fbpx
วิกิพีเดีย

ตัณหา

ตัณหา เป็นหลักธรรมข้อหนึ่งในพุทธศาสนา หมายถึง ความติดใจอยาก ความยินดี ยินร้าย หรือติดในรสอร่อยของโลก ประกอบด้วย ความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจ เพลิดเพลินยิ่งนักในอารมณ์นั้นๆ และ ตัณหาย่อมเจริญแก่ผู้ประพฤติประมาท ซ่านไปในอารมณ์ต่างๆ ครอบงำบุคคลใด ความโศกทั้งหลายย่อมเจริญแก่บุคคลนั้น ดังนั้น ความทุกข์ย่อมเกิดขึ้นบ่อยๆ เมื่อบุคคลยังถอนเชื้อตัณหาไม่ได้

ในหลักปฏิจจสมุปบาท ตัณหาเกิดจากเวทนาเป็นปัจจัย โดยมี อวิชชาเป็นมูลราก ควรเห็นตัณหา เป็นดังเครือเถาที่เกิดขึ้น แล้ว จงตัดรากเสียด้วยปัญญา

ประเภทของตัณหา

ตัณหาแบ่งออกเป็น 3 อย่าง

  1. กามตัณหา คือ ความอยากหรือไม่อยาก ใน สัมผัสทั้ง 5
  2. ภวตัณหา คือ ความอยากทางจิตใจ เมื่อได้สิ่งนั้นมาแล้ว ไม่ต้องการให้มันเปลี่ยนแปลง
  3. วิภวตัณหา คือ ความไม่อยากทางจิต ความอยากดับสูญ

ควรเจริญอริยมรรคอันประกอบด้วยองค์ 8 เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อกำหนดรู้ เพื่อความสิ้นไป เพื่อละตัณหา 3 อย่างนี้

ตัณหา 6

ตัณหา 6 หมวด ได้แก่

  1. รูปตัณหา คือ อยากได้รูป (ที่มองเห็นด้วยตา)
  2. สัททตัณหา คือ อยากได้เสียง
  3. คันธตัณหา คือ อยากได้กลิ่น
  4. รสตัณหา คือ อยากได้รส
  5. โผฏฐัพพตัณหา คือ อยากได้โผฏฐัพพะ (ความรู้สึกทางกายสัมผัส)
  6. ธัมมตัณหา คือ อยากในธรรมารมณ์ (สิ่งที่ใจนึกคิด)

ความเกิดขึ้น ความตั้งอยู่ ความบังเกิด ความปรากฏแห่งตัณหาทั้ง6นี้ เป็นความเกิดขึ้นแห่งทุกข์ ความดับโดยไม่เหลือ ความสงบระงับ ความสูญแห่งตัณหาทั้ง6นี้ เป็นความดับโดยไม่เหลือแห่งทุกข์ ตัณหาทั้ง 6 นี้ ไม่เที่ยง มีอันแปรปรวนเป็นอย่างอื่นเป็นธรรมดา ผู้เห็นอยู่อย่างนี้ ย่อมเบื่อหน่าย ย่อมคลายกำหนัด

ธรรมะที่เกี่ยวข้อง

ดูกรภิกษุทั้งหลาย ความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจใน รูปตัณหา นี้เป็นอุปกิเลสแห่งจิต ความกำหนัดด้วยอำนาจความพอใจในสัททตัณหา ฯลฯ ใน คันธตัณหา ฯลฯ ในรสตัณหา ฯลฯ ในโผฏฐัพพตัณหา ฯลฯ ในธรรมตัณหา ฯลฯ นี้เป็นอุปกิเลสแห่งจิต. ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดแล ภิกษุละอุปกิเลสแห่งจิตในฐานะ 6 นี้ได้ เมื่อนั้น จิตของเธอย่อมเป็นจิตน้อมไปในเนกขัมมะ อันเนกขัมมะอบรมแล้ว ควรแก่การงาน ปรากฏในธรรมที่พึงทำให้แจ้งด้วยอภิญญา— ตัณหาสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ 17

ดูกรภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมอันมีตัณหาเป็นมูล 9 ประการ เธอทั้งหลายจงฟัง ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมอันมีตัณหาเป็นมูล 9 ประการเป็นไฉน การแสวงหาเพราะอาศัยตัณหา 1 การได้เพราะอาศัยการแสวงหา 1 การวินิจฉัยเพราะอาศัยการได้ 1 ฉันทราคะเพราะอาศัยการวินิจฉัย 1 ความหมกมุ่นเพราะอาศัยฉันทราคะ 1 ความหวงแหนเพราะอาศัยความหมกมุ่น 1 ความตระหนี่เพราะอาศัยความหวงแหน 1 การจัดการอารักขาเพราะอาศัยความตระหนี่ 1 ธรรมอันเป็นบาปอกุศลหลายประการ คือ การจับท่อนไม้ จับศาตราการทะเลาะ การแก่งแย่ง การวิวาท กล่าววาจาส่อเสียดว่ามึงๆ และพูดเท็จย่อมเกิดขึ้น 1 ดูกรภิกษุทั้งหลาย ธรรมมีตัณหาเป็นมูล 9 ประการนี้แล ฯ— ตัณหาสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ 23

อ้างอิง

  • พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์".
  • พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต). "พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม".
  • ธรรมโฆษณ์ของพุทธทาส. "อริยสัจจากพระโอษฐ์ ภาคต้น".
  • วิภังคสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ 16
  • ตัณหาสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ 16
  • ตัณหาสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ 17
  • ขันธสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ 19
  • ตัณหาสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ 19
  • คาถาธรรมบท ตัณหาวรรคที่ 24 พระไตรปิฎก เล่มที่ 25

ณหา, เป, นหล, กธรรมข, อหน, งในพ, ทธศาสนา, หมายถ, ความต, ดใจอยาก, ความย, นด, นร, าย, หร, อต, ดในรสอร, อยของโลก, ประกอบด, วย, ความกำหน, ดด, วยอำนาจความพอใจ, เพล, ดเพล, นย, งน, กในอารมณ, นๆ, และ, อมเจร, ญแก, ประพฤต, ประมาท, านไปในอารมณ, างๆ, ครอบงำบ, คคลใด, ความโ. tnha epnhlkthrrmkhxhnunginphuththsasna hmaythung khwamtidicxyak khwamyindi yinray hruxtidinrsxrxykhxngolk prakxbdwy khwamkahnddwyxanackhwamphxic ephlidephlinyingnkinxarmnnn aela tnhayxmecriyaekphupraphvtipramath sanipinxarmntang khrxbngabukhkhlid khwamoskthnghlayyxmecriyaekbukhkhlnn dngnn khwamthukkhyxmekidkhunbxy emuxbukhkhlyngthxnechuxtnhaimidinhlkpticcsmupbath tnhaekidcakewthnaepnpccy odymi xwichchaepnmulrak khwrehntnha epndngekhruxethathiekidkhun aelw cngtdrakesiydwypyya enuxha 1 praephthkhxngtnha 1 1 tnhaaebngxxkepn 3 xyang 1 2 tnha 6 2 thrrmathiekiywkhxng 3 xangxingpraephthkhxngtnha aekikhtnhaaebngxxkepn 3 xyang aekikh kamtnha khux khwamxyakhruximxyak in smphsthng 5 phwtnha khux khwamxyakthangcitic emuxidsingnnmaaelw imtxngkarihmnepliynaeplng wiphwtnha khux khwamimxyakthangcit khwamxyakdbsuykhwrecriyxriymrrkhxnprakxbdwyxngkh 8 ephuxkhwamruying ephuxkahndru ephuxkhwamsinip ephuxlatnha 3 xyangni tnha 6 aekikh tnha 6 hmwd idaek ruptnha khux xyakidrup thimxngehndwyta sththtnha khux xyakidesiyng khnthtnha khux xyakidklin rstnha khux xyakidrs ophtthphphtnha khux xyakidophtthphpha khwamrusukthangkaysmphs thmmtnha khux xyakinthrrmarmn singthiicnukkhid khwamekidkhun khwamtngxyu khwambngekid khwampraktaehngtnhathng6ni epnkhwamekidkhunaehngthukkh khwamdbodyimehlux khwamsngbrangb khwamsuyaehngtnhathng6ni epnkhwamdbodyimehluxaehngthukkh tnhathng 6 ni imethiyng mixnaeprprwnepnxyangxunepnthrrmda phuehnxyuxyangni yxmebuxhnay yxmkhlaykahndthrrmathiekiywkhxng aekikhdukrphiksuthnghlay khwamkahnddwyxanackhwamphxicin ruptnha niepnxupkielsaehngcit khwamkahnddwyxanackhwamphxicinsththtnha l in khnthtnha l inrstnha l inophtthphphtnha l inthrrmtnha l niepnxupkielsaehngcit dukrphiksuthnghlay emuxidael phiksulaxupkielsaehngcitinthana 6 niid emuxnn citkhxngethxyxmepncitnxmipinenkkhmma xnenkkhmmaxbrmaelw khwraekkarngan praktinthrrmthiphungthaihaecngdwyxphiyya tnhasutr phraitrpidk elmthi 17 dukrphiksuthnghlay erackaesdngthrrmxnmitnhaepnmul 9 prakar ethxthnghlaycngfng l dukrphiksuthnghlay thrrmxnmitnhaepnmul 9 prakarepnichn karaeswnghaephraaxasytnha 1 karidephraaxasykaraeswngha 1 karwinicchyephraaxasykarid 1 chnthrakhaephraaxasykarwinicchy 1 khwamhmkmunephraaxasychnthrakha 1 khwamhwngaehnephraaxasykhwamhmkmun 1 khwamtrahniephraaxasykhwamhwngaehn 1 karcdkarxarkkhaephraaxasykhwamtrahni 1 thrrmxnepnbapxkuslhlayprakar khux karcbthxnim cbsatrakarthaelaa karaekngaeyng karwiwath klawwacasxesiydwamung aelaphudethcyxmekidkhun 1 dukrphiksuthnghlay thrrmmitnhaepnmul 9 prakarniael tnhasutr phraitrpidk elmthi 23xangxing aekikhphrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlsphth phrathrrmpidk prayuthth pyut ot phcnanukrmphuththsasn chbbpramwlthrrm thrrmokhsnkhxngphuthththas xriysccakphraoxsth phakhtn wiphngkhsutr phraitrpidk elmthi 16 tnhasutr phraitrpidk elmthi 16 tnhasutr phraitrpidk elmthi 17 khnthsutr phraitrpidk elmthi 19 tnhasutr phraitrpidk elmthi 19 khathathrrmbth tnhawrrkhthi 24 phraitrpidk elmthi 25 wikisxrs mingantnchbbekiywkb ehtuekidtnhasungekidkhunaekphiksuekhathungcak https th wikipedia org w index php title tnha amp oldid 9475449, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม