fbpx
วิกิพีเดีย

ความเป็นแม่เหล็ก

ความเป็นแม่เหล็ก (อังกฤษ: magnetism) ในทางฟิสิกส์ หมายถึง คุณสมบัติอย่างหนึ่งของวัสดุที่สามารถสร้างแรงดูดหรือผลักกับวัสดุอีกอย่างหนึ่งได้ วัสดุที่ทราบกันดีว่ามักจะมีความเป็นแม่เหล็กคือ เหล็ก เหล็กกล้า และโลหะบางชนิด อย่างไรก็ตาม วัสดุต่างๆ จะเกิดความเป็นแม่เหล็กมากหรือน้อยแค่ไหนนั้นขึ้นอยู่กับสนามแม่เหล็ก(ดูในตารางที่ 1)

ประเภท

Class   magnetic susceptibility Moment magnetization
Diamagnetic มีค่าต่ำ และเป็นค่าลบ ไม่มี
Paramagnetic มีค่าต่ำ และเป็นค่าบวก มีและมีการเรียงตัวระเกะระกะ
Ferromagnetic มีค่าสูงมาก และเป็นค่าบวก มีและมีการเรียงตัวอย่างเป็นระเบียบในทิศทางเดียวกัน
Antiferromagnetic มีค่าต่ำ และเป็นค่าบวก มีและมีการเรียงในทิศทางตรงกันข้ามกัน มีขนาดเท่ากัน
Ferrimagnetic มีค่าสูง และเป็นค่าบวก มีและมีการเรียงตัวทิศทางตรงกันข้ามกัน มีขนาดแตกต่างกัน

ไดอะแม็กเนติก

วัตถุจำพวกไดอะแมกเนติก (diamagnetic material) เป็นวัตถุที่แสดงคุณสมบัติแม่เหล็กในเชิงด้านกับสนามแม่เหล็กภายนอก ไม่มีโมเมนต์แม่เหล็กถาวรในโครงสร้างอะตอม โดยที่เมื่อมีสนามแม่เหล็กภายนอกกระทำต่ออะตอมของวัตถุ จะทำให้อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่เป็นวงโคจรรอบนิวเคลียสของอะตอมเสียสมดุล เกิดขั้วแม่เหล็กขนาดเล็กขึ้นในอะตอมขั้วแม่เหล็กจะต้านกับสนามแม่เหล็กภายนอก ทำให้เกิดผลในเชิงลบ วัตถุจำพวกนี้มีคุณสมบัติค่าสภาพรับไว้ในเชิงแม่เหล็กของวัตถุมีค่าเป็นลบ ตัวอย่างแร่ที่มีคุณสมบัติแม่เหล็กประเภทนี้ได้แก่ ควอตซ์ เกลือหิน แคลไซ เป็นต้น

 
พาราแมกเนติก

พาราแม็กเนติก

วัตถุจำพวกพาราแมกเนติก (paramagnetic material) เป็นวัตถุที่เมื่ออยู่ในสนามแม่เหล็กภายนอก วัตถุจะถูกเหนียวนำให้มีสภาพเป็นแม่เหล็ก นั่นคือ ในโครงสร้างอะตอมของวัตถุจำพวกนี้มีโมเมนต์แม่เหล็กถาวรประกอบอยู่ แต่การเรียงตัวไม่เป็นระเบียบ (ดูในรูปที่ 1) ดังนั้นเมื่อถูกเหนียวนำจึงมีการเรียงตัวของโมเมนต์แม่เหล็กไปตามสนามแม่เหล็กที่มีห้องนำ การเรียงตัวจะไม่เป็นระเบียบอย่างสมบูรณ์ และเมื่อนำสนามแม่เหล็กออกไป วัตถุนั้นก็จะไม่มีความเป็นแม่เหล็กอีกต่อไป วัตถุจำพวกนี้มีคุณสมบัติของสภาพรับไว้เชิงแม่เหล็กของวัตถุเป็นค่าบวกและมีค่าอยู่ระหว่าง   วัตถุที่มีคุณสมบัติแม่เหล็กจำพวกนี้ได้แก่วัตถุทุกชนิดที่ไม่ใช่วัตถุจำพวกไดอะแมกเนติก

 
เฟร์โรแมกเนติก

เฟร์โรแม็กเนติก

วัตถุจำพวกเฟร์โรแมกเนติก (ferromagnetic material) เป็นวัตถุที่เมื่อถูกเหนียวนำจากสนามแม่เหล็กภายนอก จะมีสภาพแม่เหล็กและเมื่อนำสนามแม่เหล็กภายนอกออกไปจะยังคงมีสภาพความเป็นแม่เหล็กอยู่ นั่นคือ วัตถุมีโมเมนต์แม่เหล็กถาวรในโครงสร้างอะตอม วัตถุจำพวกนี้มีสภาพรับไว้ได้เชิงแม่เหล็กเป็นค่าบวก และมีค่ามากกว่า 100 ขึ้นไป หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง คือเป็นวัตถุจำพวกพาราแมกเนติกที่มีค่าของสภาพรับไว้ในเชิงแม่เหล็กมากกว่า 100 ขึ้นไป แร่ที่จัดว่าเป็นจำพวกเฟร์โรแมกเนติก คือแร่ประกอบด้วยธาตุเหล็ก (Fe) โคบอลต์ (Co) นิกเกิล (Ni) กาโดไลเนียม (Gadolinium) และ ไดสพรอเซียม (Dysprosium, Dy) วัตถุจำพวกเฟร์โรแมกเนติก แบ่งย่อยได้ 3 ประเภทคือ

 
แอนติเฟร์โรแมกเนติก

เฟร์โรแม็กเนติกบริสุทธิ์

ประเภทเฟร์โรแมกเนติกบริสุทธิ์ (Pure ferromagnetism) วัตถุที่จัดในประเภทนี้จะมีทิศทางของโมเมนต์แม่เหล็กถาวรที่เรียงในโดเมนทุกๆโดเมน เรียงเป็นแนวขนานตามทิศทางของสนามแม่เหล็ก (ดูในรูปที่ 2) ทำให้มีค่าสภาพรับได้เชิงแม่เหล็กสูงและมีค่าบวก ในธรรมชาติส่วนใหญ่จะพบได้เฉพาะในชาติ เหล็ก นิกเกิล และ โคบอลต์ (กาโดไลเนียม และ ไดสพรอเซียม พบน้อยมาก ไดสพรอเซียม อยู่ในสภาวะแก๊ส ส่วนกาโดไลเนียมสภาพความเป็นแม่เหล็กถูกทำลายได้อุณหภูมิห้อง เราจึงไม่นำมาพิจารณา) ถ้าหิน มีเพียงส่วนประกอบของธาตุ เหล็ก นิกเกิล หรือ โคบอลต์ ไม่จัดเป็นประเภทเฟร์โรแมกเนติกบริสุทธิ์

แอนติเฟร์โรแม็กเนติก

 
เฟร์ริแมกเนติก

ประเภทแอนติเฟร์โรแมกเนติก (antiferromagnetism) เป็นวัตถุที่ถึงแม้ว่าจะมีโมเมนต์แม่เหล็กถาวรประกอบอยู่ในวัตถุ แต่คลิปทางการเรียงตัวของโมเมนต์แม่เหล็กถาวรภายในโดเมนแต่ละโดเมน มีการเรียนในทิศทางตรงกันข้าม และมีขนาดเท่ากัน จึงหักล้างกันหมดไป (ดูในรูปที่ 3) ทำให้มีค่า สภาพรับได้เชิงแม่เหล็กเป็นศูนย์ แร่ที่มีคุณสมบัติประเภทนี้คือ ฮ ีมาไทต์

เฟร์ริแมกเนติก

ประเภทเฟร์ริแมกเนติก (ferrimagnetism) เป็นวัตถุที่มีโมเมนต์แม่เหล็กถาวรประกอบอยู่ในวัตถุ และทิศทางการเรียงตัวของโมเมนต์แม่เหล็กถาวรภายในโดเมนมีการเรียงในทิศทางตรงกันข้าม แต่มีขนาดไม่เท่ากัน (ดูในรูปที่ 4) จึงทำให้มีอำนาจแม่เหล็ก และมีค่าสภาพรับได้เชิงแม่เหล็กเป็นบวก วัตถุที่มีคุณสมบัติประเภทนี้ คือ จำพวกเฟร์ไรต์ มีสูตรทางเคมีคือ  3 เมื่อ X คือ Mn, Co, Ni, Cu, Mg, Zn เป็นต้น

ความเป, นแม, เหล, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, งกฤษ, magnetism, ใน. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir khwamepnaemehlk xngkvs magnetism inthangfisiks hmaythung khunsmbtixyanghnungkhxngwsduthisamarthsrangaerngdudhruxphlkkbwsduxikxyanghnungid wsduthithrabkndiwamkcamikhwamepnaemehlkkhux ehlk ehlkkla aelaolhabangchnid xyangirktam wsdutang caekidkhwamepnaemehlkmakhruxnxyaekhihnnnkhunxyukbsnamaemehlk duintarangthi 1 enuxha 1 praephth 1 1 idxaaemkentik 1 2 pharaaemkentik 1 3 efroraemkentik 1 3 1 efroraemkentikbrisuththi 1 3 2 aexntiefroraemkentik 1 3 3 efrriaemkentikpraephth aekikhClass x displaystyle chi magnetic susceptibility Moment magnetizationDiamagnetic mikhata aelaepnkhalb immiParamagnetic mikhata aelaepnkhabwk miaelamikareriyngtwraekarakaFerromagnetic mikhasungmak aelaepnkhabwk miaelamikareriyngtwxyangepnraebiybinthisthangediywknAntiferromagnetic mikhata aelaepnkhabwk miaelamikareriynginthisthangtrngknkhamkn mikhnadethaknFerrimagnetic mikhasung aelaepnkhabwk miaelamikareriyngtwthisthangtrngknkhamkn mikhnadaetktangknidxaaemkentik aekikh wtthucaphwkidxaaemkentik diamagnetic material epnwtthuthiaesdngkhunsmbtiaemehlkinechingdankbsnamaemehlkphaynxk immiomemntaemehlkthawrinokhrngsrangxatxm odythiemuxmisnamaemehlkphaynxkkrathatxxatxmkhxngwtthu cathaihxielktrxnthiekhluxnthiepnwngokhcrrxbniwekhliyskhxngxatxmesiysmdul ekidkhwaemehlkkhnadelkkhuninxatxmkhwaemehlkcatankbsnamaemehlkphaynxk thaihekidphlinechinglb wtthucaphwknimikhunsmbtikhasphaphrbiwinechingaemehlkkhxngwtthumikhaepnlb twxyangaerthimikhunsmbtiaemehlkpraephthniidaek khwxts ekluxhin aekhlis epntn pharaaemkentik pharaaemkentik aekikh wtthucaphwkpharaaemkentik paramagnetic material epnwtthuthiemuxxyuinsnamaemehlkphaynxk wtthucathukehniywnaihmisphaphepnaemehlk nnkhux inokhrngsrangxatxmkhxngwtthucaphwknimiomemntaemehlkthawrprakxbxyu aetkareriyngtwimepnraebiyb duinrupthi 1 dngnnemuxthukehniywnacungmikareriyngtwkhxngomemntaemehlkiptamsnamaemehlkthimihxngna kareriyngtwcaimepnraebiybxyangsmburn aelaemuxnasnamaemehlkxxkip wtthunnkcaimmikhwamepnaemehlkxiktxip wtthucaphwknimikhunsmbtikhxngsphaphrbiwechingaemehlkkhxngwtthuepnkhabwkaelamikhaxyurahwang 10 6 10 2 displaystyle 10 6 10 2 wtthuthimikhunsmbtiaemehlkcaphwkniidaekwtthuthukchnidthiimichwtthucaphwkidxaaemkentik efroraemkentik efroraemkentik aekikh wtthucaphwkefroraemkentik ferromagnetic material epnwtthuthiemuxthukehniywnacaksnamaemehlkphaynxk camisphaphaemehlkaelaemuxnasnamaemehlkphaynxkxxkipcayngkhngmisphaphkhwamepnaemehlkxyu nnkhux wtthumiomemntaemehlkthawrinokhrngsrangxatxm wtthucaphwknimisphaphrbiwidechingaemehlkepnkhabwk aelamikhamakkwa 100 khunip hruxklawxiknyhnung khuxepnwtthucaphwkpharaaemkentikthimikhakhxngsphaphrbiwinechingaemehlkmakkwa 100 khunip aerthicdwaepncaphwkefroraemkentik khuxaerprakxbdwythatuehlk Fe okhbxlt Co nikekil Ni kaodileniym Gadolinium aela idsphrxesiym Dysprosium Dy wtthucaphwkefroraemkentik aebngyxyid 3 praephthkhux aexntiefroraemkentik efroraemkentikbrisuththi aekikh praephthefroraemkentikbrisuththi Pure ferromagnetism wtthuthicdinpraephthnicamithisthangkhxngomemntaemehlkthawrthieriynginodemnthukodemn eriyngepnaenwkhnantamthisthangkhxngsnamaemehlk duinrupthi 2 thaihmikhasphaphrbidechingaemehlksungaelamikhabwk inthrrmchatiswnihycaphbidechphaainchati ehlk nikekil aela okhbxlt kaodileniym aela idsphrxesiym phbnxymak idsphrxesiym xyuinsphawaaeks swnkaodileniymsphaphkhwamepnaemehlkthukthalayidxunhphumihxng eracungimnamaphicarna thahin miephiyngswnprakxbkhxngthatu ehlk nikekil hrux okhbxlt imcdepnpraephthefroraemkentikbrisuththi aexntiefroraemkentik aekikh efrriaemkentik praephthaexntiefroraemkentik antiferromagnetism epnwtthuthithungaemwacamiomemntaemehlkthawrprakxbxyuinwtthu aetkhlipthangkareriyngtwkhxngomemntaemehlkthawrphayinodemnaetlaodemn mikareriyninthisthangtrngknkham aelamikhnadethakn cunghklangknhmdip duinrupthi 3 thaihmikha sphaphrbidechingaemehlkepnsuny aerthimikhunsmbtipraephthnikhux h imaitht efrriaemkentik aekikh praephthefrriaemkentik ferrimagnetism epnwtthuthimiomemntaemehlkthawrprakxbxyuinwtthu aelathisthangkareriyngtwkhxngomemntaemehlkthawrphayinodemnmikareriynginthisthangtrngknkham aetmikhnadimethakn duinrupthi 4 cungthaihmixanacaemehlk aelamikhasphaphrbidechingaemehlkepnbwk wtthuthimikhunsmbtipraephthni khux caphwkefrirt misutrthangekhmikhux X O F e 2 O 3 displaystyle XOFe 2 O 3 3 emux X khux Mn Co Ni Cu Mg Zn epntn bthkhwamekiywkbfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy fisiksekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamepnaemehlk amp oldid 8298066, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม