fbpx
วิกิพีเดีย

การศึกษา

การศึกษา ในความหมายทั่วไปอย่างกว้างที่สุด เป็นวิธีการส่งผ่านจุดมุ่งหมายและธรรมเนียมประเพณีให้ดำรงอยู่จากรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่นหนึ่ง โดยทั่วไป การศึกษาเกิดขึ้นผ่านประสบการณ์ใด ๆ ซึ่งมีผลกระทบเชิงพัฒนาต่อวิธีที่คนคนหนึ่งจะคิด รู้สึกหรือกระทำ แต่ในความหมายเทคนิคอย่างแคบ การศึกษาเป็นกระบวนการอย่างเป็นทางการซึ่งสังคมส่งผ่านความรู้ ทักษะ จารีตประเพณีและค่านิยมที่สั่งสมมาจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง นั่นคือ การสอนในสถานศึกษา สำหรับปัจจุบันนี้มีการแบ่งระดับชั้นทางการศึกษาออกเป็นขั้นๆ เช่น การศึกษาปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ทั้งนี้รวมไปถึงระดับอาชีวศึกษา อุดมศึกษา และการฝึกงาน

การปลูกฝังในห้องเรียนการรวมเนื้อหาทางการเมืองไว้ในเอกสารประกอบการเรียนหรือครูที่ละเมิดบทบาทของตนในการปลูกฝังนักเรียนขัดต่อวัตถุประสงค์ของการศึกษาที่แสวงหาเสรีภาพในการคิดและการคิดเชิงวิพากษ์

สำหรับประเทศไทย มีกฎหมายบังคับให้ประชาชนไทยทุกคนต้องจบการศึกษาภาคบังคับ และสามารถเรียนได้จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ในปัจจุบันยังเปิดโอกาสให้มีการเรียนการสอนโดยผู้ปกครองที่บ้านหรือที่เรียกว่าโฮมสคูลอีกด้วย

คำว่า "education" เป็นศัพท์จากภาษาลาติน ēducātiō ("การปรับปรุง,การอบรม") จาก ēdūcō ("ฉันรู้, ฉันฝึก")

สำหรับการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มี 3 รูปแบบคือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัย

การศึกษาในระบบ

การศึกษาในระบบ (formal education) เป็นการศึกษาที่กำหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา หลักสูตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและการประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขของการสำเร็จการศึกษาที่แน่นอน โดยการศึกษาในระบบ สามารถแบ่งออกได้ดังนี้

ระดับปฐมวัย

ดูบทความหลักที่: การศึกษาปฐมวัย

ระดับปฐมวัยเป็นการจัดการศึกษาให้เด็กก่อนวัยที่ต้องศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยเป็นการวางรากฐานชีวิตเพื่อปูพื้นฐานที่ดีก่อนการเรียนในระดับต่อไป โดยทั่วไปแล้วผู้ที่เข้าศึกษาในระดับนี้มักมีอายุตั้งแต่ 4 - 8 ปี การเรียนการสอนในระดับนี้จะเน้นการสอนที่เกี่ยวข้องกับจิตวิทยาพัฒนาการของเด็ก ซึ่งเน้นในด้านการพัฒนาร่างกาย จิตใจ สังคม สติปัญญาและอารมณ์ของเด็ก นอกจากนี้ยังเน้นให้เด็กเรียนรู้ทักษะต่างๆผ่านกิจกรรมการเล่นและกิจกรรมเกมส์ เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม และเกิดการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมเหล่านี้อีกด้วย ซึ่งการใช้เกมส์และการเล่นถือได้ว่าเป็นวิธีการหลักสำหรับสอนเด็กในระดับปฐมวัย โครงสร้างหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยจะมีจุดเน้นทั้งสิ้น 2 ด้านคือ ด้านประสบการณ์สำคัญ ประกอบไปด้วย ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์จิตใจ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา อีกด้านหนึ่งคือสาระที่ควรเรียนรู้ ประกอบไปด้วย เรื่องราวเกี่ยวกับตัวเด็ก เรื่องราวเกี่ยวกับบุคคลและสถานที่รอบตัวเด็ก ธรรมชาติรอบตัวและสิ่งต่างๆรอบตัวเด็ก

ระดับประถมศึกษา

 
เด็กระดับชั้นประถมศึกษา ประเทศไทย
ดูบทความหลักที่: ประถมศึกษา

ประถมศึกษาเป็นการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยทั่วไปแล้วการศึกษาในระดับประถมศึกษาจะมีระยะเวลาในการเรียนประมาณ 5 - 8 ปี ขึ้นอยู่กับการวางแผนจัดการศึกษาของแต่ละประเทศ สำหรับประเทศไทยมีจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นประถมศึกษา 6 ปี ตั้งแต่ในระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงประถมศึกษาปีที่ 6 โดยผู้เข้าศึกษาในระดับประถมศึกษามักจะมีอายุประมาณ 6-7 ปี โดยในปัจจุบันนี้ยังมีเด็กกว่า 61 ล้านคนที่ไม่มีโอกาสได้เรียนในระดับประถมศึกษา ซึ่ง 47% ในจำนวนนี้จะหมดโอกาสการเข้าศึกษาต่ออย่างสิ้นเชิง อย่างไรก็ตาม ยูเนสโก้ ได้พยายามสนับสนุนให้เกิดการศึกษาสำหรับทุกคน โดยได้ดำเนินการที่เรียกว่าการศึกษาเพื่อปวงชน ซึ่งทุกประเทศจะต้องประสบความสำเร็จในด้านจำนวนคนเข้าศึกษาในระดับประถมศึกษาตามประกาศของ ยูเนสโก้ ภายในปี พ.ศ. 2558 หลังจากนักเรียนจบชั้นประถมศึกษาแล้วจะสามารถเข้าศึกษาต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาได้ ซึ่งนักเรียนเหล่านี้มักจะมีอายุประมาณ 11 - 13 ปี

ระดับมัธยมศึกษา

ดูบทความหลักที่: มัธยมศึกษา
 
การเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา

มัธยมศึกษาเป็นการจัดการศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยจัดการศึกษาให้กับนักเรียนที่จบในระดับประถมศึกษามาแล้ว สำหรับผู้เรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษามักจะมีอายุประมาณ 11 - 18 ปี สำหรับการจัดการศึกษาในระดับมัธยมศึกษามีจุดประสงค์เพื่อเสริมสร้างความรู้และทักษะกระบวนการเฉพาะด้าน เพื่อนำไปใช้ในการศึกษาระดับสูงต่อไป สำหรับประเทศโดยส่วนใหญ่แล้วการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาถือได้ว่าเป็นการศึกษาภาคบังคับ สำหรับประเทศไทย นักเรียนจะต้องจบการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จึงจะถือว่าจบการศึกษาภาคบังคับ อย่างไรก็ตามหลังจากจบระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นแล้ว นักเรียนสามารถเลือกที่จะหยุดเรียนแล้วออกไปประกอบอาชีพ หรือ เรียนต่อก็ได้ ในกรณีที่เรียนต่อจะมี 2 ระบบให้เลือกเรียน ระหว่างสายสามัญ ซึ่งเป็นการเรียนต่อในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีการจัดการเรียนการสอนที่เป็นพื้นฐานสำหรับการเรียนต่อในระดับอุดมศึกษา และสายอาชีพ ซึ่งจะสอนเกี่ยวกับอาชีพทางด้านต่างๆ เช่น งานช่าง และเกษตรกรรม เป็นต้น โดยทั้งหมดนี้รัฐบาลไทยจะเป็นผู้ดำเนินการทางด้านค่าใช้จ่ายทั่วไปจนจบระดับชั้นมัธยมศึกษา

ระดับอาชีวศึกษา

ดูบทความหลักที่: อาชีวศึกษา

อาชีวศึกษาเป็นการศึกษาเพื่อเตรียมคนสำหรับการประกอบอาชีพในอนาคต ทั้งในด้านของงานช่างฝีมือ งานธุรกิจ งานวิศวกรรม และงานบัญชี โดยเป็นการศึกษาเพื่อให้ผู้เรียนสามารถปฏิบัติงานได้จริงๆ ซึ่งแตกต่างจากการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่เน้นให้มีความรู้พื้นฐานมากเพียงพอสำหรับศึกษาต่อในระดับมหาวิทยาลัย การศึกษาในระดับอาชีวศึกษาจะเน้นให้มีการฝึกงาน เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีประสบการณ์มากยิ่งขึ้น สำหรับประเทศไทยเริ่มมีการจัดการเรียนการสอนในสายอาชีพตั้งแต่ปี พ.ศ. 2452 โดยในสมัยนั้นเน้นจัดการเรียนการสอนทางด้าน แพทย์ ผดุงครรภ์ ภาษาอังกฤษ พาณิชยการ และครู

ระดับอุดมศึกษา

 
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันอุดมศึกษาแห่งแรกของไทย
ดูบทความหลักที่: อุดมศึกษา

การศึกษาในระดับอุดมศึกษา (tertiary, third stage,post secondary education) เป็นการศึกษาที่ไม่ได้บังคับว่าต้องจบการศึกษาในระดับนี้ การศึกษาในระดับนี้เป็นการศึกษาที่สูงขึ้นมาจากการศึกษาในระดับมัธยมศึกษา การศึกษาในระดับอุดมศึกษานั้นแบ่งได้ออกเป็น 2 ระดับคือระดับปริญญาบัณฑิตและระดับบัณฑิตศึกษา สำหรับการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษาเป็นหน้าที่ของมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยเป็นผู้ดำเนินการ หากผู้เข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษาเรียนจบแล้วจะได้รับปริญญาบัตรเป็นสัญลักษณ์บ่งบอกถึงการผ่านหลักสูตรนั้นๆ

การที่จะเข้าศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษาได้นั้นจำเป็นต้องผ่านการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อก่อน ส่งผลให้วิธีการนี้ทำให้มีทั้งผู้ที่ได้สิทธิ์ศึกษาต่อและผู้ที่ไม่ได้สิทธิ์ศึกษาต่อ สำหรับการศึกษาในระดับอุดมศึกษามีความสำคัญมากในการสมัครงาน เพราะมักมีการกำหนดวุฒิการศึกษาขั้นต่ำในระดับปริญญาตรี นอกจากนี้ยังมีความสำคัญในการพัฒนากำลังคนในการพัฒนาประเทศชาติอีกด้วย

ในปัจจุบันมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยมีทั้งมหาวิทยาลัยที่เป็นของรัฐ มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ และมหาวิทยาลัยเอกชน

การศึกษาพิเศษ

ดูบทความหลักที่: การศึกษาพิเศษ
ดูบทความหลักที่: การศึกษาสำหรับเด็กปัญญาเลิศ

การศึกษาพิเศษเป็นการจัดการศึกษาสำหรับผู้ที่มีความต้องการพิเศษ ดังนั้นรัฐบาลจำเป็นต้องสนับสนุนงบประมาณและสาธารณูปโภคต่างๆเพื่อสนับสนุนการศึกษาในรูปแบบนี้ โดยกลุ่มที่มีความต้องการพิเศษแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ เด็กที่มีปัญญาเลิศ ซึ่งจะเน้นการพัฒนาความสามารถและความถนัดเฉพาะของบุคคล อีกประเภทหนึ่งคือเด็กที่มีความบกพร่องทางด้านร่างกายหรือสติปัญญา โดยการจัดการศึกษาจะเน้นการเรียนการสอนรายบุคคล ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ในห้องเรียนปกติ รวมไปถึงพัฒนาทักษะการดำรงชีวิตให้กับผู้ที่มีความต้องการพิเศษให้สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้

การศึกษานอกระบบโรงเรียน

ดูบทความหลักที่: การศึกษานอกระบบ

ตามความในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ได้ให้นิยามเกี่ยวกับการศึกษานอกระบบโรงเรียน ความว่าเป็นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการกำหนดจุดมุ่งหมาย รูปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็นเงื่อนไขสำคัญของการสำเร็จการศึกษา โดยเนื้อหาและหลักสูตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการของบุคคลแต่ละกลุ่ม ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนนอกระบบโรงเรียนจะเป็นการจัดให้กับผู้ที่ไม่ได้อยู่ในระบบโรงเรียนหรือผ่านจากระบบโรงเรียนมาแล้ว โดยส่วนใหญ่แล้วผู้ที่เข้าศึกษานอกระบบโรงเรียนมักเป็นผู้ใหญ่เป็นส่วนมาก เพื่อเรียนรู้การอ่านออกเขียนได้และนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้กับอาชีพของตัว สำหรับประเทศไทยมีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบการศึกษานอกโรงเรียนอยู่เป็นจำนวนมาก โดยนิยมจัดตั้งศูนย์การเรียนรู้ชุมชนหรือศูนย์การเรียนรู้นอกระบบโรงเรียน เพื่อให้ประชาชนเข้ามาเรียนรู้ได้ โดยภายในศูนย์จะมีอาจารย์ประจำและอาจารย์อาสาสมัครเป็นผู้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน นอกจากนี้แล้วการศึกษานอกระบบโรงเรียนยังมีการจัดการศึกษาในรูปแบบอื่นๆด้วย เช่น การศึกษาผู้ใหญ่ การศึกษาชุมชน เป็นต้น

การศึกษาตามอัธยาศัย

ดูบทความหลักที่: การศึกษาตามอัธยาศัย

การศึกษาตามอัธยาศัย (Informal Education) โดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ได้ให้ความหมายของการศึกษาตามอัธยาศัยว่าเป็นการศึกษาที่ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อมและโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สิ่งแวดล้อม สื่อ หรือแหล่งความรู้อื่น ดังนั้นถือได้ว่าการศึกษาตามอัธยาศัยเป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิตได้เช่นเดียวกัน สำหรับการเรียนรู้ตามอัธยาศัยสามารถจำแนกออกได้เป็น 3 ประเภท คือ การเรียนรู้ด้วยการนำตัวเอง การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นโดยบังเอิญและการเรียนรู้ในชีวิตประจำวัน

การศึกษาตามอัธยาศัยมักเป็นการศึกษาที่เกิดขึ้นภายนอกห้องเรียน ไม่ได้เกี่ยวข้องกับหลักสูตรโดยเฉพาะเจาะจงและมักเกิดขึ้นโดยความบังเอิญ ดังนั้นส่งผลให้การศึกษาในประเภทนี้เกิดขึ้นได้ในทุกๆสถานที่ ทั้งที่บ้าน โรงเรียนและที่อื่นๆ ซึ่งเป็นการศึกษาเพียงรูปแบบเดียวของมนุษย์เท่านั้นที่จำเป็นต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต

การศึกษาในรูปแบบอื่นๆ

ดูบทความหลักที่: การศึกษาทางเลือก

การศึกษาทางเลือกเป็นการศึกษาที่มีความแตกต่างจากการศึกษาในกระแสหลัก โดยยึดความต้องการของชุมชนในท้องถิ่นเป็นหลัก ใช้กระบวนการสอนที่มีความหลากหลายรูปแบบ และหยิบยกปรัชญาการศึกษาหลายๆปรัชญาเข้ามาประยุกต์ใช้ โดยการศึกษาในรูปแบบนี้ถือได้ว่าเป็นการศึกษาที่เป็นอุดมคติ และลดบทบาทของการจัดการศึกษาในรูปแบบของโรงเรียนลง สำหรับการจัดการศึกษาทางเลือกนั้นมีทั้งรูปแบบที่เรียนในโรงเรียนการศึกษาทางเลือก โฮมสคูล รวมไปถึงรูปแบบอันสคูลลิ่ง สำหรับโรงเรียนการศึกษาทางเลือกในประเทศไทยยกตัวอย่างเช่น โรงเรียนรุ่งอรุณ เป็นต้น

นักการศึกษาที่มีแนวคิดเรื่องการศึกษาทางเลือกและได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ยกตัวอย่างเช่น รูดอร์ฟ สไตเนอร์ และมาเรีย มอนเตสเซอรี

อ้างอิง

  1. Dewey, John. Democracy and Education. The Free Press. pp. 1–4. ISBN 0-684-83631-9.
  2. educate. Etymonline.com. Retrieved on 2011-10-21.
  3. "หมวด 3 ระบบการศึกษา". กระทรวงศึกษาธิการ. 4 December 2013.
  4. . สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. 4 December 2013. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2012-04-22. สืบค้นเมื่อ 2013-12-04.
  5. "รายงานการติดตามผลทั่วโลกเรื่องการศึกษาเพื่อปวงชน" (PDF). UNESCO. 4 December 2013.
  6. "ประวัติความเป็นมา". สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. 4 December 2013.
  7. "Special Education". DoDEA. 5 December 2013.
  8. "หมวด 3 ระบบการศึกษา". กระทรวงศึกษาธิการ. 6 December 2013.
  9. (PDF). สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบโรงเรียนและการศึกษาตามอัธยาศรัย กระทรวงศึกษาธิการ. 6 December 2013. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2013-12-05.
  10. "หมวด 3 ระบบการศึกษา". กระทรวงศึกษาธิการ. 4 December 2013.
  11. (PDF). วิศนี ศิลตระกูล. 5 December 2013. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2009-01-26. สืบค้นเมื่อ 2013-12-05.
  12. . เครือข่ายการศึกษาทางเลือก. 5 December 2013. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2013-11-17. สืบค้นเมื่อ 2013-12-05.


แหล่งข้อมูลอื่น

การศ, กษา, ในความหมายท, วไปอย, างกว, างท, เป, นว, การส, งผ, านจ, ดม, งหมายและธรรมเน, ยมประเพณ, ให, ดำรงอย, จากร, นหน, งส, กร, นหน, โดยท, วไป, เก, ดข, นผ, านประสบการณ, ใด, งม, ผลกระทบเช, งพ, ฒนาต, อว, คนคนหน, งจะค, กหร, อกระทำ, แต, ในความหมายเทคน, คอย, างแคบ, เ. karsuksa inkhwamhmaythwipxyangkwangthisud epnwithikarsngphancudmunghmayaelathrrmeniympraephniihdarngxyucakrunhnungsuxikrunhnung 1 odythwip karsuksaekidkhunphanprasbkarnid sungmiphlkrathbechingphthnatxwithithikhnkhnhnungcakhid rusukhruxkratha aetinkhwamhmayethkhnikhxyangaekhb karsuksaepnkrabwnkarxyangepnthangkarsungsngkhmsngphankhwamru thksa caritpraephniaelakhaniymthisngsmmacakrunhnungipyngxikrunhnung nnkhux karsxninsthansuksa sahrbpccubnnimikaraebngradbchnthangkarsuksaxxkepnkhn echn karsuksapthmwy prathmsuksa mthymsuksa thngnirwmipthungradbxachiwsuksa xudmsuksa aelakarfukngan karplukfnginhxngeriynkarrwmenuxhathangkaremuxngiwinexksarprakxbkareriynhruxkhruthilaemidbthbathkhxngtninkarplukfngnkeriynkhdtxwtthuprasngkhkhxngkarsuksathiaeswnghaesriphaphinkarkhidaelakarkhidechingwiphaks sahrbpraethsithy mikdhmaybngkhbihprachachnithythukkhntxngcbkarsuksaphakhbngkhb aelasamartheriynidcncbkarsuksakhnphunthanodyimesiykhaichcay nxkcakniinpccubnyngepidoxkasihmikareriynkarsxnodyphupkkhrxngthibanhruxthieriykwaohmskhulxikdwykhawa education epnsphthcakphasalatin educatiō karprbprung karxbrm cak educō chnru chnfuk 2 sahrbkarsuksatamphrarachbyytikarsuksaaehngchati ph s 2542 mi 3 rupaebbkhux karsuksainrabb karsuksanxkrabb aela karsuksatamxthyasy enuxha 1 karsuksainrabb 1 1 radbpthmwy 1 2 radbprathmsuksa 1 3 radbmthymsuksa 1 4 radbxachiwsuksa 1 5 radbxudmsuksa 1 6 karsuksaphiess 2 karsuksanxkrabborngeriyn 3 karsuksatamxthyasy 4 karsuksainrupaebbxun 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxunkarsuksainrabb aekikh edkinorngeriynxnubal praethsyipun karsuksainrabb formal education epnkarsuksathikahndcudmunghmay withikarsuksa hlksutr rayaewlakhxngkarsuksa karwdaelakarpraeminphl sungepnenguxnikhkhxngkarsaerckarsuksathiaennxn 3 odykarsuksainrabb samarthaebngxxkiddngni radbpthmwy aekikh dubthkhwamhlkthi karsuksapthmwy radbpthmwyepnkarcdkarsuksaihedkkxnwythitxngsuksakarsuksakhnphunthan odyepnkarwangrakthanchiwitephuxpuphunthanthidikxnkareriyninradbtxip odythwipaelwphuthiekhasuksainradbnimkmixayutngaet 4 8 pi kareriynkarsxninradbnicaennkarsxnthiekiywkhxngkbcitwithyaphthnakarkhxngedk sungennindankarphthnarangkay citic sngkhm stipyyaaelaxarmnkhxngedk nxkcakniyngennihedkeriynruthksatangphankickrrmkarelnaelakickrrmekms ephuxesrimsrangkhwamsmphnththangsngkhm aelaekidkareriynruphankickrrmehlanixikdwy sungkarichekmsaelakarelnthuxidwaepnwithikarhlksahrbsxnedkinradbpthmwy okhrngsranghlksutrkarsuksapthmwycamicudennthngsin 2 dankhux danprasbkarnsakhy prakxbipdwy danrangkay danxarmncitic dansngkhmaeladanstipyya xikdanhnungkhuxsarathikhwreriynru prakxbipdwy eruxngrawekiywkbtwedk eruxngrawekiywkbbukhkhlaelasthanthirxbtwedk thrrmchatirxbtwaelasingtangrxbtwedk 4 radbprathmsuksa aekikh edkradbchnprathmsuksa praethsithy dubthkhwamhlkthi prathmsuksa prathmsuksaepnkarsuksainradbkarsuksakhnphunthan odythwipaelwkarsuksainradbprathmsuksacamirayaewlainkareriynpraman 5 8 pi khunxyukbkarwangaephncdkarsuksakhxngaetlapraeths sahrbpraethsithymicdkareriynkarsxninradbchnprathmsuksa 6 pi tngaetinradbprathmsuksapithi 1 thungprathmsuksapithi 6 odyphuekhasuksainradbprathmsuksamkcamixayupraman 6 7 pi odyinpccubnniyngmiedkkwa 61 lankhnthiimmioxkasideriyninradbprathmsuksa sung 47 incanwnnicahmdoxkaskarekhasuksatxxyangsineching 5 xyangirktam yuensok idphyayamsnbsnunihekidkarsuksasahrbthukkhn odyiddaeninkarthieriykwakarsuksaephuxpwngchn sungthukpraethscatxngprasbkhwamsaercindancanwnkhnekhasuksainradbprathmsuksatamprakaskhxng yuensok phayinpi ph s 2558 hlngcaknkeriyncbchnprathmsuksaaelwcasamarthekhasuksatxinradbchnmthymsuksaid sungnkeriynehlanimkcamixayupraman 11 13 pi radbmthymsuksa aekikh dubthkhwamhlkthi mthymsuksa kareriynkarsxninradbchnmthymsuksa mthymsuksaepnkarcdkarsuksainradbkarsuksakhnphunthan odycdkarsuksaihkbnkeriynthicbinradbprathmsuksamaaelw sahrbphueriyninradbchnmthymsuksamkcamixayupraman 11 18 pi sahrbkarcdkarsuksainradbmthymsuksamicudprasngkhephuxesrimsrangkhwamruaelathksakrabwnkarechphaadan ephuxnaipichinkarsuksaradbsungtxip sahrbpraethsodyswnihyaelwkarsuksainradbchnmthymsuksathuxidwaepnkarsuksaphakhbngkhb sahrbpraethsithy nkeriyncatxngcbkarsuksainradbchnmthymsuksatxntn cungcathuxwacbkarsuksaphakhbngkhb xyangirktamhlngcakcbradbchnmthymsuksatxntnaelw nkeriynsamartheluxkthicahyuderiynaelwxxkipprakxbxachiph hrux eriyntxkid inkrnithieriyntxcami 2 rabbiheluxkeriyn rahwangsaysamy sungepnkareriyntxinradbchnmthymsuksatxnplay odymikarcdkareriynkarsxnthiepnphunthansahrbkareriyntxinradbxudmsuksa aelasayxachiph sungcasxnekiywkbxachiphthangdantang echn nganchang aelaekstrkrrm epntn odythnghmdnirthbalithycaepnphudaeninkarthangdankhaichcaythwipcncbradbchnmthymsuksa radbxachiwsuksa aekikh dubthkhwamhlkthi xachiwsuksa xachiwsuksaepnkarsuksaephuxetriymkhnsahrbkarprakxbxachiphinxnakht thngindankhxngnganchangfimux nganthurkic nganwiswkrrm aelanganbychi odyepnkarsuksaephuxihphueriynsamarthptibtinganidcring sungaetktangcakkarsuksainradbchnmthymsuksatxnplaythiennihmikhwamruphunthanmakephiyngphxsahrbsuksatxinradbmhawithyaly karsuksainradbxachiwsuksacaennihmikarfukngan ephuxesrimsrangihphueriynmiprasbkarnmakyingkhun sahrbpraethsithyerimmikarcdkareriynkarsxninsayxachiphtngaetpi ph s 2452 odyinsmynnenncdkareriynkarsxnthangdan aephthy phdungkhrrph phasaxngkvs phanichykar aelakhru 6 radbxudmsuksa aekikh culalngkrnmhawithyaly sthabnxudmsuksaaehngaerkkhxngithy dubthkhwamhlkthi xudmsuksa karsuksainradbxudmsuksa tertiary third stage post secondary education epnkarsuksathiimidbngkhbwatxngcbkarsuksainradbni karsuksainradbniepnkarsuksathisungkhunmacakkarsuksainradbmthymsuksa karsuksainradbxudmsuksannaebngidxxkepn 2 radbkhuxradbpriyyabnthitaelaradbbnthitsuksa sahrbkarcdkarsuksainradbxudmsuksaepnhnathikhxngmhawithyalyaelawithyalyepnphudaeninkar hakphuekhasuksainradbxudmsuksaeriyncbaelwcaidrbpriyyabtrepnsylksnbngbxkthungkarphanhlksutrnnkarthicaekhasuksatxinradbxudmsuksaidnncaepntxngphankarsxbkhdeluxkekhasuksatxkxn sngphlihwithikarnithaihmithngphuthiidsiththisuksatxaelaphuthiimidsiththisuksatx sahrbkarsuksainradbxudmsuksamikhwamsakhymakinkarsmkhrngan ephraamkmikarkahndwuthikarsuksakhntainradbpriyyatri nxkcakniyngmikhwamsakhyinkarphthnakalngkhninkarphthnapraethschatixikdwyinpccubnmhawithyalyaelawithyalymithngmhawithyalythiepnkhxngrth mhawithyalyinkakbkhxngrth aelamhawithyalyexkchn karsuksaphiess aekikh dubthkhwamhlkthi karsuksaphiess dubthkhwamhlkthi karsuksasahrbedkpyyaelis karsuksaphiessepnkarcdkarsuksasahrbphuthimikhwamtxngkarphiess dngnnrthbalcaepntxngsnbsnunngbpramanaelasatharnupophkhtangephuxsnbsnunkarsuksainrupaebbni 7 odyklumthimikhwamtxngkarphiessaebngxxkepn 2 praephth khux edkthimipyyaelis sungcaennkarphthnakhwamsamarthaelakhwamthndechphaakhxngbukhkhl xikpraephthhnungkhuxedkthimikhwambkphrxngthangdanrangkayhruxstipyya odykarcdkarsuksacaennkareriynkarsxnraybukhkhl khwbkhuipkbkareriynruinhxngeriynpkti rwmipthungphthnathksakardarngchiwitihkbphuthimikhwamtxngkarphiessihsamarthdarngchiwitinsngkhmidkarsuksanxkrabborngeriyn aekikhdubthkhwamhlkthi karsuksanxkrabb tamkhwaminphrarachbyytikarsuksaaehngchati phuththskrach 2542 idihniyamekiywkbkarsuksanxkrabborngeriyn khwamwaepnkarsuksathimikhwamyudhyuninkarkahndcudmunghmay rupaebb withikarcdkarsuksa rayaewlakhxngkarsuksa karwdaelapraeminphl sungepnenguxnikhsakhykhxngkarsaerckarsuksa odyenuxhaaelahlksutrcatxngmikhwamehmaasmsxdkhlxngkbsphaphpyhaaelakhwamtxngkarkhxngbukhkhlaetlaklum 8 dngnnkarcdkareriynkarsxnnxkrabborngeriyncaepnkarcdihkbphuthiimidxyuinrabborngeriynhruxphancakrabborngeriynmaaelw odyswnihyaelwphuthiekhasuksanxkrabborngeriynmkepnphuihyepnswnmak ephuxeriynrukarxanxxkekhiynidaelanakhwamruthiidipprayuktichkbxachiphkhxngtw sahrbpraethsithymikarcdkareriynkarsxnrupaebbkarsuksanxkorngeriynxyuepncanwnmak odyniymcdtngsunykareriynruchumchnhruxsunykareriynrunxkrabborngeriyn ephuxihprachachnekhamaeriynruid odyphayinsunycamixacarypracaaelaxacaryxasasmkhrepnphucdkickrrmkareriynkarsxn 9 nxkcakniaelwkarsuksanxkrabborngeriynyngmikarcdkarsuksainrupaebbxundwy echn karsuksaphuihy karsuksachumchn epntnkarsuksatamxthyasy aekikhdubthkhwamhlkthi karsuksatamxthyasy karsuksatamxthyasy Informal Education odyphrarachbyytikarsuksaaehngchati phuththskrach 2542 idihkhwamhmaykhxngkarsuksatamxthyasywaepnkarsuksathiphueriynideriynrudwytnexng tamkhwamsnic skyphaph khwamphrxmaelaoxkas odysuksacakbukhkhl prasbkarn sngkhm singaewdlxm sux hruxaehlngkhwamruxun 10 dngnnthuxidwakarsuksatamxthyasyepnkareriynrutlxdchiwitidechnediywkn sahrbkareriynrutamxthyasysamarthcaaenkxxkidepn 3 praephth khux kareriynrudwykarnatwexng kareriynruthiekidkhunodybngexiyaelakareriynruinchiwitpracawn 11 karsuksatamxthyasymkepnkarsuksathiekidkhunphaynxkhxngeriyn imidekiywkhxngkbhlksutrodyechphaaecaacngaelamkekidkhunodykhwambngexiy dngnnsngphlihkarsuksainpraephthniekidkhunidinthuksthanthi thngthiban orngeriynaelathixun sungepnkarsuksaephiyngrupaebbediywkhxngmnusyethannthicaepntxngeriynrutlxdchiwitkarsuksainrupaebbxun aekikhdubthkhwamhlkthi karsuksathangeluxk karsuksathangeluxkepnkarsuksathimikhwamaetktangcakkarsuksainkraaeshlk odyyudkhwamtxngkarkhxngchumchninthxngthinepnhlk ichkrabwnkarsxnthimikhwamhlakhlayrupaebb aelahyibykprchyakarsuksahlayprchyaekhamaprayuktich odykarsuksainrupaebbnithuxidwaepnkarsuksathiepnxudmkhti aelaldbthbathkhxngkarcdkarsuksainrupaebbkhxngorngeriynlng 12 sahrbkarcdkarsuksathangeluxknnmithngrupaebbthieriyninorngeriynkarsuksathangeluxk ohmskhul rwmipthungrupaebbxnskhulling sahrborngeriynkarsuksathangeluxkinpraethsithyyktwxyangechn orngeriynrungxrun epntnnkkarsuksathimiaenwkhideruxngkarsuksathangeluxkaelaidrbkaryxmrbxyangkwangkhwang yktwxyangechn rudxrf sitenxr aelamaeriy mxnetsesxrixangxing aekikh Dewey John Democracy and Education The Free Press pp 1 4 ISBN 0 684 83631 9 educate Etymonline com Retrieved on 2011 10 21 hmwd 3 rabbkarsuksa krathrwngsuksathikar 4 December 2013 khumuxhlksutrkarsuksapthmwy ph s 2546 sankwichakaraelamatrthankarsuksa sankngankhnakrrmkarkarsuksakhnphunthan 4 December 2013 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2012 04 22 subkhnemux 2013 12 04 rayngankartidtamphlthwolkeruxngkarsuksaephuxpwngchn PDF UNESCO 4 December 2013 prawtikhwamepnma sankngankhnakrrmkarkarxachiwsuksa 4 December 2013 Special Education DoDEA 5 December 2013 hmwd 3 rabbkarsuksa krathrwngsuksathikar 6 December 2013 khmphir ksn PDF sankngansngesrimkarsuksanxkrabborngeriynaelakarsuksatamxthyasry krathrwngsuksathikar 6 December 2013 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2016 03 04 subkhnemux 2013 12 05 hmwd 3 rabbkarsuksa krathrwngsuksathikar 4 December 2013 karsuksatamxthyasy xair thaim aelaxyangir PDF wisni siltrakul 5 December 2013 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2009 01 26 subkhnemux 2013 12 05 4 niyam khwamhmay karsuksathangeluxk ekhruxkhaykarsuksathangeluxk 5 December 2013 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2013 11 17 subkhnemux 2013 12 05 aehlngkhxmulxun aekikheriyntxtangpraeths Archived 2014 06 25 thi ewyaebkaemchchin by krittapas studysquares comekhathungcak https th wikipedia org w index php title karsuksa amp oldid 9615412, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม