fbpx
วิกิพีเดีย

ซัลมาน ฟารซี

ซัลมาน ฟารซี (อาหรับ: سلمان الفارسي‎ซัลมาน อัล-ฟาริซี) เป็นสาวกชาวอิหร่านที่ท่านบีมูฮัมหมัด(ศ็อล) ได้เคยกล่าวเรียกซัลมานว่า เขามาจากท่านและได้ทำให้ซัลมานถูกรู้จักในนามของมูฮัมมะดี

ซัลมาน
ชื่อจริงسلمان
เกิดคาเซอรูน, ปารส์, เปอร์เซีย
อิสฟาฮาน, เปอร์เซีย (อีกแหล่งอ้างอิง)
เสียชีวิตค.ศ.656
ที่ฝังศพอัล-มาดาอิน, ประเทศอิรัก
(ถูกฝังที่โลด, เยรูซาเลม, อิสฟาฮาน หรือที่ไหนซักแห่งในอ้างอิง)
มีชื่อเสียงจากเป็นผู้ติดตามของมุฮัมหมัด และอะลี
ผลงาน
Partial แปลกุรอานเป็นภาษาเปอร์เซีย
ตำแหน่ง
  • อัล-ฟาร์ซี อาหรับ: الفارسي
  • อัล-มุฮัมมาดี
  • อบู อัล-กีตาบัยน์
  • ลุกมาน อัล-ฮากีม
บุตรอับดุลลอฮ์

ในเหตุการณ์หนึ่งที่ชาวกุเรชได้ยกกองทัพมาใกล้เมืองมะดีนะห์เพื่อที่จะโจมตีชาวมุสลิม ท่านซัลมานฟารซีได้เสนอให้ขุดคูลึกรอบๆเมืองมะดีนะฮ์ เพื่อที่ว่าคูนี้จะเป็นกองกำลังทหารเพื่อปกป้องเมืองมะดีนะฮ์

ท่านซัลมานฟารซีถือเป็นที่รักและเคารพ โดยเฉพาะในหมู่ชาวมุสลิมนิกายชีอะฮ์และสำหรับพวกเขาท่านซัลมาน คือบุคคลที่มีฐานันดรและเป็นสาวกที่เป็นรักและยอมรับของท่านศาสดา

ถึงแม้ว่าท่านซัลมานฟารซีจะเป็นลูกของชาวนาธรรมดาๆในประเทศอิหร่านคนหนึ่งก็ตาม แต่ท่านก็ไม่ได้ยอมรับในการบูชาไฟ และได้ออกเดินทางไปยังเมืองต่างๆ เพื่อแสวงหาความจริงและศาสนาที่ถูกต้องจนกระทั่งไปถึงเมืองๆ หนึ่งท่านถูกกักตัวไว้เป็นทาส หลังจากนั้น ท่านศาสดามูฮัมหมัดได้ช่วยเหลือจนในที่สุดเขาได้รับอิสรภาพ

ซัลมานฟารซีเป็นนักปราชญ์คนหนึ่งที่มีความเฉลียวฉลาดและมีความรู้ของอิหร่านและคริสเตียนและท่านก็เป็นที่ปรึกษาของท่านศาสดามูฮัมหมัด(ศ็อล) และท่านยังเป็นหนึ่งในบุคคลที่ออกแบบให้ขุดหลุมคันดักในสงครามคันดัก ช่วงบั้นปลายของชีวิตท่านซัลมาน ท่านได้รับตำแหน่งเป็นผู้ว่าราชการจังหวัดมะดาอิน.

สถานที่ถือกำเนิดและชีวิตวัยเด็ก

ซัลมานเป็นลูกชายของ เจ้าของที่ดินเมือง จีย์ อยู่ใกล้ กับเมืองอิสฟาฮาน อิสฟาฮาน ถึงแม้นว่าจะมีการถกเถียงกันเกี่ยวสถานที่ถือกำเหนิดระหว่าง อิสฟาฮาน , เมืองดัชต์, อุรจุน, เมืองฟารซ์ และคุซิก็ยังถูกระบุไว้ว่าเป็นถิ่นกำเนิดของท่าน นักวิชาการบางท่านระบุว่าท่านมาจากตระกูลมุซแดคี บ้างก็ระบุว่าท่านมาจากครอบครัวชั้นสูงของตระกูลมอนวี

อายุขัยของท่านซัลมาน ฟารซี

เกี่ยวกับอายุขัยของท่านซัลมาน มีทัศนะที่แตกต่างกันหลายปี อาทิ เช่น

  1. เชคตูซีมีทัศนะว่าท่านเป็นกลุ่ม มุอัมมิรีน ที่เคยพบเห็นกับท่านนบีอีซา ดังนั้นท่าน่าจะมีอายุมากกว่า 600 ปี
  2. จากรายงานบทหนึ่งของท่านศาสดา(ศ) ระบุว่า ท่านซัลมาน มีอายุ 450 ปี
  3. ซัยยิดริฏอ และเชคตอรีฮี บันทึกไว้ว่า เพื่อพิจารณาจากรายงานและสิ่งต่างๆแล้วท่านน่าจะมีอายุ 350 ปี
  4. นักประวัติศาสตร์ส่วนมากบันทึกไว้ที่250ปี (มุฮัดดิษ นูรี) เชื่อว่าทัศนะที่น่าเชื่อถือที่สุดคือ 250 ปี อิบนิอับดุลบิร ระบุไว้ในหนังสือ อัลอิสตีอาบเล่มที่ 2 หน้า 195

แนวคิด

เริ่มแรกที่ท่านอยู่ในอิหร่านมีความรู้เกี่ยวกับ มีตะรอออี (میترایی) หลังจากนั้นท่านก็ได้รู้จักแนวคิดโบราณของเปอร์เซีย (ศาสนาโซโรอัสเตอร์) และหลังจากที่ท่านเดินทางไปแถบตะวันตกก็ได้รู้จักกับความเชื่อของคริสเตียนและเคยรับใช้อยู่ในโบสน์คริสต์อยู่ระยะหนึ่งและได้ศึกษาแนวคิดของศาสนายูดายควบคู่ไปด้วย ทำให่ท่านเข้าถึงและมีความเชี่ยวชาญต่อแนวคิดและหลักศรัทธาของศาสนาคริสต์เป็นอย่างดี และเมื่ท่านเดินทางมาถึงเมืองยัษริบและได้พบกับท่านศาสดามุฮัมหมัด(ศ)และได้รู้จักกับแนวคิดและหลักคำสอนของศาสนาอิสลาม

แนวคิดของท่านซัลมานเป็นแนวคิดที่เป็นการผสมผสานกับแนวคิดทางปรัชญายุคก่อนของเปอร์เซียกับแนวคิดปรัชญาแบบอิสลามและเนื่องจากากรที่ท่านได้ทำการศึกษาแนวคิดและปรัชญาของศาสนาต่างๆมากมาย และนักวิชากานสายปรัชญาหลายท่านที่ยอมรับว่าตนเป็นผู้ที่ยึดและฝักใฝ่ในแนวคิดของท่านซัลมาน ลูอี มาซีนีอูน ชาวฝรั่งเศส ได้แนะนำตำราที่เป็นของท่านซัลมานไว้ถึง4เล่ม วึ่งในนั้นคือ ตำราชื่อว่า คอบัรจาซะลีก .

ความศรัทธาต่อแนวคิด มานี

ซัลมานฟารซีกับความศรัทธาต่อ มานี(مانی) และเนื่องจากที่ซัลมานยอมรับในแนวคิดแบบมานีแทนที่(โซโรอัสเตอร์) จึงเป็นเหตุทำให้เขาต้องหนีออกจากประเทศอิหร่าน

ความศรัทธาต่อศาสนาคริสต์

 ท่านซัลมานฟารซีได้รู้จักกับศาสนาคริสต์ตั้งแต่ท่านยังเยาว์วัย และศึกษาหาความรู้ที่ซีเรีย. อบูรัยฮาน บีรูนี ได้บันทึกในหนังสืออัลอะซารุ้ลบากียะอะนิลกอรูนิลคอลียะว่า ศาสนาคริสต์มี 70 พระวารสาร มีนามว่าอิลญีลเขาได้ถูกเขียนไว้ว่าได้ให้สลามไปยังลูกชายของอับดุลเลาะเป็นสลามจากปากของท่านซัลมานฟารซี.พระวารสาร มีนามว่าอิลญีลเขาได้ถูกเขียนไว้ว่าได้ให้สลามไปยังลูกชายของอับดุลเลาะฮ์เป็นสลามจากปากของท่านซัลมานฟารซี.

หลังจากการเสียชีวิตของอาจารย์ของท่าน ซัลมานฟารซี ได้เดินทางพร้อมกับกองคาราวานไปยังเมืองอาหรับซึ่งเป็นช่วงเดียวกันกับท่านมูฮัมหมัดบินอับดุลลอฮ์ ผู้เป็นผู้ดูแลธุรกิจการค้าของท่านหญิงคอดีญะฮ์สตรีนางเดียวที่มีความร่ำรวยในอาหรับ

ในระหว่างการเดินทางได้เกิดการจู่โจมจากฝ่ายศัตรู ทำให้ท่านซัลมานฟารซีถูกจำเป็นเฉลยและมีชายชาวยิวผู้หนึ่งจากเมืองมะดีนะฮ์ได้ซื้อตัวท่านไปในฐานะทาสและได้นำท่านไปพร้อมกับตนยังเมืองมะดีนะฮ์.

ความศรัทธาต่อศาสนาอิสลาม

ซัลมานฟารซีได้รู้จักกับท่านนบี(ศ็อล) ที่เมืองมะดีนะฮ์และทำให้ท่านได้เข้ารับศาสนาอิสลาม. ในหนังสือ ซะฟีนะตุลบะฮาร ได้บันทึกไว้ว่า ภายหลังจากที่ท่านนบีมูฮัมมัด(ศ็อล)ได้อพยพมายังเมืองมะดีนะฮ์ ท่านซัลมานก็ได้รู้จักกับศาสนาอิสลามด้วยกับการเชิญชวนของท่านนบี ในที่สุดท่านซัลมานก็ได้เข้ารับอิสลาม ท่านนบีได้ทำข้อตกลงกับนายผู้เป็นเจ้าของซัลมานว่าให้ซัลมานทำงานและรายได้ที่เขาได้นั้นให้จ่ายเป็นค่าอิสรภาพของเขา ท่านนบี(ศ็อล)และมุสลิมทุกคนได้ช่วยเหลือท่านซัลมาน ค่าตัวของท่าน (เท่ากับต้นกล้าของอินทผาลัม 40 ต้นและ 40 วะกียะซึ่งทุกๆ วะกียะจะเท่ากับ 40 ดิรฮัม) ในที่สุดท่านซัลมานก็ได้รับอิสรภาพจากชายยิวคนนั้น มีความเชื่อกันว่าช่วงเวลาที่ซัลมานรู้จักกับท่านนบีนั้นคือภายหลังจากท่านนบีมูฮัมหมัด(ศ็อล)ถูกแต่งตั้งเป็นศาสดา แต่ทว่าไม่มีระบุไว้เป็นที่แน่ชัดว่าเป็นปีเท่าไหร่

สงครามคอนดัก

สงครามคอนดักเกิดขึ้นในปีที่ฮ.ศ.5 และเนื่องด้วยคำเสนอแนะของท่านซัลมานฟารซี พวกเขาได้ทำการขุดคูขึ้นมา คันดักเป็นคำที่ได้มาจากภาษาอาหรับ หากคำนี้มาจากเปอร์เซีย ก็จะได้มาจากคำระหว่างคำว่าฆันดัก ซึ่งมีความหมายว่า การขุดและในภาษาที่เก่าแก่ของชาวอิหร่านเฉกเช่นอะเวสตานและเปอร์เซียโบราณ รากศัพท์ของคำว่า คอนดัก ในยุคปัจจุบันได้มีการใช้แล้ว คอนดักได้มาจากรากศัพท์คำว่า กุน (کن) ซึ่งให้ความหมายว่า การขุด (کندن) นั่นเอง คำว่าฟัรกันตัน (فرکنتن) มีความหมายว่า การเริ่มต้นการก่อสร้างตึกหรือเมือง.

หลังจากการจากไปของศาสดามุฮัมหมัด(ศ) 

ภายหลังจากการจากไปของท่านนบีมูฮัมหมัด(ศ็อล) บรรดานักฝึกงานได้เขียนในหนังสือ ซัลมานผู้บริสุทธ์ ไว้ว่า ซัลมานมีความเสียใจจาก การเร่งรีบต่อการเลือกอบูบักร์ในซะกีฟะฮ์ สิ่งนี้เป็นหนึ่งแนวทางในการปกป้องดูแลการงานและเป็นโอกาสพิเศษ ซึ่ในภาษาฟารซี สิ่งที่ตรงกันข้ามกับความปรีชา คือ ทำและไม่ทำ (کردید ونکردید) ซึ่งประโยคนี้ยากที่จะแก้ไข ประโยคนี้มีรากศัพท์เดิมมาจากภาษาฟารซีว่า ใช่หรือไม่?

มะดาอีนีและมุลาซารี ได้ตีพิมพ์ในรูปแบบนี้คือ (کرداد و ناکرداد) ทำและไม่ทำ (เปอร์เซียกลาง) จำต้องกล่าวว่า ถึงแม้ว่าสองคำนี้ไม่ได้บ่งบอกหรือยืนยันถึงคำข้างต้นก็ตามแต่ในปี11ฮิจเราะฮ์หลังจากการเสียชีวิตของท่านนบีมูฮัมหมัด(ศ็อล) ท่านซัลมานฟารซีได้ลุกขึ้นต่อสู้และจับดาบเพื่อปกป้องหลักความเชื่อแห่งอิมามียะ ท่านได้แสดงการต่อต้านอย่างโจ่งแจ้งต่อการกระทำดังกล่าว

แต่ทว่าตรงกันข้ามกับคำพูดของโจเซฟฮอที่มีสัญลักษณ์ว่า ในครึ่งศตวรรษก่อนที่พวกเขาจะยอมรับยะฮกุบีผู้เป็นนักรายงานชาวอิรัก คือ ท่านซัลมานฟารซี ได้พูดถึงสิทธิตำแหน่งแห่งอิมามัตหรือผู้นำภายหลังจากท่านนบี(ศ็อล)ของท่านอิมามไว้ตอนที่พวกเขากำลังเลือกอบูบักร์อยู่ แต่ท่านซัลมานฟารซีอาจจะพูดถึงเรื่อภายหลังจากการจากไปของท่านนบีมูฮัมหมัด(ศ็อล) พูดถึงเรื่องนี้ในที่ประชุมลับก็ได้. 

การเสียชีวิตของซัลมานฟารซี

จากคำกล่าวของหนังสือ ซัลมานผู้บริสุทธิ์ จากมอนีซียูน ถูกแปลโดย ท่านชะรีอัตตี ว่า วันเสียชีวิตของท่านซัลมานฟารซนั้นไม่มีความแน่นอน

จากคำกล่าวของวากีดี และอิบนิซะอ์ว่า ท่านเสียชีวิตในช่วงสุดท้ายของเคาะลีฟะฮ์อุมัรหรือช่วงสมัยการเป็นเคาะลีฟะฮ์ของอุษมาน เพราะก่อนการดำรงตำแหน่งของเคาะลีฟะฮ์อุษมาน ท่านซัลมานฟารซีอาศัยอยู่ในเมืองกูฟะฮ์มาก่อนแล้ว.

บรรดาผู้รวบรวมฮะดีษและซุนนะฮ์ พวกเขาได้กำหนดวันเสียชีวิตของท่านซัลมานไว้ในศตวรรษที่ 3

ลูยี มอซีนียูน ได้กล่าวในหนังสือของตนแบบประมาณการว่า ท่านซัลมานฟารซีโดยการอนุญาตจากคอลีฟะฮ์ ซัลมานไม่มีสิทธ์ที่จะได้รับเงินบำนาญ ซึ่งเป็นส่วนของกองกลาง เงินบัยตุลมานนั่นเองเหมือนกับทุกๆคนที่เพิ่งเข้ารับอิสลามใหม่ๆ ที่ไม่ใช่อาหรับ เพื่อความปลอดภัยของเขา เขาระได้รับความช่วยเหลือในส่วนนี้.

เผ่าอับดุลเกซ ซึ่งเป็นเผ่าที่ท่านซัลมานเคยร่วมเดินทางมาพร้อมกับพวกเขา พวกเขากับซัลมานได้ทำสนธิสัญญาต่อกัน เมื่อพิจารณาไปยังสภาพและคุณลักษณะต่างๆของเผ่าอับดุลเกซแล้ว เราจะพบว่าสภาพของเผ่านี้ได้ทำให้สมมุติฐานข้างต้นของลูยี มอซีนียูนนั้น มีความแข็งแรงขึ้น.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Vida, G. Levi Della. “Salmān al-Fārisī”. P. Bearman; Th. Bianquis; C.E. Bosworth; E. van Donzel; and W.P. Heinrichs. In Encyclopaedia of Islam. Second ed. Brill Online, 2012.แม่แบบ:یادکرد دانشنامه
  • หนังสือนัฟซุลเราะห์มาน ฟี ฟะฏออิลิ ซัลมาน نفس الرحمن فی فضائل سلمان  .
  • บิฮารรุล อันวาร ของ อัลลามะฮ์ มัจลิซี เล่มที่ 6 และ 8.
  • หนังสือ ซัลมอนเน่พอก (ซัลมานผู้บริสุทธิ).سلمان پاک
  • หนังสือ คุรชีด เด้ จี 

อ้างอิง

  1. Web Admin. "Salman Farsi, the Son of Islam". Sibtayn International Foundation. สืบค้นเมื่อ September 20, 2015.
  2. An-Nawawi, Al-Majmu', (Cairo, Matbacat at-'Tadamun n.d.), 380.
  3. بعلبکی, มุนีร. «Salman al-Farisi». در دانشنامه المورد. เล่มที่ 8. بیروت:دارالعلم للملایین, 1980. 194.
  4. تاریخ دمشق ابن عساکر อิบนิ อะกาซิร ,ประวัติศาสตร์ ดามัสกัส
  5. مانی و آیین او از: فرید شالیزاده و سایت روزنامک
  6. http://www.hawzah.net/fa/Book/View/45266/23642/
  7. มัจมะอุ้ลบะฮ์รอยน์,หน้า309,นัฟซุรเราะห์มาน ,หน้า650 کتاب نفس الرحمن، ص 650. کتاب مجمع البحرین، ص 309
  8. الآثار الباقیه عن القرون الخالیه دائرةالمعارف بزرگ اسلامی
  9. شناخت هویّت ایرانی از زمان فردوسی تاکنون مرتضی ثاقب فر - سخنرانی در دانشکده حقوق دانشگاه تهران در «همایش هویّت و حاکمیت ملی ایران «در ۲۷ بهمن ۱۳۸۳، منتشره در ماهنامه ایران‌مهر به تاریخ اسفند ۱۳۸۳
  10. سابقهٔ تاریخی اسکان قبایل عرب در خوزستان دکتر امیرحسین خنجی - دوشنبه ۳ اسفند ۱۳۸۱ - ایران امروز
  11. کتاب سلمان پاک نوشته: لویی ماسینیون، ص ۷۷.
  12. کتاب سلمان پاک نوشته: لویی ماسینیون، ص ۸۳.

ลมาน, ฟารซ, อาหร, سلمان, الفارسي, ลมาน, ฟาร, เป, นสาวกชาวอ, หร, านท, านบ, มหม, อล, ได, เคยกล, าวเร, ยกซ, ลมานว, เขามาจากท, านและได, ทำให, ลมานถ, กร, กในนามของม, มมะด, ลมานช, อจร, งسلمانเก, ดคาเซอร, ปารส, เปอร, เซ, ยอ, สฟาฮาน, เปอร, เซ, กแหล, งอ, างอ, เส, ยช, ต. slman farsi xahrb سلمان الفارسي slman xl farisi epnsawkchawxihranthithanbimuhmhmd sxl idekhyklaweriykslmanwa ekhamacakthanaelaidthaihslmanthukruckinnamkhxngmuhmmadislmanchuxcringسلمانekidkhaesxrun pars epxresiyxisfahan epxresiy xikaehlngxangxing esiychiwitkh s 656 1 thifngsphxl madaxin praethsxirk thukfngthiold eyrusaelm xisfahan hruxthiihnskaehnginxangxing michuxesiyngcakepnphutidtamkhxngmuhmhmd aelaxaliphlnganPartial 2 aeplkurxanepnphasaepxresiytaaehnngxl farsi xahrb الفارسي xl muhmmadi xbu xl kitabyn lukman xl hakimbutrxbdullxhinehtukarnhnungthichawkuerchidykkxngthphmaiklemuxngmadinahephuxthicaocmtichawmuslim thanslmanfarsiidesnxihkhudkhulukrxbemuxngmadinah ephuxthiwakhunicaepnkxngkalngthharephuxpkpxngemuxngmadinahthanslmanfarsithuxepnthirkaelaekharph odyechphaainhmuchawmuslimnikaychixahaelasahrbphwkekhathanslman khuxbukhkhlthimithanndraelaepnsawkthiepnrkaelayxmrbkhxngthansasda 3 thungaemwathanslmanfarsicaepnlukkhxngchawnathrrmdainpraethsxihrankhnhnungktam aetthankimidyxmrbinkarbuchaif aelaidxxkedinthangipyngemuxngtang ephuxaeswnghakhwamcringaelasasnathithuktxngcnkrathngipthungemuxng hnungthanthukkktwiwepnthas hlngcaknn thansasdamuhmhmdidchwyehluxcninthisudekhaidrbxisrphaphslmanfarsiepnnkprachykhnhnungthimikhwamechliywchladaelamikhwamrukhxngxihranaelakhrisetiynaelathankepnthipruksakhxngthansasdamuhmhmd sxl aelathanyngepnhnunginbukhkhlthixxkaebbihkhudhlumkhndkinsngkhramkhndk chwngbnplaykhxngchiwitthanslman thanidrbtaaehnngepnphuwarachkarcnghwdmadaxin enuxha 1 sthanthithuxkaenidaelachiwitwyedk 2 xayukhykhxngthanslman farsi 3 aenwkhid 4 khwamsrththatxaenwkhid mani 5 khwamsrththatxsasnakhrist 6 khwamsrththatxsasnaxislam 7 sngkhramkhxndk 8 hlngcakkarcakipkhxngsasdamuhmhmd s 9 karesiychiwitkhxngslmanfarsi 10 aehlngkhxmulxun 11 xangxingsthanthithuxkaenidaelachiwitwyedk aekikhslmanepnlukchaykhxng ecakhxngthidinemuxng ciy xyuikl kbemuxngxisfahan xisfahan thungaemnwacamikarthkethiyngknekiywsthanthithuxkaehnidrahwang xisfahan 4 emuxngdcht xurcun emuxngfars aelakhusikyngthukrabuiwwaepnthinkaenidkhxngthan nkwichakarbangthanrabuwathanmacaktrakulmusaedkhi bangkrabuwathanmacakkhrxbkhrwchnsungkhxngtrakulmxnwi 5 xayukhykhxngthanslman farsi aekikhekiywkbxayukhykhxngthanslman mithsnathiaetktangknhlaypi xathi echn echkhtusimithsnawathanepnklum muxmmirin thiekhyphbehnkbthannbixisa dngnnthanacamixayumakkwa 600 pi cakraynganbthhnungkhxngthansasda s rabuwa thanslman mixayu 450 pi syyidritx aelaechkhtxrihi bnthukiwwa ephuxphicarnacakraynganaelasingtangaelwthannacamixayu 350 pi nkprawtisastrswnmakbnthukiwthi250pi muhddis nuri echuxwathsnathinaechuxthuxthisudkhux 250 pi xibnixbdulbir rabuiwinhnngsux xlxistixabelmthi 2 hna 195 6 7 aenwkhid aekikherimaerkthithanxyuinxihranmikhwamruekiywkb mitarxxxi میترایی hlngcaknnthankidruckaenwkhidobrankhxngepxresiy sasnaosorxsetxr aelahlngcakthithanedinthangipaethbtawntkkidruckkbkhwamechuxkhxngkhrisetiynaelaekhyrbichxyuinobsnkhristxyurayahnungaelaidsuksaaenwkhidkhxngsasnayudaykhwbkhuipdwy thaihthanekhathungaelamikhwamechiywchaytxaenwkhidaelahlksrththakhxngsasnakhristepnxyangdi aelaemuthanedinthangmathungemuxngysribaelaidphbkbthansasdamuhmhmd s aelaidruckkbaenwkhidaelahlkkhasxnkhxngsasnaxislamaenwkhidkhxngthanslmanepnaenwkhidthiepnkarphsmphsankbaenwkhidthangprchyayukhkxnkhxngepxresiykbaenwkhidprchyaaebbxislamaelaenuxngcakakrthithanidthakarsuksaaenwkhidaelaprchyakhxngsasnatangmakmay aelankwichakansayprchyahlaythanthiyxmrbwatnepnphuthiyudaelafkifinaenwkhidkhxngthanslman luxi masinixun chawfrngess idaenanatarathiepnkhxngthanslmaniwthung4elm wunginnnkhux tarachuxwa khxbrcasalik khwamsrththatxaenwkhid mani aekikhslmanfarsikbkhwamsrththatx mani مانی aelaenuxngcakthislmanyxmrbinaenwkhidaebbmaniaethnthi osorxsetxr cungepnehtuthaihekhatxnghnixxkcakpraethsxihran 5 8 9 10 khwamsrththatxsasnakhrist aekikh thanslmanfarsiidruckkbsasnakhristtngaetthanyngeyawwy aelasuksahakhwamruthisieriy xburyhan biruni idbnthukinhnngsuxxlxasarulbakiyaxanilkxrunilkhxliyawa sasnakhristmi 70 phrawarsar minamwaxilyilekhaidthukekhiyniwwaidihslamipynglukchaykhxngxbdulelaaepnslamcakpakkhxngthanslmanfarsi phrawarsar minamwaxilyilekhaidthukekhiyniwwaidihslamipynglukchaykhxngxbdulelaahepnslamcakpakkhxngthanslmanfarsi hlngcakkaresiychiwitkhxngxacarykhxngthan slmanfarsi idedinthangphrxmkbkxngkharawanipyngemuxngxahrbsungepnchwngediywknkbthanmuhmhmdbinxbdullxh phuepnphuduaelthurkickarkhakhxngthanhyingkhxdiyahstrinangediywthimikhwamrarwyinxahrbinrahwangkaredinthangidekidkarcuocmcakfaystru thaihthanslmanfarsithukcaepnechlyaelamichaychawyiwphuhnungcakemuxngmadinahidsuxtwthanipinthanathasaelaidnathanipphrxmkbtnyngemuxngmadinah khwamsrththatxsasnaxislam aekikhslmanfarsiidruckkbthannbi sxl thiemuxngmadinahaelathaihthanidekharbsasnaxislam inhnngsux safinatulbahar idbnthukiwwa phayhlngcakthithannbimuhmmd sxl idxphyphmayngemuxngmadinah thanslmankidruckkbsasnaxislamdwykbkarechiychwnkhxngthannbi inthisudthanslmankidekharbxislam thannbiidthakhxtklngkbnayphuepnecakhxngslmanwaihslmanthanganaelarayidthiekhaidnnihcayepnkhaxisrphaphkhxngekha thannbi sxl aelamuslimthukkhnidchwyehluxthanslman khatwkhxngthan ethakbtnklakhxngxinthphalm 40 tnaela 40 wakiyasungthuk wakiyacaethakb 40 dirhm inthisudthanslmankidrbxisrphaphcakchayyiwkhnnn mikhwamechuxknwachwngewlathislmanruckkbthannbinnkhuxphayhlngcakthannbimuhmhmd sxl thukaetngtngepnsasda aetthwaimmirabuiwepnthiaenchdwaepnpiethaihrsngkhramkhxndk aekikhsngkhramkhxndkekidkhuninpithih s 5 aelaenuxngdwykhaesnxaenakhxngthanslmanfarsi phwkekhaidthakarkhudkhukhunma khndkepnkhathiidmacakphasaxahrb hakkhanimacakepxresiy kcaidmacakkharahwangkhawakhndk sungmikhwamhmaywa karkhudaelainphasathiekaaekkhxngchawxihranechkechnxaewstanaelaepxresiyobran raksphthkhxngkhawa khxndk inyukhpccubnidmikarichaelw khxndkidmacakraksphthkhawa kun کن sungihkhwamhmaywa karkhud کندن nnexng khawafrkntn فرکنتن mikhwamhmaywa karerimtnkarkxsrangtukhruxemuxng hlngcakkarcakipkhxngsasdamuhmhmd s aekikhphayhlngcakkarcakipkhxngthannbimuhmhmd sxl brrdankfuknganidekhiyninhnngsux slmanphubrisuthth iwwa slmanmikhwamesiyiccak karerngribtxkareluxkxbubkrinsakifah singniepnhnungaenwthanginkarpkpxngduaelkarnganaelaepnoxkasphiess suinphasafarsi singthitrngknkhamkbkhwampricha khux thaaelaimtha کردید ونکردید sungpraoykhniyakthicaaekikh praoykhnimiraksphthedimmacakphasafarsiwa ichhruxim madaxiniaelamulasari idtiphimphinrupaebbnikhux کرداد و ناکرداد thaaelaimtha epxresiyklang catxngklawwa thungaemwasxngkhaniimidbngbxkhruxyunynthungkhakhangtnktamaetinpi11hiceraahhlngcakkaresiychiwitkhxngthannbimuhmhmd sxl thanslmanfarsiidlukkhuntxsuaelacbdabephuxpkpxnghlkkhwamechuxaehngximamiya thanidaesdngkartxtanxyangocngaecngtxkarkrathadngklawaetthwatrngknkhamkbkhaphudkhxngocesfhxthimisylksnwa inkhrungstwrrskxnthiphwkekhacayxmrbyahkubiphuepnnkraynganchawxirk khux thanslmanfarsi idphudthungsiththitaaehnngaehngximamthruxphunaphayhlngcakthannbi sxl khxngthanximamiwtxnthiphwkekhakalngeluxkxbubkrxyu aetthanslmanfarsixaccaphudthungeruxphayhlngcakkarcakipkhxngthannbimuhmhmd sxl phudthungeruxngniinthiprachumlbkid 11 karesiychiwitkhxngslmanfarsi aekikhcakkhaklawkhxnghnngsux slmanphubrisuththi cakmxnisiyun thukaeplody thancharixtti wa wnesiychiwitkhxngthanslmanfarsnnimmikhwamaennxncakkhaklawkhxngwakidi aelaxibnisaxwa thanesiychiwitinchwngsudthaykhxngekhaalifahxumrhruxchwngsmykarepnekhaalifahkhxngxusman ephraakxnkardarngtaaehnngkhxngekhaalifahxusman thanslmanfarsixasyxyuinemuxngkufahmakxnaelw brrdaphurwbrwmhadisaelasunnah phwkekhaidkahndwnesiychiwitkhxngthanslmaniwinstwrrsthi 3luyi mxsiniyun idklawinhnngsuxkhxngtnaebbpramankarwa thanslmanfarsiodykarxnuyatcakkhxlifah slmanimmisithththicaidrbenginbanay sungepnswnkhxngkxngklang enginbytulmannnexngehmuxnkbthukkhnthiephingekharbxislamihm thiimichxahrb ephuxkhwamplxdphykhxngekha ekharaidrbkhwamchwyehluxinswnni ephaxbduleks sungepnephathithanslmanekhyrwmedinthangmaphrxmkbphwkekha phwkekhakbslmanidthasnthisyyatxkn emuxphicarnaipyngsphaphaelakhunlksnatangkhxngephaxbduleksaelw eracaphbwasphaphkhxngephaniidthaihsmmutithankhangtnkhxngluyi mxsiniyunnn mikhwamaekhngaerngkhun 12 aehlngkhxmulxun aekikhVida G Levi Della Salman al Farisi P Bearman Th Bianquis C E Bosworth E van Donzel and W P Heinrichs In Encyclopaedia of Islam Second ed Brill Online 2012 aemaebb یادکرد دانشنامه hnngsuxnfsuleraahman fi fatxxili slman نفس الرحمن فی فضائل سلمان biharrul xnwar khxng xllamah mclisi elmthi 6 aela 8 hnngsux slmxnenphxk slmanphubrisuththi سلمان پاک hnngsux khurchid ed ci xangxing aekikh Web Admin Salman Farsi the Son of Islam Sibtayn International Foundation subkhnemux September 20 2015 An Nawawi Al Majmu Cairo Matbacat at Tadamun n d 380 بعلبکی munir Salman al Farisi در دانشنامه المورد elmthi 8 بیروت دارالعلم للملایین 1980 194 تاریخ دمشق ابن عساکر xibni xakasir prawtisastr damsks 5 0 5 1 مانی و آیین او از فرید شالیزاده و سایت روزنامک http www hawzah net fa Book View 45266 23642 mcmaxulbahrxyn hna309 nfsureraahman hna650 کتاب نفس الرحمن ص 650 کتاب مجمع البحرین ص 309 الآثار الباقیه عن القرون الخالیه دائرةالمعارف بزرگ اسلامی شناخت هوی ت ایرانی از زمان فردوسی تاکنون مرتضی ثاقب فر سخنرانی در دانشکده حقوق دانشگاه تهران در همایش هوی ت و حاکمیت ملی ایران در ۲۷ بهمن ۱۳۸۳ منتشره در ماهنامه ایران مهر به تاریخ اسفند ۱۳۸۳ سابقه تاریخی اسکان قبایل عرب در خوزستان دکتر امیرحسین خنجی دوشنبه ۳ اسفند ۱۳۸۱ ایران امروز کتاب سلمان پاک نوشته لویی ماسینیون ص ۷۷ کتاب سلمان پاک نوشته لویی ماسینیون ص ۸۳ ekhathungcak https th wikipedia org w index php title slman farsi amp oldid 7971773, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม