2 รูปแบบคือ การกล่อมเกลาทางตรง (Direct Form) เป็นการอบรมกล่อมเกลาหรือถ่ายทอดให้บุคคลเกิดการเรียนรู้ที่มีเนื้อหา (Content) เกี่ยวกับการเมืองโดยเฉพาะ เช่น การเรียนรู้เกี่ยวกับโครงสร้างของรัฐบาล รูปแบบของการปกครองประเทศ ลัทธิทางการเมือง เป็นต้น อีกรูปแบบหนึ่งคือ การกล่อมเกลาทางอ้อม (Indirect Form) ซึ่งเป็นวิธีการที่จะทำให้บุคคลเกิดความโน้มเอียงที่จะเป็นไปในทางการเมือง ด้วยวิธีการเรียนรู้หรืออบรมกล่อมเกลาที่ไม่ได้เกี่ยวข้องกับเรื่องการเมืองโดยตรง แต่มีอิทธิพลทำให้เกิดการพัฒนาตัวตนทางการเมือง (Political Self) ของบุคคลได้ การกล่อมเกลาทางการเมืองแบบนี้ จะสร้างทัศนคติที่มีอำนาจทางการเมือง โดยหลักการสำคัญก็คือ ความสัมพันธ์ในวัยเด็กที่มีต่อพ่อแม่ ต่อครู เป็นต้น จะพัฒนาเป็นความคาดหวังต่อผู้มีอำนาจทางการเมืองต่อไปได้

ในทัศนะของ อัลมอนด์และเพาเวลล์ (1980) รูปแบบของการกล่อมเกลาทางการเมืองนั้น จะดำเนินไปใน 2 รูปแบบกล่าวคือ

  1. รูปแบบที่เห็นได้ชัด (Manifest Transmission) การกล่อมเกลาทางการเมืองในรูปแบบนี้ เกิดขึ้นเมื่อกระบวนการกล่อมเกลาหรือการถ่ายทอดนั้น เป็นการสื่อสารที่แสดงออกอย่างชัดเจนในการให้ข้อมูลข่าวสาร ค่านิยม และความรู้สึกต่อวัตถุทางการเมือง อันได้แก่ การสอนเรื่องหน้าที่ทางการเมืองของประชาชนให้แก่นักเรียนในโรงเรียน เป็นต้น
  2. รูปแบบที่แฝงอยู่ (Latent Transmission) ในรูปแบบนี้ เป็นการกล่อมเกลาที่ไม่ใช่ทัศนคติทางการเมือง (Non-political Attitude) แต่มีผลกระทบต่อทัศนคติทางการเมืองของผู้ได้รับการกล่อมเกลาทางการเมืองโดยทางอ้อม ซึ่งอาจเกิดขึ้นจากประสบการณ์ในวัยเด็ก เช่น เด็กรับเอาทัศนคติในทางก้าวร้าวจากครอบครัว ซึ่งอาจมีแนวโน้มให้เด็กกลายเป็นบุคคลที่มีทัศนคติแบบอำนาจนิยมเมื่อเติบโตขึ้น เป็นต้น

ขั้นตอนของกระบวนการกล่อมเกลาทางการเมือง

พาย (Lucian Pye 1962, 44-48) กล่าวไว้ว่า กระบวนการกล่อมเกลาทางการเมือง มีลำดับขั้นตอนจำแนกได้ 4 ขั้น ดังต่อไปนี้

ขั้นตอนแรก เป็นขั้นมูลฐานเริ่มแรกสุก เมื่อคนเกิดมาจะได้รับการอบรมเป็นช่วงตอนที่ทารกได้รับการฝึกฝนให้เป็นสมาชิกของสังคม ซึ่งเป็นตอนที่เด็กจะเกิดภาวะการเรียนรู้ เกิดทัศนคติ ค่านิยม ความชำนาญ ความสัมพันธ์กับบทบาทต่าง ๆ ของบุคคล ความรู้ทั่วไปและสิ่งต่าง ๆ ที่จำเป็นซึ่งคนในสังคมนั้นจะต้องเรียนรู้ อันเรียกได้ว่าเป็นขั้นของการสร้างความโน้มเอียง (Orientation) ให้บุคคลเข้าสู่ความเป็นมนุษย์ โดยชี้ให้เห็นถึงแนวทางการเรียนรู้วิธีในการดำเนินชีวิตหรือการอยู่ร่วมกันของคนในสังคม

ขั้นตอนที่สอง เป็นขั้นที่ก่อให้เกิดบุคลิกภาพต่อบุคคล อันเป็นประสบการณ์ต่าง ๆ ที่มีอิทธิพลต่อจิตใต้สำนึก ซึ่งจะเป็นผู้กำหนดบุคลิกภาพมูลฐานของบุคคลนั้น ในขั้นตอนนี้ บุคคลจะมีความสำนึกว่าตนเองเป็นส่วนหนึ่งของสังคม หรือที่เรียกว่ามีตัวตน (Identity)

ขั้นตอนที่สาม เป็นขั้นที่บุคคลได้รับการกล่อมเกลาทางการเมือง เป็นขั้นตอนที่บุคคลเริ่มมีความรู้สึก มีความสำนึก ถึงโลกทางการเมืองรอบ ๆ ตัวเขา และได้รู้ รวมทั้งมีทัศนะ กับเข้าใจถึงเหตุการณ์ความเป็นไปทางการเมืองต่าง ๆ ที่เรียกได้ว่าเกิดวัฒนธรรมทางการเมือง ผ่านตัวแทนการกล่อมเกลา (Political Socializing Agents)

ขั้นที่สี่ เป็นขั้นตอนที่บุคคลผ่านจากการเป็นสมาชิกของการเมืองที่ไม่ได้มีกิจกรรม (passive) มาเป็นผู้เข้าร่วมที่มีบทบาททางการเมือง ขั้นตอนนี้เรียกว่า การเลือกสรรทางการเมือง (Political Recriutment) โดยเป็นขั้นตอนที่บุคคลจะมีความเข้าใจต่อการเมืองอย่างลึกซึ้งและมีทัศนคติทางการเมือง หรือที่เรียกว่ามีบุคลิกภาพทางการเมืองอย่างชัดเจนและถาวรขึ้นกว่าเดิม คำแปลศัพท์คำนี้เป็นภาษาไทย มีความแตกต่างกันไปบ้างได้แก่ “กระบวนการสังคมประกิตทางการเมือง” “กระบวนการหล่อหลอมทางการเมือง” หรือ “กระบวนการเรียนรู้ทางการเมือง”

อ้างอิง

  • ปรีชา หงษ์ไกรเลิศ. 2518. ประชาธิปไตยสำหรับคนไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย
  • พรศักดิ์ ผ่องแผ้ว และสายทิพย์ สุคติพันธ์ 2523. การเมืองของเด็ก. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช
  • Almond, Gabriel A. and Powell, G. Bingham Jr. 1966. Comparative Politics: A Development Approach. Boston : Little, brown & Co.
  • Almond, Gabriel A. and Powell, G. Bingham Jr. 1980. Comparative Politics Today :A World View. Boston : Little, brown & Co.
  • Dawson, Richard E., and Prewitt, Kenneth. 1969. Political Socialization. Boston: Little Brown and Co.
  • Langton, Kenneth P. 1969. Political Socialization . London : Oxford University Press
  • Pye, Lucian. 1962. Politics, Personality, and Nation Building: Burma’ s Search for Identity. New Harven: Yale University Press
  • Rush, Michael, and Althoff, Philip. 1971. Introduction to Political Sociology. Berkeley: Western Printing Press
  • Thinapan Nakata. 1975. The Problem of Democracy in Thailand: A Study of Political Culture and Socialization of College Students . Bangkok : Praepittaya

การกล, อมเกลาทางการเม, อง, บทความน, อาจต, องการตรวจสอบต, นฉบ, ในด, านไวยากรณ, ปแบบการเข, ยน, การเร, ยบเร, ยง, ณภาพ, หร, อการสะกด, ณสามารถช, วยพ, ฒนาบทความได, หร, การเร, ยนร, ทางการเม, อง, หร, อส, งคมประก, ตทางการเม, อง, เป, นส, งท, ได, บความสนใจศ, กษาก, นมานาน. bthkhwamnixactxngkartrwcsxbtnchbb indaniwyakrn rupaebbkarekhiyn kareriyberiyng khunphaph hruxkarsakd khunsamarthchwyphthnabthkhwamidkarklxmeklathangkaremuxng hrux kareriynruthangkaremuxng hruxsngkhmprakitthangkaremuxng nn epnsingthiidrbkhwamsnicsuksaknmananaelw inyukhthirthsastridrbkhwamsnicsuksainechingprchya nkprchyakaremuxngbxkwa karklxmeklathangkaremuxng epnkaretriymkhwamphrxmkhxngbukhkhlsahrbkhwamepnphlemuxng Citizenship inaebbthiphungprarthnakhxngrthinbthsnthna Dialoque eruxng xutmrth hrux The Republic khxng ephlot Plato nkprchyakaremuxngsmykrikobran sungepnbthsnthnahnunghaeruxngthimichuxesiyngthisudkhxngephlot Plato s Great Five Dialoques mikhxkhwamthiklawthungkarihkarsuksaaelakarihprasbkarnaekedkinnkhrrthwaepnchxngthanghruxwithikarsrangkhaniymkhwamepnphlemuxngthiehmaasm ephlotcungidwangokhrngkarfukxbrmkhn ephuxihepnphlemuxngthimikhaniymaelamikhwamonmexiyngphunthanthisxdkhlxngkbbthbaththiekhacamiswnrwminnkhrrth sungcaepnbthbaththiaetktangknipephlot xthibaywa khaniymkhxngphlemuxngnn mikhwamekiywkhxngkbesthiyrphaphaelakhwamepnraebiybkhxngsthabnthangkaremuxngdwy inthanxngediywkn xrisotetil Aristotle sisyexkcaksankwichakarxaaekhedmi Academy khxngephlot klawennwa krabwnkarihkarsuksathangkaremuxng Political Education epnkrabwnkarsrangkhaniymaelakhwamonmexiyngthangkaremuxng Dawson and Prewitt 1969 6 7 nkwichakarthangrthsastr idklawthungkhwamhmaykhxngkarklxmeklathangkaremuxngiwhlaythan khxyktwxyangmaklawthungodysngekhpidaekxlmxndaelaephaewll idihkhwamhmayiwwa karklxmeklathangkaremuxng epnkarnamasungwthnthrrmthangkaremuxngaekprachachninrabbkaremuxng Almond and Powell 1966 64 odyepnkrabwnkarsrangaelakarthaythxdwthnthrrmthangkaremuxng karklxmeklathangkaremuxngcakkhnrunipsuxikrunhnung hruxthaihekidkarthaythxdwthnthrrmthangkaremuxngxyangidxyanghnungkhxngrabbkaremuxng thiidrbcakprasbkarnthangkaremuxngthiaetktangkninaetlachwngewla Almond and Powell 1980 36 sungcachwyrksawthnthrrmthangkaremuxngedimexaiw hruxnamasungkhwamepliynaeplngipcakwthnthrrmthangkaremuxngedim hruxkxihekidkarkxtwkhxngwthnthrrmthangkaremuxngihmkhunmakid inechingkarwiekhraahrabbkaremuxngkrabwnkareriynruhruxkarklxmeklathangkaremuxngni inthsnakhxngaexlmxnd cdepnhnathihnunginrabbkaremuxngtamtwaebbkarwiekhraahechingokhrngsrang hnathi Structural Functional Approach odyepnhnathinaekhasurabbkaremuxng hrux Input Functions sungthahnathibarungrksarabbihkhngxyu tamtwaebbni aexlmxndtngsmmtithanwa inaetlarabbkaremuxng camikarsubthxdwthnthrrmaelaokhrngsrangkhxngrabbkaremuxngyutlxdewla aelakarsubthxddngklawni epnipiddwykrabwnkarklxmeklathangkaremuxngxistnaelaednnis Easton and Dennis 1969 7 xthibaywa karklxmeklathangkaremuxng epnwithikarthisngkhmsngphankhwamonmexiyngthangkaremuxng xnidaek khwamru thsnkhti pthsthan aelakhaniym cakkhnrunhnungipsuxikrunhnung sungthaimmikrabwnkarthaythxdsingehlani smachikihmkhxngrabbkaremuxngsungidaek edk kcatxngaeswngharupaebbkhwamonmexiyngeruxngthiekiywkbkaremuxngihm xyutlxdewla xncayxmmiphlkrathbtxkhwammnkhngkhxngrabbkaremuxng enuxha 1 krabwnkarklxmeklathangkaremuxng 2 rupaebbkhxngkarklxmeklathangkaremuxng 3 khntxnkhxngkrabwnkarklxmeklathangkaremuxng 4 xangxingkrabwnkarklxmeklathangkaremuxng aekikhkarthimnusysamartheriynruekiywkbsingtang insngkhm imwacaepneruxngkarpkkhrxng karemuxng sngkhm esrsthkic karsuksaaelaxun sungemuxmnusyidrbruekhaicaelw caekidkhwamkhid khwamechux thsnkhti khaniym ekiywkbsingehlann kareriynruni caekidkhunepnkhnepntxn eriykwa krabwnkar aexlmxnd aelaephaewl Almond and Powell 1966 esnxwa krabwnkarklxmeklathangkaremuxng khux krabwnkarthaythxdwthnthrrmthangkaremuxngaekprachachn hruxsngphanwthnthrrmthangkaremuxng krabwnkarsngkhmprakitthangkaremuxng chwyphdungwthnthrrmthangkaremuxngedimiw odysngphancakkhnrunhnungipyngkhnxikrunhnung aelainkrnithimikarepliynaeplngthangkaremuxngaelasngkhmyangrwderw chbphln echn ekidkarptiwti krabwnkarsngkhmprakitthangkaremuxngksrangwthnthrrmthangkaremuxngthiimekhymimakxnkhunmaihmidaelngtn Langton 1969 srupxyangkwang wa krabwnkarklxmeklathangkaremuxngepnkrabwnkarthiekiywkbwithithangkhxngkarsubthxdwthnthrrmthangkaremuxng phayinsngkhmhnung cakkhnrunhnungipyngkhnxikrunhnung epnkrabwnkarkhxngkarsubthxd thidaeninkarphantwkartang khxngsngkhm sungcathaihaetlakhnideriynru inxnthicakahndrupaebbkhwamsmphnthkhxngtnkbkaremuxngihehmaasmrchaelaxlthxf Rush and Althoff 1971 16 klawwa karklxmeklathangkaremuxngepnkarthibukhkhlidruwaeyaxyuinrabbkaremuxngaelamikarrbru Perception aelaptikiriya Reaction txpraktkarnthangkaremuxng odyekidkhunmacaksphaphaewdlxmthangesrsthkic sngkhmaelawthnthrrminsngkhmthibukhkhlnnepnsmachikxyu nxkcakni yngekidkhunmacakptismphnth Interrelation khxngbukhlikphaphaelaprasbkarnkhxngbukhkhldwyhakphicarnaniyamkhxngkhawakarklxmeklathangkaremuxngkhxngxistnaelaednnis Easton and Dennis 1969 7 echnthiidklawthungipaelw krabwnkarkarklxmeklathangkaremuxng kyxmhmaythung krabwnkarthisngkhmsngphankhwamonmexiyngthangkaremuxng xnidaek khwamru thsnkhti pthsthan aelakhaniym cakkhnrunhnungipsuxikrunhnung sungthaimmikrabwnkarthaythxdsingehlani smachikihmkhxngrabbkaremuxngsungidaek edk kcatxngaeswngharupaebbkhwamonmexiyngeruxngthiekiywkbkaremuxngihm xyutlxdewla xncayxmmiphlkrathbtxkhwammnkhngkhxngrabbkaremuxng aelakrabwnkarklxmeklathangkaremuxngniexng caepnkrabwnkarthichwyrksarabbkaremuxngihsamarthdarngxyuidinthsnakhxngnkwichakarithy thinphnth nakhata Nakata 1975 88 xthibaywa krabwnkarklxmeklathangkaremuxngodythwipkhux karphthnaphvtikrrmkhxngbukhkhlsungkrathatxkn aelaepnkrabwnkarthaythxdthangwthnthrrmthangkaremuxng aetinkrabwnkarklxmeklathangkaremuxngthwipnn bukhkhlcaeriynruthngsingthiekiywkhxngkbkaremuxng aelaimekiywkhxngkbkaremuxngodytrng thungkrannktam singtangehlanntangmiphltxthsnkhti aelaphvtikrrmthangkaremuxngkhxngbukhkhldwyphrskdi phxngaephw aelasaythiphy sukhtiphnth 2523 ihkhacakdkhwamwaepnkrabwnkarthibukhkhlidmasungkhwamonmexiyngthangkaremuxng political orientation tang xnidaek khwamru knowledge hrux cognition khwamechux beliefs thsnkhti aelakhwamrusuk attitudes and feeling aelakhaniym values thiekiywkbrabbkaremuxng krabwnkarthangkaremuxng xanacthangkaremuxngaelabthbathtanginrabbkaremuxng krabwnkarklxmeklathangkaremuxngni xacepnkarphdungrksaaelasngthxd maintain and transmit hruxkaraeplngrup transform hruxkarsrang create khwamonmexiyngthangkaremuxngehlannkidcaehnidwa khacakdkhwamaelathsnakhxngnkrthsastrekiywkbkrabwnkarklxmeklathangkaremuxngthiykmaklawkhangtn caehnidwamiswnrwmknhlayprakar swnthiaetktangknipbang kinpraednplikyxy sungmilksnathiesrimhruxephiminraylaexiydethann sungxacklawodysrupidwa krabwnkarklxmeklathangkaremuxng khux krabwnkarthaythxdkhwamru khwamechux thsnkhti hruxkhwamruaelakhaniymthiekiywkhxngkbdankaremuxng cakkhnklumhnungipyngkhnxikklumhnung epnkarthaythxdodyphantwkar agents tang khxngsngkhmrupaebbkhxngkarklxmeklathangkaremuxng aekikhkrabwnkarklxmeklathangkaremuxng epnkrabwnkarthimixiththiphltxkarekidaebbaephnechingphvtikrrmthimihruxaesdngxxktxkaremuxngkhxngbukhkhl xnmiswnsrangbukhlikphaphaelawthnthrrmthangkaremuxng xnepnkrabwnkarthidaeniniptlxdchiwit dngthiidklawthungipbangaelw inaengrupaebbkhxngkarklxmeklathangkaremuxngnn dxwsn aelaphriwithth Dawson and Prewitt 1969 41 80 klawiwwa karklxmeklathangkaremuxngkhxngbukhkhlsamarthcaaenkidepn 2 rupaebbkhux karklxmeklathangtrng Direct Form epnkarxbrmklxmeklahruxthaythxdihbukhkhlekidkareriynruthimienuxha Content ekiywkbkaremuxngodyechphaa echn kareriynruekiywkbokhrngsrangkhxngrthbal rupaebbkhxngkarpkkhrxngpraeths lththithangkaremuxng epntn xikrupaebbhnungkhux karklxmeklathangxxm Indirect Form sungepnwithikarthicathaihbukhkhlekidkhwamonmexiyngthicaepnipinthangkaremuxng dwywithikareriynruhruxxbrmklxmeklathiimidekiywkhxngkberuxngkaremuxngodytrng aetmixiththiphlthaihekidkarphthnatwtnthangkaremuxng Political Self khxngbukhkhlid karklxmeklathangkaremuxngaebbni casrangthsnkhtithimixanacthangkaremuxng odyhlkkarsakhykkhux khwamsmphnthinwyedkthimitxphxaem txkhru epntn caphthnaepnkhwamkhadhwngtxphumixanacthangkaremuxngtxipidinthsnakhxng xlmxndaelaephaewll 1980 rupaebbkhxngkarklxmeklathangkaremuxngnn cadaeninipin 2 rupaebbklawkhux rupaebbthiehnidchd Manifest Transmission karklxmeklathangkaremuxnginrupaebbni ekidkhunemuxkrabwnkarklxmeklahruxkarthaythxdnn epnkarsuxsarthiaesdngxxkxyangchdecninkarihkhxmulkhawsar khaniym aelakhwamrusuktxwtthuthangkaremuxng xnidaek karsxneruxnghnathithangkaremuxngkhxngprachachnihaeknkeriyninorngeriyn epntn rupaebbthiaefngxyu Latent Transmission inrupaebbni epnkarklxmeklathiimichthsnkhtithangkaremuxng Non political Attitude aetmiphlkrathbtxthsnkhtithangkaremuxngkhxngphuidrbkarklxmeklathangkaremuxngodythangxxm sungxacekidkhuncakprasbkarninwyedk echn edkrbexathsnkhtiinthangkawrawcakkhrxbkhrw sungxacmiaenwonmihedkklayepnbukhkhlthimithsnkhtiaebbxanacniymemuxetibotkhun epntnkhntxnkhxngkrabwnkarklxmeklathangkaremuxng aekikhphay Lucian Pye 1962 44 48 klawiwwa krabwnkarklxmeklathangkaremuxng miladbkhntxncaaenkid 4 khn dngtxipnikhntxnaerk epnkhnmulthanerimaerksuk emuxkhnekidmacaidrbkarxbrmepnchwngtxnthitharkidrbkarfukfnihepnsmachikkhxngsngkhm sungepntxnthiedkcaekidphawakareriynru ekidthsnkhti khaniym khwamchanay khwamsmphnthkbbthbathtang khxngbukhkhl khwamruthwipaelasingtang thicaepnsungkhninsngkhmnncatxngeriynru xneriykidwaepnkhnkhxngkarsrangkhwamonmexiyng Orientation ihbukhkhlekhasukhwamepnmnusy odychiihehnthungaenwthangkareriynruwithiinkardaeninchiwithruxkarxyurwmknkhxngkhninsngkhmkhntxnthisxng epnkhnthikxihekidbukhlikphaphtxbukhkhl xnepnprasbkarntang thimixiththiphltxcititsanuk sungcaepnphukahndbukhlikphaphmulthankhxngbukhkhlnn inkhntxnni bukhkhlcamikhwamsanukwatnexngepnswnhnungkhxngsngkhm hruxthieriykwamitwtn Identity khntxnthisam epnkhnthibukhkhlidrbkarklxmeklathangkaremuxng epnkhntxnthibukhkhlerimmikhwamrusuk mikhwamsanuk thungolkthangkaremuxngrxb twekha aelaidru rwmthngmithsna kbekhaicthungehtukarnkhwamepnipthangkaremuxngtang thieriykidwaekidwthnthrrmthangkaremuxng phantwaethnkarklxmekla Political Socializing Agents khnthisi epnkhntxnthibukhkhlphancakkarepnsmachikkhxngkaremuxngthiimidmikickrrm passive maepnphuekharwmthimibthbaththangkaremuxng khntxnnieriykwa kareluxksrrthangkaremuxng Political Recriutment odyepnkhntxnthibukhkhlcamikhwamekhaictxkaremuxngxyangluksungaelamithsnkhtithangkaremuxng hruxthieriykwamibukhlikphaphthangkaremuxngxyangchdecnaelathawrkhunkwaedim khaaeplsphthkhaniepnphasaithy mikhwamaetktangknipbangidaek krabwnkarsngkhmprakitthangkaremuxng krabwnkarhlxhlxmthangkaremuxng hrux krabwnkareriynruthangkaremuxng xangxing aekikhpricha hngsikrelis 2518 prachathipitysahrbkhnithy krungethph smakhmsngkhmsastraehngpraethsithy phrskdi phxngaephw aelasaythiphy sukhtiphnth 2523 karemuxngkhxngedk krungethph ithywthnaphanich Almond Gabriel A and Powell G Bingham Jr 1966 Comparative Politics A Development Approach Boston Little brown amp Co Almond Gabriel A and Powell G Bingham Jr 1980 Comparative Politics Today A World View Boston Little brown amp Co Dawson Richard E and Prewitt Kenneth 1969 Political Socialization Boston Little Brown and Co Langton Kenneth P 1969 Political Socialization London Oxford University Press Pye Lucian 1962 Politics Personality and Nation Building Burma s Search for Identity New Harven Yale University Press Rush Michael and Althoff Philip 1971 Introduction to Political Sociology Berkeley Western Printing Press Thinapan Nakata 1975 The Problem of Democracy in Thailand A Study of Political Culture and Socialization of College Students Bangkok Praepittaya bthkhwamekiywkbkaremuxng karpkkhrxngniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title karklxmeklathangkaremuxng amp oldid 4700646, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม