fbpx
วิกิพีเดีย

ตระกูลภาษาเกาหลี

ตระกูลภาษาเกาหลี คือตระกูลภาษาหนึ่งที่ประกอบด้วยภาษาเกาหลีสมัยใหม่และภาษาเครือญาติที่มีความใกล้เคียงอื่น ๆ ที่ปัจจุบันจัดเป็นภาษาสูญแล้ว นักภาษาศาสตร์ส่วนใหญ่จัดให้ภาษาเกาหลีที่ใช้อยู่ในปัจจุบันเป็นภาษาโดดเดี่ยว (Language isolate) ขณะที่นักภาษาศาสตร์จำนวนไม่น้อยจัดให้อยู่ในตระกูลภาษาอัลไต (Altaic languages) บ้างก็จัดอยู่ในตระกูลภาษาอินโด-แปซิฟิก (Indo-Pacific language family) นอกจากนี้ยังภาษาศาสตร์บางส่วนสันนิษฐานว่าภาษาเกาหลีนี้อาจมีความเชื่อมโยงกับตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน (Austronesian languages) ก็เป็นได้

เกาหลี
ภูมิภาค:คาบสมุทรเกาหลี, ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศจีน, แมนจูเรีย
การจําแนก
ทางภาษาศาสตร์
:
ภาษาโดดเดี่ยว
กลุ่มย่อย:
กลอตโตลอก:kore1284
ตระกูลภาษาเกาหลี

ส่วนภาษาเชจูที่ใช้บนเกาะเชจูนั้นจัดเป็นภาษาถิ่นหนึ่งของภาษาเกาหลีสมัยใหม่ แต่มีลักษณะที่ต่างออกไปจากภาษาเกาหลีมาตรฐาน เพียงพอที่จะแยกเป็นภาษาอีกภาษาหนึ่งต่างหาก ซึ่งบางครั้งตระกูลภาษาเกาหลีอาจถูกพิจารณาว่าเป็นภาษาโดดเดี่ยว ตระกูลภาษาเกาหลีจึงเป็นตระกูลภาษาขนาดเล็กเพราะมีเพียงภาษาเกาหลีและภาษาเชจูเท่านั้น

การจำแนก

มีการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เกาหลี ดังนี้

  • เกาหลีดั้งเดิม (ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 1)
  • เกาหลียุคเก่า (คริสต์ศตวรรษที่ 1 – 10)
  • เกาหลียุคกลาง (คริสต์ศตวรรษที่ 10 – 16)
  • เกาหลียุคใหม่ (คริสต์ศตวรรษที่ 17 – ปัจจุบัน)

ตระกูลภาษาเกาหลีเก่า

กลุ่มภาษาโบราณที่เคยใช้บนคาบสมุทรเกาหลี ได้แก่ ภาษาชิลลา ภาษาพูยอ ภาษาโคกูรยอ ภาษาดงเย ภาษาอกจอ ภาษาแพ็กเจ ภาษาโคโจซ็อน และภาษาเยแม็ก ซึ่งภาษาเหล่านี้อาจเป็นบรรพบุรุษ, เกี่ยวข้อง หรือเป็นส่วนหนึ่งของภาษาเกาหลีเก่า บางครั้งอาจแบ่งภาษาเหล่านี้ออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือ กลุ่มภาษาพูยอ และกลุ่มภาษาฮัน ดังนี้

ตระกูลภาษาเกาหลีใหม่

ตระกูลภาษาเกาหลีใหม่มีภาษาอยู่เพียงภาษาเดียวคือภาษาเกาหลี แต่บางครั้งภาษาเชจูก็ถูกจำแนกออกเป็นภาษาหนึ่งต่างหากโดยยูเนสโก จึงอาจถือว่าตระกูลภาษาเกาหลีสมัยใหม่ดำรงอยู่สองภาษาในยุคปัจจุบันคือภาษาเกาหลีและเชจู

ภาษาในตระกูล

  • ตระกูลภาษาเกาหลี (한국어족)
    • ภาษาเยแม็ก (예맥어)
    • กลุ่มภาษาพูยอ (부여어족)
    • กลุ่มภาษาชิลลา (신라어족)
      • ภาษาเกาหลี (한국어, 조선말)
        • สำเนียงฮัมกย็อง (สำเนียงตะวันออกเฉียงเหนือ; 함경 방언, 동북 방언)
        • สำเนียงตะวันตกเฉียงเหนือ (서북 방언)
          • สำเนียงพย็องอัน (평안 방언)
          • สำเนียงฮวังแฮ (황해 방언)
          • สำเนียงยุกจิน (육진 방언)
        • สำเนียงกลาง (중부 방언)
          • สำเนียงคย็องกี (สำเนียงโซล; 경기 방언, 서울말)
            • ภาษามาตรฐานเกาหลีใต้ (표준어)
            • ภาษามาตรฐานเกาหลีเหนือ (문화어)
          • สำเนียงย็องซอ (영서 방언)
          • สำเนียงชุงช็อง (충청 방언)
        • สำเนียงย็องดง (영동 방언)
        • สำเนียงคย็องซัง (สำเนียงตะวันออกเฉียงใต้; 경상 방언, 동남 방언)
          • สำเนียงคย็องซังเหนือ (북부 동남 방언)
          • สำเนียงคย็องซังใต้ (남부 동남 방언)
        • สำเนียงช็อลลา (สำเนียงตะวันตกเฉียงใต้; 전라 방언, 서남 방언)
          • สำเนียงช็อลลาเหนือ (북부 서남 방언)
          • สำเนียงช็อลลาใต้ (남부 서남 방언)
        • สำเนียงอื่น ๆ
      • ภาษาเชจู (제주어)

ดูเพิ่ม

  • ภาษาคายา
  • ตระกูลภาษาอินโด-แปซิฟิก

อ้างอิง

  1. Nordhoff, Sebastian; Hammarström, Harald; Forkel, Robert; Haspelmath, Martin, บ.ก. (2013). "Koreanic". Glottolog 2.2. Leipzig: Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology.CS1 maint: display-editors (link)
  2. Kim, Chin-Wu (1974). The Making of the Korean Language. Center for Korean Studies, University of Hawai'i.
  3. Janhunen, Juha (1996). Manchuria: An Ethnic History. Finno-Ugrian Society. ISBN 978-951-9403-84-7.CS1 maint: ref=harv (link)
  4. Young Kyun Oh, 2005. Old Chinese and Old Sino-Korean
  5. Janhunen, Juha, 1996. Manchuria: an ethnic history
  6. Lee & Ramsey, 2000. The Korean language

ตระก, ลภาษาเกาหล, อตระก, ลภาษาหน, งท, ประกอบด, วยภาษาเกาหล, สม, ยใหม, และภาษาเคร, อญาต, ความใกล, เค, ยงอ, จจ, นจ, ดเป, นภาษาส, ญแล, กภาษาศาสตร, วนใหญ, ดให, ภาษาเกาหล, ใช, อย, ในป, จจ, นเป, นภาษาโดดเด, ยว, language, isolate, ขณะท, กภาษาศาสตร, จำนวนไม, อยจ, ดให,. trakulphasaekahli khuxtrakulphasahnungthiprakxbdwyphasaekahlismyihmaelaphasaekhruxyatithimikhwamiklekhiyngxun thipccubncdepnphasasuyaelw nkphasasastrswnihycdihphasaekahlithiichxyuinpccubnepnphasaoddediyw Language isolate khnathinkphasasastrcanwnimnxycdihxyuintrakulphasaxlit Altaic languages bangkcdxyuintrakulphasaxinod aepsifik Indo Pacific language family 2 nxkcakniyngphasasastrbangswnsnnisthanwaphasaekahlinixacmikhwamechuxmoyngkbtrakulphasaxxsotrniesiyn Austronesian languages kepnid 2 ekahliphumiphakh khabsmuthrekahli tawnxxkechiyngehnuxkhxngpraethscin aemncueriykarcaaenkthangphasasastr phasaoddediywklumyxy phuyx chilla ekahli aelaechcu klxtotlxk kore1284 1 trakulphasaekahliswnphasaechcuthiichbnekaaechcunncdepnphasathinhnungkhxngphasaekahlismyihm aetmilksnathitangxxkipcakphasaekahlimatrthan ephiyngphxthicaaeykepnphasaxikphasahnungtanghak 3 sungbangkhrngtrakulphasaekahlixacthukphicarnawaepnphasaoddediyw trakulphasaekahlicungepntrakulphasakhnadelkephraamiephiyngphasaekahliaelaphasaechcuethann enuxha 1 karcaaenk 1 1 trakulphasaekahlieka 1 2 trakulphasaekahliihm 2 phasaintrakul 3 duephim 4 xangxingkarcaaenk aekikhmikaraebngyukhsmythangprawtisastrekahli dngni ekahlidngedim kxnkhriststwrrsthi 1 ekahliyukheka khriststwrrsthi 1 10 ekahliyukhklang khriststwrrsthi 10 16 ekahliyukhihm khriststwrrsthi 17 pccubn trakulphasaekahlieka aekikh klumphasaobranthiekhyichbnkhabsmuthrekahli idaek phasachilla phasaphuyx phasaokhkuryx phasadngey phasaxkcx phasaaephkec phasaokhocsxn aelaphasaeyaemk sungphasaehlanixacepnbrrphburus ekiywkhxng hruxepnswnhnungkhxngphasaekahlieka bangkhrngxacaebngphasaehlanixxkepnsxngklumihy khux klumphasaphuyx aelaklumphasahn dngni 4 klumphasaphuyx suyaelw idaek phasaphuyx phasaokhkuryx aelaphasaaephkec klumphasahn khux phasachilla txmaphthnaepnphasaekahli aelaphasaechcutrakulphasaekahliihm aekikh trakulphasaekahliihmmiphasaxyuephiyngphasaediywkhuxphasaekahli aetbangkhrngphasaechcukthukcaaenkxxkepnphasahnungtanghakodyyuensok cungxacthuxwatrakulphasaekahlismyihmdarngxyusxngphasainyukhpccubnkhuxphasaekahliaelaechcu 5 phasaintrakul aekikhtrakulphasaekahli 한국어족 phasaeyaemk 예맥어 klumphasaphuyx 부여어족 phasaokhkuryx 고구려어 phasaphuyx 부여어 phasaaephkec 백제어 klumphasachilla 신라어족 phasaekahli 한국어 조선말 saeniynghmkyxng saeniyngtawnxxkechiyngehnux 함경 방언 동북 방언 phasaokhryx mar 고려말 saeniyngtawntkechiyngehnux 서북 방언 saeniyngphyxngxn 평안 방언 saeniynghwngaeh 황해 방언 saeniyngyukcin 육진 방언 saeniyngklang 6 중부 방언 saeniyngkhyxngki saeniyngosl 경기 방언 서울말 phasamatrthanekahliit 표준어 phasamatrthanekahliehnux 문화어 saeniyngyxngsx 영서 방언 saeniyngchungchxng 충청 방언 saeniyngyxngdng 6 영동 방언 saeniyngkhyxngsng saeniyngtawnxxkechiyngit 경상 방언 동남 방언 saeniyngkhyxngsngehnux 북부 동남 방언 saeniyngkhyxngsngit 남부 동남 방언 saeniyngchxlla saeniyngtawntkechiyngit 전라 방언 서남 방언 saeniyngchxllaehnux 북부 서남 방언 saeniyngchxllait 남부 서남 방언 saeniyngxun phasaekahliisnichi 재일 한국어 phasaekahliinpraethscin 중국조선말 phasaechcu 제주어 duephim aekikhphasakhaya trakulphasaxinod aepsifikxangxing aekikh Nordhoff Sebastian Hammarstrom Harald Forkel Robert Haspelmath Martin b k 2013 Koreanic Glottolog 2 2 Leipzig Max Planck Institute for Evolutionary Anthropology CS1 maint display editors link 2 0 2 1 Kim Chin Wu 1974 The Making of the Korean Language Center for Korean Studies University of Hawai i Janhunen Juha 1996 Manchuria An Ethnic History Finno Ugrian Society ISBN 978 951 9403 84 7 CS1 maint ref harv link Young Kyun Oh 2005 Old Chinese and Old Sino Korean Janhunen Juha 1996 Manchuria an ethnic history 6 0 6 1 Lee amp Ramsey 2000 The Korean languageekhathungcak https th wikipedia org w index php title trakulphasaekahli amp oldid 9028371, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม