fbpx
วิกิพีเดีย

ทุนมนุษย์

บทความนี้มีเนื้อหาที่สั้นมาก ต้องการเพิ่มเติมเนื้อหาหรือพิจารณารวมเข้ากับบทความอื่นแทน

"ทุนมนุษย์" (Human Capital) เกิดขึ้นจากแนวทางเศรษฐศาตร์ ที่มิได้มองทุนเป็นแต่เพียงตัวเงินอย่างเดียว แต่จำแนกทุนของออกเป็นหลายลักษณะ เช่น ทุนธรรมชาติ ทุนทางสังคม เป็นต้น ซึ่งทุนมนุษย์ ในปัจจุบันได้รับการยอมรับจากภาครัฐและเอกชนว่า เป็นปัจจัยสำคัญในการผลักดันองค์กรสามารถก้าวไปถึงเป้าหมายที่วางเอาไว้อย่างมีประสิทธิภาพ

"ทุนมนุษย์" เป็นกรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล ที่ไม่สามารถเปลี่ยนถ่ายให้กับบุคคลอื่นได้ "ทุนมนุษย์" จึงกลายเป็นสินทรัพย์ที่มีคุณค่าขององค์กร ด้วยเหตุเพราะ “ทุนมนุษย์” เป็นปัจจัยสำคัญที่ช่วยเสริมสร้างศักยภาพ และประสิทธิภาพ ในการดำเนินงานให้กับองค์กรอย่างมีนัยสำคัญ

"ทุนมนุษย์" เป็นสินทรัพย์เชิงนามธรรมที่ไม่อาจตีค่าเป็นตัวเงินได้ จึงถูกจัดไว้ในประเภทของสินทรัพย์ที่ไม่อาจวัดได้ (Intangible Assets) การจะทำให้ทุนมนุษย์สามารถแสดงศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ เพื่อผลักดันพันธกิจขององค์กรให้ประสบความสำเร็จได้นั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรต้องเลือกสรรเครื่องมือเพื่อบริหารจัดการทุนมนุษย์ให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด และกลายเป็นเครื่องมือที่องค์กรใช้สำหรับผลักดันกระบวนงานตามกรยุทธที่วางแผนไว้

ซึ่งเราอาจพอสรุปได้ว่า "ทุนมนุษย์" เป็นปัจจัยการผลิตที่มีคุณค่าที่สุดในบรรดาปัจจัยการผลิตอื่นๆ เพราะนอกจากทำหน้าที่ผลิตแล้ว ยังต้องรับผิดชอบถึงการผลิตที่จะมีในอนาคตด้วย แต่ก่อนที่มนุษย์จะกลายเป็นปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพได้จะต้องมีการลงทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งทักษะ ประสบการณ์ สิ่งที่มนุษย์สั่งสมมา หล่อหลอมรวมขึ้นมาจนก่อเกิดขึ้นมาเป็นตัวเราเองในวันนี้ เราจะเรียกว่า "ทุนมนุษย์"

Lynda Gratton และ Sumantra Ghoshal ได้ให้ความหมายของ “ทุนมนุษย์” ว่าหมายถึง ส่วนผสมของ 3 สิ่ง คือ

     1.  ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital)  ประกอบด้วย ความรู้และความสามารถในการเรียนรู้ ความเชี่ยวชาญเฉพาะ ทักษะ ประสบการณ์ที่คนสะสมไว้ รวมทั้งความรู้ที่อยู่ในตัวเราที่เรียกว่า Tacit Knowledge

     2.  ทุนทางสังคม (Social Capital) ประกอบด้วยเครือข่ายความสัมพันธ์

     3.  ทุนทางอารมณ์ (Emotional Capital) ประกอบด้วยคุณลักษณะต่างๆเช่น การรับรู้ตนเอง (Self Awareness) ความมีศักดิ์ศรี (Integrity) การมีความยืดหยุ่น (Resilience)

ข้อแตกต่างของทุนมนุษย์กับทุนทางการเงิน เมื่อเราพิจารณาจากนิยามของ "ทุนมนุษย์" จะพบข้อแตกต่างระหว่าง "ทุนมนุษย์" "กับทุนทางการเงิน" ที่สำคัญ มีดังต่อไปนี้

- ทุนมนุษย์เป็นทุนที่องค์กรใช้แล้วไม่มีวันหมด แตกต่างจากทุนทางการเงินที่ใช้แล้วหมดไป

- ทุนมนุษย์เป็นทุนที่ยิ่งเราใช้งานยิ่งเพิ่มประสิทธิภาพยิ่งเพิ่มมูลค่า เช่น การสอนงานผู้อื่น ยิ่งสอนมากยิ่งเกิดความชำนาญและองค์ความรู้ที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่ทุนทางการเงินยิ่งใช้ยิ่งหมดไป

- ทุนมนุษย์ไม่มีค่าเสื่อมแต่กลับพัฒนาเพิ่มขึ้นตามประสบการณ์ แตกต่างกับทุนทางการเงินมีที่มีโอกาสความเสื่อมของมูลค่าจากการปรับเปลี่ยนค่าของเงินที่ลดลงตามสภาวะเงินเฟ้อ

การพัฒนาทุนมนุษย์ เป็นกระบวนการที่ดำเนินการเพื่อให้เกิดการพัฒนาทุนมนุษย์เพื่อให้มีศักยภาพพร้อมสำหรับการปฏิบัติตามภารกิจที่องค์กรมอบหมายให้ปฏิบัติ โดยเครื่องมือที่ใช้สำหรับพัฒนาทุนมนุษย์ที่มีประสิทธิภาพและเป็นที่ยอมรับ นั่นคือ การบริหารทรัพยากรบุคคล (Human Resource Development) ถือเป็นศิลปะในการเลือกสรรคนใหม่และใช้คนเก่า ในลักษณะที่จะให้ได้ผลงาน และการปฏิบัติงานจากบุคคลเหล่านั้นให้มากที่สุด ทั้งปริมาณและคุณภาพ โดยผ่านการกำหนดเป้าหมายของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ (Target of Human Resource Management) ที่เป็นหลักพื้นฐานตามแนวคิด “RDMU” ซึ่งมีเป้าหมายต่างๆ ดังนี้คือ 1. สรรหา (Recruitment and Selection ) 2. พัฒนา (Development) 3. รักษา (Maintenance) และ 4. ใช้ประโยชน์ (Utilization)

  1. ChulaPedia ศูนย์การสื่อสารนานาชาติแห่งจุฬาฯ
  2. (นิสดารก์ เวชยานนท์. 2551. หน้า 5)
  3. เกวลิน มะลิ 2558
  4. Felix A.Nigro : ค.ศ. 1976 ; 6th Edition in 2007

นมน, ษย, บทความน, เน, อหาท, นมาก, องการเพ, มเต, มเน, อหาหร, อพ, จารณารวมเข, าก, บบทความอ, นแทน, human, capital, เก, ดข, นจากแนวทางเศรษฐศาตร, ได, มองท, นเป, นแต, เพ, ยงต, วเง, นอย, างเด, ยว, แต, จำแนกท, นของออกเป, นหลายล, กษณะ, เช, นธรรมชาต, นทางส, งคม, เป, นต,. bthkhwamnimienuxhathisnmak txngkarephimetimenuxhahruxphicarnarwmekhakbbthkhwamxunaethn thunmnusy Human Capital ekidkhuncakaenwthangesrsthsatr thimiidmxngthunepnaetephiyngtwenginxyangediyw aetcaaenkthunkhxngxxkepnhlaylksna echn thunthrrmchati thunthangsngkhm epntn sungthunmnusy inpccubnidrbkaryxmrbcakphakhrthaelaexkchnwa epnpccysakhyinkarphlkdnxngkhkrsamarthkawipthungepahmaythiwangexaiwxyangmiprasiththiphaph thunmnusy epnkrrmsiththiswnbukhkhl thiimsamarthepliynthayihkbbukhkhlxunid thunmnusy cungklayepnsinthrphythimikhunkhakhxngxngkhkr dwyehtuephraa thunmnusy epnpccysakhythichwyesrimsrangskyphaph aelaprasiththiphaph inkardaeninnganihkbxngkhkrxyangminysakhy thunmnusy epnsinthrphyechingnamthrrmthiimxactikhaepntwenginid cungthukcdiwinpraephthkhxngsinthrphythiimxacwdid Intangible Assets 1 karcathaihthunmnusysamarthaesdngskyphaphkhxngtnexngidxyangetmprasiththiphaph ephuxphlkdnphnthkickhxngxngkhkrihprasbkhwamsaercidnn caepnxyangyingthixngkhkrtxngeluxksrrekhruxngmuxephuxbriharcdkarthunmnusyihekidprasiththiphaphmakthisud aelaklayepnekhruxngmuxthixngkhkrichsahrbphlkdnkrabwnngantamkryuthththiwangaephniwsungeraxacphxsrupidwa thunmnusy epnpccykarphlitthimikhunkhathisudinbrrdapccykarphlitxun ephraanxkcakthahnathiphlitaelw yngtxngrbphidchxbthungkarphlitthicamiinxnakhtdwy aetkxnthimnusycaklayepnpccykarphlitthimikhunphaphidcatxngmikarlngthunephuxihidmasungthksa prasbkarn singthimnusysngsmma hlxhlxmrwmkhunmacnkxekidkhunmaepntweraexnginwnni eracaeriykwa thunmnusy Lynda Gratton aela Sumantra Ghoshal idihkhwamhmaykhxng thunmnusy wahmaythung swnphsmkhxng 3 sing 2 khux 1 thunthangpyya Intellectual Capital prakxbdwy khwamruaelakhwamsamarthinkareriynru khwamechiywchayechphaa thksa prasbkarnthikhnsasmiw rwmthngkhwamruthixyuintwerathieriykwa Tacit Knowledge 2 thunthangsngkhm Social Capital prakxbdwyekhruxkhaykhwamsmphnth 3 thunthangxarmn Emotional Capital prakxbdwykhunlksnatangechn karrbrutnexng Self Awareness khwammiskdisri Integrity karmikhwamyudhyun Resilience khxaetktangkhxngthunmnusykbthunthangkarengin 3 emuxeraphicarnacakniyamkhxng thunmnusy caphbkhxaetktangrahwang thunmnusy kbthunthangkarengin thisakhy midngtxipni thunmnusyepnthunthixngkhkrichaelwimmiwnhmd aetktangcakthunthangkarenginthiichaelwhmdip thunmnusyepnthunthiyingeraichnganyingephimprasiththiphaphyingephimmulkha echn karsxnnganphuxun yingsxnmakyingekidkhwamchanayaelaxngkhkhwamruthiephimkhuneruxy inkhnathithunthangkarenginyingichyinghmdip thunmnusyimmikhaesuxmaetklbphthnaephimkhuntamprasbkarn aetktangkbthunthangkarenginmithimioxkaskhwamesuxmkhxngmulkhacakkarprbepliynkhakhxngenginthildlngtamsphawaenginefxkarphthnathunmnusy epnkrabwnkarthidaeninkarephuxihekidkarphthnathunmnusyephuxihmiskyphaphphrxmsahrbkarptibtitampharkicthixngkhkrmxbhmayihptibti odyekhruxngmuxthiichsahrbphthnathunmnusythimiprasiththiphaphaelaepnthiyxmrb nnkhux karbriharthrphyakrbukhkhl Human Resource Development thuxepnsilpainkareluxksrrkhnihmaelaichkhneka inlksnathicaihidphlngan aelakarptibtingancakbukhkhlehlannihmakthisud thngprimanaelakhunphaph 4 odyphankarkahndepahmaykhxngkarbriharthrphyakrmnusy Target of Human Resource Management thiepnhlkphunthantamaenwkhid RDMU sungmiepahmaytang dngnikhux 1 srrha Recruitment and Selection 2 phthna Development 3 rksa Maintenance aela 4 ichpraoychn Utilization ChulaPedia sunykarsuxsarnanachatiaehngcula nisdark ewchyannth 2551 hna 5 ekwlin mali 2558 Felix A Nigro kh s 1976 6th Edition in 2007ekhathungcak https th wikipedia org w index php title thunmnusy amp oldid 8152076, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม