fbpx
วิกิพีเดีย

การถ่ายโอนมวล

การถ่ายโอนมวลสาร (Mass Transfer) เกิดจากการถ่ายโอนมวลสารในระบบของสารตั้งแต่ 2 องค์ประกอบขึ้นไป ที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน โดยที่โมเลกุลจะเคลื่อนที่จากความเข้มข้นมากไปยังความเข้มข้นน้อย เพื่อให้เกิดความสมดุลของโมเลกุลในระบบ ซึ่งกลไกลนี้ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนของมวลสาร นอกจากนี้ ความแตกต่างกันของอุณหภูมิ ความดันหรือแรงจากภายนอก ก็สามารถเกิดการถ่ายเทมวลสารได้เช่นกัน ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการถ่ายโอนมวลสาร เช่น ความดันและปริมาณของสารละลาย ซึ่งแปรผันตรงกับอัตราการถ่ายเทมวล เมื่อเพิ่มความดันและเพิ่มปริมาณของสารละลายจะทำให้อัตราการถ่ายเทมวลเพิ่มขึ้น แรงจากภายนอก เช่น แรงแม่เหล็กไฟฟ้า เป็นต้น และความหนาแน่น

การโอนมวลสารเกิดขึ้นได้ 2 แบบ ได้แก่ การถ่ายโอนมวลสารโดยการแพร่ของโมเลกุล และการถ่ายโอนมวลสารโดยการพา ซึ่งในหนึ่งกระบวนการอาจเกิดการถ่ายเทมวลทั้ง 2 แบบพร้อมกันก็ได้ • ถ้าการไหลเป็นแบบ laminar การถ่ายเทมวลมักเป็นแบบการแพร่ • ถ้าการไหลเปน็นแบบ turbulent การถ่ายเทมวลมักเป็นแบบการพามากกว่า

กลไกการถ่ายโอนมวลสาร

  • การถ่ายโอนมวลโดยการแพร่ของโมเลกุล (molecular diffusion)

การถ่ายเทมวลโดยการแพร่ของโมเลกุล เป็นการเคลื่อนที่ของโมเลกุลแต่ละโมเลกุลผ่านสสารด้วยพลังงานความร้อน (thermal energy) ที่มีอยู่ในโมเลกุลที่มีอุณหภูมิสูงกว่าศูนย์สัมบูรณ์ (absolute zero) โดยที่โมเลกุลแต่ละโมเลกุลจะเคลื่อนที่เป็นเส้นตรงแบบไม่เป็นระเบียบ (random motion) ด้วยความเร็วคงที่ เมื่อมีการชนกันของโมเลกุล ความเร็วและทิศทางการเคลื่อนที่จะเปลี่ยนไป ระยะทางเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ของโมเลกุลโดยที่ไม่มีการชนกับโมเลกุลอื่นเรียกว่าเส้นทางอิสระเฉลี่ย (mean free path) และความเร็วเฉลี่ยในการเคลื่อนที่จะขึ้นกับอุณหภูมิ การถ่ายเทมวล สารแบบนี้จึงเป็นการแพร่อย่างช้าๆ ถึงแม้จะมีการเพิ่มอัตราการแพร่ได้ถ้าความดันระบบลดลง(ลดอัตราการชนกันของโมเลกุล) และเพิ่มอุณหภูมิ (เพิ่มความเร็วในการเคลื่อนที่) ซึ่งโดยส่วนใหญ่จะเกิดในของไหลที่หยุดนิ่ง (stagnant fluid) เมื่อเทียบกับการถ่ายโอนความร้อนแล้ว การถ่ายเทมวลสารระดับโมเลกุลจะเปรียบเสมือนการนำความร้อน กระบวนการแพร่สามารถอธิบายได้ด้วยสมการทางคณิตศาสตร์จากกฎของฟิค (Fick’s law) ที่กล่าวไว้ว่า“ฟลักซ์เชิงมวลต่อหน่วยพื้นที่ขององค์ประกอบหนึ่ง เป็นสัดส่วนกับความแตกต่างของความเข้มข้น”


 ลักษณะของการแพร่ 
1.การแพร่ของโมเลกุลเดียว (Unimolecular Diffusion) เป็นการแพร่ของโมเลกุล A ในของผสมเท่าน้ันที่มีการเคลื่อนที่ไปสู่หรือเคลื่อนที่จากพื้นผิว 

ทำให้การไหลสุทธิ (total flow) ของของผสมมีค่าเท่ากับการไหลของโมเลกุล A ตัวอย่างเช่น การดูดซับก๊าซลงในของเหลว

2.การแพร่ของโมลที่เท่ากันในทิศตรงกันข้าม (Equimolar Counterdiffusion) เป็น การแพร่ของโมเลกุล A ที่เท่ากับและตรงกันข้ามกับการแพร่ของโมเลกุล B 

ทำให้การไหลสุทธิเป็นศูนย์ ตัวอย่างเช่น การกลั่นซึ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลงการไหลโดยปริมาตรของก๊าซ แต่มีการเปลี่ยนแปลงในของเหลวเนื่องจากความแตกต่างของความเข้มข้น

3.การแพร่ที่มีปฏิกิริยาเคมีเกี่ยวข้อง (Molecular Diffusion With Chemical Reaction) เป็นการแพร่ของโมเลกุล A และโมเลกุล B ในทางตรงกันข้ามแต่ไม่เท่ากัน 

เมื่อกล่าวถึงทฤษฎีการแพร่ มีตัวแปร 5 ตัวที่ต้องคำนึง ดังนี้

- ความเข้มข้นเชิงมวลและเชิงโมล ซึ่งนิยามว่ามวลหรือโมลต่อปริมาตร ในระบบของผสมความเข้มข้นรวมจะเท่ากับผลรวมของความเข้มข้นของแต่ละสารในระบบ - ความแตกต่างของความเข้มข้น (concentration gradient) - ความเร็ว ในระบบของผสมความเร็วของสารแต่ละชนิดจะไม่เท่ากัน - ฟลักซ์ (flux) ซึ่งนิยามว่าเป็นปริมาณเวคเตอร์ของมวลหรือโมลที่เคลื่อนผ่านพื้นที่หน้าตัดหนึ่งๆ ที่ตั้งฉากกับทิศทางการแพร่ในช่วงเวลาหนึ่ง 

ดังนั้นฟลักซจ์จึงมีทั้งฟลักซ์เชิงมวล (mass flux) และฟลักซ์เชิงโมล(molar flux) โดยฟลักซ์สามารถเทียบกับระนาบนิ่งและระนาบเคลื่อนที่ สมการแสดงฟลักซ์ของการพามวล คือ

 NA = kcΔCA NA = ฟลักซ์เชิงโมลของโมเลกุล A เทียบกับพิกัดคงที่ ΔCA = ผลต่างของความเข้มข้นของ A ระหว่างค่าที่พื้นผิวกับค่าเฉลี่ยในของไหลหรือระหว่างค่าเฉลี่ยในของไหลสองชนิด kc = สัมประสิทธิ์การพามวล (convective mass transfer coefficient) - ฟลักซ์ (flux) เมื่อเทียบกับระนาบที่เคลื่อนที่ ตามทฤษฎีของฟิคของสารนั้นๆ จะมีความเร็วสัมพัทธ์กับความเร็วเฉลี่ยเชิงมวลหรือเชิงโมล ได้ก็ต่อเมื่อมีความแตกต่างของความเข้มข้นเท่านั้น 
 สัมประสิทธิ์การแพร่ (Diffusivity or Diffusion Coefficient) 

สัมประสิทธ์การแพร่ คือ ค่าที่บ่งบอกถึงอัตราการแพร่ของสารน้ันๆ ในตัวกลาง ซึ่งมีหน่วยเป็น(m2/s) ค่านี้สามารถเปรียบเทียบได้กับค่าสัมประสิทธิ์การนำความร้อน (thermal diffusivity ) โดยขึ้นกับชนิดและส่วนผสมของระบบ รวมท้ังสภาพแวดล้อม เช่น ความดันและอุณหภูมิ โมเลกุลของก๊าซสามารถเคลื่อนที่ได้ง่ายเมื่อเทียบกับของเหลวซึ่งสามารถเคลื่อนที่ได้ง่ายกว่าของแข็ง ดังนั้น สัมประสิทธิ์การแพร่ของก๊าซจึงมีค่าสูงสุด โดยทั่วไปอยู่ในช่วง 5×10-6 ถึง 10-5 m2/s สัมประสิทธิ์การแพร่ของของเหลวอยู่ในช่วงปานกลาง คือ 10-10 ถึง 10-9 m2/s ส่วนสัมประสิทธิ์การแพร่ของของแข็งมี ค่าต่ำสุดอยู่ที่ 10-14 ถึง 10-10 m2/s โดยทั่วไปแล้วสำหรับระบบที่ความเข้มข้นหรือความหนาแน่นน้อยๆ สัมประสิทธิ์การแพร่จะมีค่าเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น เนื่องจากพลังงานความร้อนของโมเลกุลสูงขึ้น ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น

1.สัมประสิทธิ์การแพร่ของก๊าซ (Diffusivity of Gases) สมการแสดงค่าสัมประสิทธิ์การแพร่ของก๊าซที่มีความหนาแน่นต่ำ ถูกค้นคว้าโดยใช้หลักทฤษฎีจลนศาสตร์ที่คำนึงถึงคุณสมบัติของก๊าซผสมและแรงดึงดูด (attraction force) และแรงผลัก (repulsion force) ระหว่างโมเลกุล

2.สัมประสิทธิ์การแพร่ของของเหลว (Diffusivity of Liquids) การแพร่ของของเหลวเกิดขึ้นโดยการเคลื่อนที่แบบไม่เป็นระเบียบของโมเลกุล (random motion) แต่ระยะทางเฉลี่ยระหว่างการชน (average distance traveled between collisions) จะน้อยกว่าขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของโมเลกุลซึ่งตรงกันข้ามกับก๊าซซึ่งมีระยะทางเดินอิสระ (mean free path) มากกว่าขนาดโมเลกุลมาก สัมประสิทธิ์การแพร่ของของเหลวขึ้นอยู่กับความเข้มข้น เนื่องจากความหนืดที่เปลี่ยนแปลงและพฤติกรรมที่เบี่ยงเบนไปจากสารละลายอุดมคติ (ideal solution)

3. สัมประสิทธิ์การแพร่ของของแข็ง (Diffusivity of Solids) การแพร่ของของแข็งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ (1) การแพร่ของก๊าซหรือของเหลวเข้าไปในรูพรุนของของแข็ง ซึ่งการแพร่ในลักษณะนี้มีความสำคัญต่อตัวเร่งปฏิกิริยา และวิศวกรรมเคมี (2) การแพร่ภายใน (interdiffusion) เนื่องจากการเคลื่อนที่ของอะตอม ซึ่งเกิดได้จากหลายกรณี เช่น เกิดจากช่องว่าง หรือการเสียรูปของโครงสร้างผลึก ทำให้เกิดการแพร่ชนิดต่างๆ เช่น vacancy diffusion, interstitial diffusion, interstitialcy diffusion เป็นต้น การแพร่ผ่านรูพรุนจะเกิดโดยกลไกใดกลไกหนึ่งใน 3 กลไกดังนี้

- เมื่อขนาดรูพรุนมีขนาดใหญ่และก๊าซมีความหนาแน่นค่อนข้างสูง การถ่ายเทมวลจะเป็นแบบการแพร่ของฟิค ภายในตัวเร่งปฏิกิริยา 

ช่องทางการแพร่ (diffusion path)ของก๊าซจะมีรูปร่างที่ไม่ปกติและคดเคี้ยวไปมาทำให้ฟลักซ์มีค่าน้อยกว่าการแพร่ในช่องทางที่มีระเบียบแน่นอน ดังน้ันมวลฟลักซ์จึงอธิบายได้โดย สัมประสิทธ์การแพร่จริง (effective diffusion coefficient,DA,eff) ซึ่งขึ้นอยู่กับอุณหภูมิ ความดัน และคุณสมบัติของตัวเร่งปฏิกิริยา เช่น สัดส่วนช่องว่าง แฟกเตอร์ความยาวมุม และแฟคเตอร์รูปร่าง

- เมื่อขนาดรูพรุนมีขนาดเล็กและก๊าซมีความหนาแน่นต่ำ การถ่ายเทมวลจะเป็นแบบการแพร่แบบนูเซ็น (Knudsen diffusion) - เมื่อมีความแตกต่างของความเข้มข้นของโมเลกุลที่ถูกดูดซับบนผิว จะมีการแพร่ของโมเลกุลในสองทิศทาง ซึ่งเรียกว่าการแพร่บนพื้นผิว (surface diffusion)
  • การถ่ายโอนมวลสารโดยการพา (Convective Mass Transfer)

การถ่ายโอนมวลสารโดยการพา เป็นกระบวนการถ่ายเโอนมวลสารที่ต้องอาศัยตัวกลางของสารในการเคลื่อนที่ และเกี่ยวข้องกับการไหลของของไหล เช่นการไหลของของไหลผ่านพื้นผิว หรือระหว่างการไหลของของไหล 2 ชนิดที่ไม่ละลายกัน (immiscible moving fluids) ส่วนใหญ่เกิดขึ้นจากการรบกวน หรือการไหลแบบปั่นป่วน (turbulent flow) ที่เรียกว่าการแพร่แบบคลื่น (eddy diffusion) หรือการแพร่แบบปั่นป่วน (turbulent diffusion) เช่นเดียวกับการถ่ายโอนความร้อน ซึ่งการถ่ายเทมวลสารโดยการพา(Convective Mass Transfer) แบ่งได้เป็น 2 ประเภท

1.การพามวลแบบบังคับ (force convection) เป็นกระบวนการการเคลื่อนที่ของมวลโดยมีกลไกการใช้แรงภายนอกมาควบคุมการเคลื่อนที่ของมวลสารหรือทำให้เกิดการพา เช่น ปั๊มขับเคลื่อนของเหลว เครื่องดันอากาศ หรืออุปกรณ์ต่างๆ

2.การพามวลแบบธรรมชาติ (natural convection) หรือการพามวลแบบอิสระ (Free convection) เป็นกระบวนการเคลื่อนที่ของมวลโดยไม่อาศัยกลไกใดๆ ในการเคลื่อนที่ แต่การเคลื่อนที่ของสารจะเกิดขึ้นโดยความแตกต่างของอุณหภูมิ ความแตกต่างของความหนาแน่น หรือความแตกต่างของความเข้มข้น เป็นต้น

สัมประสิทธ์การถ่ายโอนมวล

 K m คืออัตราการถ่ายโอนมวลต่อหน่วยพื้นที่ต่อหน่วยความแตกต่างของความเข้มข้น การถ่ายโอนมวลนี้หมายความรวมไปถึงทั้งการแพร่ และการพา 

ปัจจัยที่มีความเกี่ยวข้องกับสัมประสิทธ์การถ่ายโอนมวลคือ สัมประสิทธิ์การแพร่ ความเร็วของของไหล(u) ความหนาแน่นของของไหล(ρ) ความหนืดของของไหล(μ ) และ ขนาดของระยะทาง(d)

การถ่ายโอนมวลระหว่างเฟส

เฟส (phase) คือ ส่วนหนึ่งของระบบที่มีความเป็นเนื้อเดียวกัน (homogeneous) และแยกออกจากเฟสอื่น ๆ ของระบบ ซึ่งจะมีรอยต่อระหว่างเฟสเรียกว่า interface การถ่ายเทมวลภายในเฟสเกิดขึ้นได้จากความ แตกต่างของความเข้มข้นภายในเฟส ตัวอย่างเช่น (ระบบปิด) การถ่ายเทแอมโมเนียระหว่างเฟสก๊าซ(อากาศ) และเฟสของเหลว(น้ำ) แอมโมเนียซึ่งละลายน้ำได้ดีก็จะถูกถ่ายเทไปยังน้ำ ในขณะเดียวกันน้ำก็ระเหยไปยังก๊าซเฟส เมื่อระบบอยู่ในสถาวะที่อุณหภูมิและความดันคงที่ ในที่สุดระบบก็จะเข้าสู่สมดุลย์ นั้นคือ โมเลกุลของน้ำกลายเป็นไอด้วยอัตราเร็วเท่ากับการกลั่นตัวของไอน้ำ ในทำนองเดียวกันอัตราที่โมเลกุลของแอมโมเนียละลายน้ำ เท่ากับอัตราที่แอมโมเนียกลับเข้าสู่ก๊าซเฟส อัตรานี้จะขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของแอมโมเนียในน้ำและความดันไอของแอมโมเนียที่ภาวะสมดุล ความเข้มข้นของแอมโมเนียในน้ำและก๊าซเฟสจะมีค่าคงที่ ถ้ามีการเติมก๊าซแอมโมเนียเพิ่มขึ้นเข้าไปในระบบ สมดุลของระบบจะเลื่อนไป แล้วเข้าสู่สมดุลอีกครั้ง โดยความดันไอย่อยของแอมโมเนียในก๊าซเฟสจะเปลี่ยนไปจากค่าเดิม ดังนั้น ในสภาวะที่เกิดความสมดุลว่างเฟส สิ่งที่เกิดขึ้นคือ "อัตราการถ่ายเทมวลสุทธิเท่ากับศูนย์" กลไกการถ่ายเทมวลสารระหว่างเฟส สามารถอธิบายได้โดย ทฤษฎีสองความต้านทาน (Two-resistance theory) ซึ่งประกอบไปด้วย 3 ขั้นตอน คือ

1. การถ่ายเทมวลจากภายในเฟสที่หนึ่งไปยัง interface 2. การถ่ายเทข้าม interface 3. การถ่ายเทจาก interface ไปยังภายในของเฟสที่สอง 

จากทฤษฎีสองความต้านทาน ตัวอย่างในกรณี การขนส่งออกซิเจนจากอากาศลงไปในน้ำมีทั้งสามขั้นตอนคือ

- การถ่ายโอนออกซิเจนจากอากาศจำนวนมากไปยังพื้นผิวของน้ำ - การถ่ายโอนออกซิเจนผ่านอินเตอร์เฟส - การถ่ายโอนออกซิเจนจากพื้นผิวของอากาศไปยังน้ำจำนวนมาก 

วิทแมน (1923) ได้นำเสนอ "ทฤษฎีสองต้านทาน"เป็นครั้งแรก ซึ่งได้รับการแสดงให้เห็นว่ามีความเหมาะสมสำหรับปัญหาการถ่ายเทมวลระหว่างเฟส ทฤษฎีทั่วไปมีสองสมมติฐานซึ่งสำหรับกรณีของการขนส่งออกซิเจนจากอากาศลงไปในน้ำ มีดังนี้

- อัตราการถ่ายเทออกซิเจนระหว่างเฟสถูกควบคุมโดยอัตราของการแพร่กระจายผ่านเฟสในแต่ละด้านของอินเตอร์เฟส - อัตราการแพร่กระจายของออกซิเจนผ่านอินเตอร์เฟสที่เป็น instantaneous และอินเตอร์เฟสจะคงที่ตลอดเวลา ดังนั้นจึงเกิดสมดุลที่อินเตอร์เฟส 

ตัวอย่างกระบวนการถ่ายเทมวลสารระหว่างสองเฟส • ตัวถูกละลายถ่ายเทจาก gas phase ไปยัง liquid phase เช่น การดูดซับก๊าซ (gas absorption) การลดความชื้น (dehumidification) การกลั่น (distillation) • ตัวถูกละลายถ่ายเทจาก liquid phase ไปยัง gas phase เชน่น การเพิ่มความชื้น (humidification) • ตัวถูกละลายถ่ายเทจากของเหลวหนึ่งไปอีกของเหลวหนึ่งที่ไม่ละลายกัน ได้แก่ การสกัดของเหลวด้วยของเหลว (liquid-liquid extraction) • ตัวถูกละลายถ่ายเทจากของแข็งไปยังของเหลว ได้แก่ การอบแห้ง การชะ (leaching) • ตัวถูกละลายถ่ายเทจากของไหลไปยังพื้นผิวของของแข็ง ได้แก่ การดูดซับ การแลกเปลี่ยนไอออน

  1. http://www.biotech.mju.ac.th/Upload/Document/797_Mass%20transfer.pdf
  2. http://www.che.buu.ac.th/sites/default/files/users/sophon/Fundamentals%20of%20Mass%20Transfer.pdf
  3. http://www.en.kku.ac.th/enjournal/th/images/stories/files/published/vol38no1-06.pdf
  4. http://www.che.buu.ac.th/sites/default/files/users/sophon/Fundamentals%20of%20Mass%20Transfer.pdf
  5. http://www.biotech.mju.ac.th/Upload/Document/797_Mass%20transfer.pdf
  6. http://www.che.buu.ac.th/sites/default/files/users/sophon/Fundamentals%20of%20Mass%20Transfer.pdf
  7. http://www.biotech.mju.ac.th/Upload/Document/797_Mass%20transfer.pdf
  8. http://www.che.buu.ac.th/sites/default/files/users/sophon/Fundamentals%20of%20Mass%20Transfer.pdf
  9. http://www.che.buu.ac.th/sites/default/files/users/sophon/Fundamentals%20of%20Mass%20Transfer.pdf
  10. http://www.che.buu.ac.th/sites/default/files/users/sophon/Fundamentals%20of%20Mass%20Transfer.pdf
  11. http://www.biotech.mju.ac.th/Upload/Document/797_Mass%20transfer.pdf
  12. http://www.che.buu.ac.th/sites/default/files/users/sophon/Fundamentals%20of%20Mass%20Transfer.pdf
  13. http://www.biotech.mju.ac.th/Upload/Document/797_Mass%20transfer.pdf
  14. http://www.biotech.mju.ac.th/Upload/Document/797_Mass%20transfer.pdf
  15. http://www.cmbe.engr.uga.edu/bche3180/Mass%20Transfer%20Coefficients.pdf
  16. http://www.biotech.mju.ac.th/Upload/Document/797_Mass%20transfer.pdf

การถ, ายโอนมวล, อสงส, ยว, าบทความน, อาจละเม, ดล, ขส, ทธ, แต, ระบ, ไม, ได, ดเจนเพราะขาดแหล, งท, มา, หร, ออ, างถ, งส, งพ, มพ, งตรวจสอบไม, ได, หากแสดงได, าบทความน, ละเม, ดล, ขส, ทธ, ให, แทนป, ายน, วย, ละเม, ดล, ขส, ทธ, หากค, ณม, นใจว, าบทความน, ไม, ได, ละเม, ดล, . mikhxsngsywabthkhwamnixaclaemidlikhsiththi aetrabuimidchdecnephraakhadaehlngthima hruxxangthungsingphimphthiyngtrwcsxbimid hakaesdngidwabthkhwamnilaemidlikhsiththi ihaethnpaynidwy laemidlikhsiththi hakkhunmnicwabthkhwamniimidlaemidlikhsiththi ihaesdnghlkthaninhnaxphipray oprdxyanapaynixxkkxnmikhxsrupkarthayoxnmwlsar Mass Transfer ekidcakkarthayoxnmwlsarinrabbkhxngsartngaet 2 xngkhprakxbkhunip thimikhwamekhmkhnaetktangkn odythiomelkulcaekhluxnthicakkhwamekhmkhnmakipyngkhwamekhmkhnnxy ephuxihekidkhwamsmdulkhxngomelkulinrabb sungkliklnithaihekidkaraelkepliynkhxngmwlsar nxkcakni khwamaetktangknkhxngxunhphumi khwamdnhruxaerngcakphaynxk ksamarthekidkarthayethmwlsaridechnkn swnpccythimiphltxkarthayoxnmwlsar echn khwamdnaelaprimankhxngsarlalay sungaeprphntrngkbxtrakarthayethmwl emuxephimkhwamdnaelaephimprimankhxngsarlalaycathaihxtrakarthayethmwlephimkhun aerngcakphaynxk echn aerngaemehlkiffa epntn aelakhwamhnaaennkaroxnmwlsarekidkhunid 2 aebb idaek karthayoxnmwlsarodykaraephrkhxngomelkul aelakarthayoxnmwlsarodykarpha sunginhnungkrabwnkarxacekidkarthayethmwlthng 2 aebbphrxmknkid thakarihlepnaebb laminar karthayethmwlmkepnaebbkaraephr thakarihlepnnaebb turbulent karthayethmwlmkepnaebbkarphamakkwa 1 2 3 klikkarthayoxnmwlsar aekikhkarthayoxnmwlodykaraephrkhxngomelkul molecular diffusion karthayethmwlodykaraephrkhxngomelkul epnkarekhluxnthikhxngomelkulaetlaomelkulphanssardwyphlngngankhwamrxn thermal energy thimixyuinomelkulthimixunhphumisungkwasunysmburn absolute zero odythiomelkulaetlaomelkulcaekhluxnthiepnesntrngaebbimepnraebiyb random motion dwykhwamerwkhngthi emuxmikarchnknkhxngomelkul khwamerwaelathisthangkarekhluxnthicaepliynip rayathangechliykhxngkarekhluxnthikhxngomelkulodythiimmikarchnkbomelkulxuneriykwaesnthangxisraechliy mean free path aelakhwamerwechliyinkarekhluxnthicakhunkbxunhphumi karthayethmwl saraebbnicungepnkaraephrxyangcha thungaemcamikarephimxtrakaraephridthakhwamdnrabbldlng ldxtrakarchnknkhxngomelkul aelaephimxunhphumi ephimkhwamerwinkarekhluxnthi sungodyswnihycaekidinkhxngihlthihyudning stagnant fluid emuxethiybkbkarthayoxnkhwamrxnaelw karthayethmwlsarradbomelkulcaepriybesmuxnkarnakhwamrxn 4 krabwnkaraephrsamarthxthibayiddwysmkarthangkhnitsastrcakkdkhxngfikh Fick s law thiklawiwwa flksechingmwltxhnwyphunthikhxngxngkhprakxbhnung epnsdswnkbkhwamaetktangkhxngkhwamekhmkhn 5 lksnakhxngkaraephr 1 karaephrkhxngomelkulediyw Unimolecular Diffusion epnkaraephrkhxngomelkul A inkhxngphsmethannthimikarekhluxnthiipsuhruxekhluxnthicakphunphiw thaihkarihlsuththi total flow khxngkhxngphsmmikhaethakbkarihlkhxngomelkul A twxyangechn kardudsbkaslnginkhxngehlw 2 karaephrkhxngomlthiethakninthistrngknkham Equimolar Counterdiffusion epn karaephrkhxngomelkul A thiethakbaelatrngknkhamkbkaraephrkhxngomelkul B thaihkarihlsuththiepnsuny twxyangechn karklnsungimmikarepliynaeplngkarihlodyprimatrkhxngkas aetmikarepliynaeplnginkhxngehlwenuxngcakkhwamaetktangkhxngkhwamekhmkhn 3 karaephrthimiptikiriyaekhmiekiywkhxng Molecular Diffusion With Chemical Reaction epnkaraephrkhxngomelkul A aelaomelkul B inthangtrngknkhamaetimethakn emuxklawthungthvsdikaraephr mitwaepr 5 twthitxngkhanung dngni khwamekhmkhnechingmwlaelaechingoml sungniyamwamwlhruxomltxprimatr inrabbkhxngphsmkhwamekhmkhnrwmcaethakbphlrwmkhxngkhwamekhmkhnkhxngaetlasarinrabb khwamaetktangkhxngkhwamekhmkhn concentration gradient khwamerw inrabbkhxngphsmkhwamerwkhxngsaraetlachnidcaimethakn flks flux sungniyamwaepnprimanewkhetxrkhxngmwlhruxomlthiekhluxnphanphunthihnatdhnung thitngchakkbthisthangkaraephrinchwngewlahnung dngnnflksccungmithngflksechingmwl mass flux aelaflksechingoml molar flux odyflkssamarthethiybkbranabningaelaranabekhluxnthi 6 smkaraesdngflkskhxngkarphamwl khux NA kcDCA NA flksechingomlkhxngomelkul A ethiybkbphikdkhngthi DCA phltangkhxngkhwamekhmkhnkhxng A rahwangkhathiphunphiwkbkhaechliyinkhxngihlhruxrahwangkhaechliyinkhxngihlsxngchnid kc smprasiththikarphamwl convective mass transfer coefficient 7 flks flux emuxethiybkbranabthiekhluxnthi tamthvsdikhxngfikhkhxngsarnn camikhwamerwsmphththkbkhwamerwechliyechingmwlhruxechingoml idktxemuxmikhwamaetktangkhxngkhwamekhmkhnethann 8 smprasiththikaraephr Diffusivity or Diffusion Coefficient smprasiththkaraephr khux khathibngbxkthungxtrakaraephrkhxngsarnn intwklang sungmihnwyepn m2 s khanisamarthepriybethiybidkbkhasmprasiththikarnakhwamrxn thermal diffusivity odykhunkbchnidaelaswnphsmkhxngrabb rwmthngsphaphaewdlxm echn khwamdnaelaxunhphumi omelkulkhxngkassamarthekhluxnthiidngayemuxethiybkbkhxngehlwsungsamarthekhluxnthiidngaykwakhxngaekhng dngnn smprasiththikaraephrkhxngkascungmikhasungsud odythwipxyuinchwng 5 10 6 thung 10 5 m2 s smprasiththikaraephrkhxngkhxngehlwxyuinchwngpanklang khux 10 10 thung 10 9 m2 s swnsmprasiththikaraephrkhxngkhxngaekhngmi khatasudxyuthi 10 14 thung 10 10 m2 s odythwipaelwsahrbrabbthikhwamekhmkhnhruxkhwamhnaaennnxy smprasiththikaraephrcamikhaephimkhunemuxxunhphumisungkhun enuxngcakphlngngankhwamrxnkhxngomelkulsungkhun thaihekidkarekhluxnthiiderwkhun1 smprasiththikaraephrkhxngkas Diffusivity of Gases smkaraesdngkhasmprasiththikaraephrkhxngkasthimikhwamhnaaennta thukkhnkhwaodyichhlkthvsdiclnsastrthikhanungthungkhunsmbtikhxngkasphsmaelaaerngdungdud attraction force aelaaerngphlk repulsion force rahwangomelkul2 smprasiththikaraephrkhxngkhxngehlw Diffusivity of Liquids karaephrkhxngkhxngehlwekidkhunodykarekhluxnthiaebbimepnraebiybkhxngomelkul random motion aetrayathangechliyrahwangkarchn average distance traveled between collisions canxykwakhnadesnphasunyklangkhxngomelkulsungtrngknkhamkbkassungmirayathangedinxisra mean free path makkwakhnadomelkulmak smprasiththikaraephrkhxngkhxngehlwkhunxyukbkhwamekhmkhn enuxngcakkhwamhnudthiepliynaeplngaelaphvtikrrmthiebiyngebnipcaksarlalayxudmkhti ideal solution 3 smprasiththikaraephrkhxngkhxngaekhng Diffusivity of Solids karaephrkhxngkhxngaekhngsamarthaebngidepn 2 lksna khux 1 karaephrkhxngkashruxkhxngehlwekhaipinruphrunkhxngkhxngaekhng sungkaraephrinlksnanimikhwamsakhytxtwerngptikiriya aelawiswkrrmekhmi 2 karaephrphayin interdiffusion enuxngcakkarekhluxnthikhxngxatxm sungekididcakhlaykrni echn ekidcakchxngwang hruxkaresiyrupkhxngokhrngsrangphluk thaihekidkaraephrchnidtang echn vacancy diffusion interstitial diffusion interstitialcy diffusion epntn karaephrphanruphruncaekidodyklikidklikhnungin 3 klikdngni emuxkhnadruphrunmikhnadihyaelakasmikhwamhnaaennkhxnkhangsung karthayethmwlcaepnaebbkaraephrkhxngfikh phayintwerngptikiriya chxngthangkaraephr diffusion path khxngkascamiruprangthiimpktiaelakhdekhiywipmathaihflksmikhanxykwakaraephrinchxngthangthimiraebiybaennxn dngnnmwlflkscungxthibayidody smprasiththkaraephrcring effective diffusion coefficient DA eff sungkhunxyukbxunhphumi khwamdn aelakhunsmbtikhxngtwerngptikiriya echn sdswnchxngwang aefketxrkhwamyawmum aelaaefkhetxrruprang emuxkhnadruphrunmikhnadelkaelakasmikhwamhnaaennta karthayethmwlcaepnaebbkaraephraebbnuesn Knudsen diffusion emuxmikhwamaetktangkhxngkhwamekhmkhnkhxngomelkulthithukdudsbbnphiw camikaraephrkhxngomelkulinsxngthisthang sungeriykwakaraephrbnphunphiw surface diffusion 9 karthayoxnmwlsarodykarpha Convective Mass Transfer karthayoxnmwlsarodykarpha epnkrabwnkarthayeoxnmwlsarthitxngxasytwklangkhxngsarinkarekhluxnthi aelaekiywkhxngkbkarihlkhxngkhxngihl echnkarihlkhxngkhxngihlphanphunphiw hruxrahwangkarihlkhxngkhxngihl 2 chnidthiimlalaykn immiscible moving fluids swnihyekidkhuncakkarrbkwn hruxkarihlaebbpnpwn turbulent flow thieriykwakaraephraebbkhlun eddy diffusion hruxkaraephraebbpnpwn turbulent diffusion echnediywkbkarthayoxnkhwamrxn sungkarthayethmwlsarodykarpha Convective Mass Transfer aebngidepn 2 praephth 10 1 karphamwlaebbbngkhb force convection epnkrabwnkarkarekhluxnthikhxngmwlodymiklikkarichaerngphaynxkmakhwbkhumkarekhluxnthikhxngmwlsarhruxthaihekidkarpha echn pmkhbekhluxnkhxngehlw ekhruxngdnxakas hruxxupkrntang2 karphamwlaebbthrrmchati natural convection hruxkarphamwlaebbxisra Free convection epnkrabwnkarekhluxnthikhxngmwlodyimxasyklikid inkarekhluxnthi aetkarekhluxnthikhxngsarcaekidkhunodykhwamaetktangkhxngxunhphumi khwamaetktangkhxngkhwamhnaaenn hruxkhwamaetktangkhxngkhwamekhmkhn epntn 11 12 smprasiththkarthayoxnmwl aekikh K m khuxxtrakarthayoxnmwltxhnwyphunthitxhnwykhwamaetktangkhxngkhwamekhmkhn karthayoxnmwlnihmaykhwamrwmipthungthngkaraephr aelakarpha pccythimikhwamekiywkhxngkbsmprasiththkarthayoxnmwlkhux smprasiththikaraephr khwamerwkhxngkhxngihl u khwamhnaaennkhxngkhxngihl r khwamhnudkhxngkhxngihl m aela khnadkhxngrayathang d 13 karthayoxnmwlrahwangefs aekikh efs phase khux swnhnungkhxngrabbthimikhwamepnenuxediywkn homogeneous aelaaeykxxkcakefsxun khxngrabb sungcamirxytxrahwangefseriykwa interface karthayethmwlphayinefsekidkhunidcakkhwam aetktangkhxngkhwamekhmkhnphayinefs twxyangechn rabbpid karthayethaexmomeniyrahwangefskas xakas aelaefskhxngehlw na aexmomeniysunglalaynaiddikcathukthayethipyngna inkhnaediywknnakraehyipyngkasefs emuxrabbxyuinsthawathixunhphumiaelakhwamdnkhngthi inthisudrabbkcaekhasusmduly nnkhux omelkulkhxngnaklayepnixdwyxtraerwethakbkarklntwkhxngixna inthanxngediywknxtrathiomelkulkhxngaexmomeniylalayna ethakbxtrathiaexmomeniyklbekhasukasefs xtranicakhunxyukbkhwamekhmkhnkhxngaexmomeniyinnaaelakhwamdnixkhxngaexmomeniythiphawasmdul khwamekhmkhnkhxngaexmomeniyinnaaelakasefscamikhakhngthi thamikaretimkasaexmomeniyephimkhunekhaipinrabb smdulkhxngrabbcaeluxnip aelwekhasusmdulxikkhrng odykhwamdnixyxykhxngaexmomeniyinkasefscaepliynipcakkhaedim dngnn insphawathiekidkhwamsmdulwangefs singthiekidkhunkhux xtrakarthayethmwlsuththiethakbsuny klikkarthayethmwlsarrahwangefs samarthxthibayidody thvsdisxngkhwamtanthan Two resistance theory sungprakxbipdwy 3 khntxn khux 1 karthayethmwlcakphayinefsthihnungipyng interface 2 karthayethkham interface 3 karthayethcak interface ipyngphayinkhxngefsthisxng 14 cakthvsdisxngkhwamtanthan twxyanginkrni karkhnsngxxksiecncakxakaslngipinnamithngsamkhntxnkhux karthayoxnxxksiecncakxakascanwnmakipyngphunphiwkhxngna karthayoxnxxksiecnphanxinetxrefs karthayoxnxxksiecncakphunphiwkhxngxakasipyngnacanwnmak withaemn 1923 idnaesnx thvsdisxngtanthan epnkhrngaerk sungidrbkaraesdngihehnwamikhwamehmaasmsahrbpyhakarthayethmwlrahwangefs thvsdithwipmisxngsmmtithansungsahrbkrnikhxngkarkhnsngxxksiecncakxakaslngipinna midngni xtrakarthayethxxksiecnrahwangefsthukkhwbkhumodyxtrakhxngkaraephrkracayphanefsinaetladankhxngxinetxrefs xtrakaraephrkracaykhxngxxksiecnphanxinetxrefsthiepn instantaneous aelaxinetxrefscakhngthitlxdewla dngnncungekidsmdulthixinetxrefs 15 twxyangkrabwnkarthayethmwlsarrahwangsxngefs twthuklalaythayethcak gas phase ipyng liquid phase echn kardudsbkas gas absorption karldkhwamchun dehumidification karkln distillation twthuklalaythayethcak liquid phase ipyng gas phase echnn karephimkhwamchun humidification twthuklalaythayethcakkhxngehlwhnungipxikkhxngehlwhnungthiimlalaykn idaek karskdkhxngehlwdwykhxngehlw liquid liquid extraction twthuklalaythayethcakkhxngaekhngipyngkhxngehlw idaek karxbaehng karcha leaching twthuklalaythayethcakkhxngihlipyngphunphiwkhxngkhxngaekhng idaek kardudsb karaelkepliynixxxn 16 http www biotech mju ac th Upload Document 797 Mass 20transfer pdf http www che buu ac th sites default files users sophon Fundamentals 20of 20Mass 20Transfer pdf http www en kku ac th enjournal th images stories files published vol38no1 06 pdf http www che buu ac th sites default files users sophon Fundamentals 20of 20Mass 20Transfer pdf http www biotech mju ac th Upload Document 797 Mass 20transfer pdf http www che buu ac th sites default files users sophon Fundamentals 20of 20Mass 20Transfer pdf http www biotech mju ac th Upload Document 797 Mass 20transfer pdf http www che buu ac th sites default files users sophon Fundamentals 20of 20Mass 20Transfer pdf http www che buu ac th sites default files users sophon Fundamentals 20of 20Mass 20Transfer pdf http www che buu ac th sites default files users sophon Fundamentals 20of 20Mass 20Transfer pdf http www biotech mju ac th Upload Document 797 Mass 20transfer pdf http www che buu ac th sites default files users sophon Fundamentals 20of 20Mass 20Transfer pdf http www biotech mju ac th Upload Document 797 Mass 20transfer pdf http www biotech mju ac th Upload Document 797 Mass 20transfer pdf http www cmbe engr uga edu bche3180 Mass 20Transfer 20Coefficients pdf http www biotech mju ac th Upload Document 797 Mass 20transfer pdfekhathungcak https th wikipedia org w index php title karthayoxnmwl amp oldid 7852961, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม