fbpx
วิกิพีเดีย

ปรากฏการณ์ไอโซโทป

ประวัติการค้นพบ

ปรากฏการณ์ไอโซโทป(The Isotope Effect) เป็นปรากฏการณ์ที่ค้นพบโดย อี.แมกซ์เวล (E. Maxwell) และคนอื่น ๆ ในปี 1950 ภายหลังจากการค้นพบไม่นาน กลุ่มนักวิจัยรัทเกอร์(Rutgers group) จากมหาวิทยาลัยรัทเกอร์(Rutgers University) ได้เผยแพร่ข้อมูลผลการทดลองไอโซโทปของปรอท ซึ่งมีความสัมพันธ์ดังสมการ

 


เมื่อ

  คือ ค่ามวลไอโซโทปของปรอท
  คือ อุณหภูมิวิกฤตของไอโซโทปของปรอท


จากความสัมพันธ์ดังกล่าวนำไปสู่ข้อสรุปสำหรับตัวนำยวดยิ่งอื่น

เนื้อหา

ปรากฏการณ์ไอโซโทป(The Isotope Effect) เป็นปรากฏการณ์จากการทดลองหาความสัมพันธ์ระหว่างอุณหภูมิวิกฤติ ( ) กับ มวลไอโซโทป ( ) ค่าต่าง ๆ ของตัวนำยวดยิ่ง พบว่ามีความสัมพันธ์กันดังสมการ

 


เมื่อ   คือ ค่าสัมประสิทธิ์ของไอโซโทป

สำหรับตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมจะตรงตามทฤษฎี BCS คือ อุณหภูมิวิกฤต ( ) แปรผันตามอุณหภูมิของเดอบาย ( ) ที่สะท้อนถึงการสั่นแบบฮาร์มอนิกของโฟนอน แสดงให้เห็นว่าอันตรกิริยาระหว่างอิเล็กตรอนกับแลททิซที่ทำให้เกิดคู่คูเปอร์เป็นกลไกสำคัญของการเกิดสภาพนำยวดยิ่ง และอุณหภูมิของเดอบาย ( ) แปรผันกับมวลไอโซโทปยกกำลังลบเศษหนึ่งส่วนสอง ( )

เมื่อ  หรือ  

จะได้ว่า  

ดังนั้น  

ทำให้ได้ค่าสัมประสิทธิ์ของไอโซโทป  

ตัวอย่างเช่น ในกรณีปรอทอุณหภูมิวิกฤตจะเปลี่ยนจาก 4.185 K ไปเป็น 4.186 K เมื่อมวลอะตอมมีค่าเปลี่ยนจาก 199.5 u เป็น 203.4 u

จาก  

จะได้  

แต่สำหรับตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงจะมีค่า   โดยมีทั้งที่มากกว่าและน้อยกว่าทำให้ไม่สามารถสรุปได้ว่ากลไกการเกิดสภาพนำยวดยิ่งเกิดจากอันตรกิริยาระหว่างอิเล็กตรอนกับแลททิซหรือไม่

ถ้าใช้การประมาณแบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายสำหรับการสั่นของแลตทิซจะสามารถคำนวณค่าสัมประสิทธิ์ไอโซโทปได้จากสมการ

 

สำหรับผลการทดลองปรากฏว่าลำดับของค่ามวลไอโซโทป ( ) และอุณหภูมิวิกฤต ( ) มีผลน้อยมาก เมื่อวาดกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง   และ   หรือความสัมพันธ์ระหว่าง   และ  จะได้ค่าสัมประสิทธิ์ของไอโซโทป ( ) ของตัวนำยวดยิ่งจึงมีค่าสอดคล้องกับสมการ

 


 นอกจากนี้จากกฎของไอโซโทป สามารถเขียนสมการหาค่าสัมประสิทธิ์ของไอโซโทป ( ) ที่สามารถใช้งานได้สะดวกดังสมการ

 


โดย   เป็นไปตามรูปแบบการกระจัด (displacement formula) คือ  
ตารางแสดงตัวอย่างค่าสัมประสิทธิ์ไอโซโทปของธาตุตัวนำยวดยิ่งต่าง ๆ

ธาตุ α ธาตุ α
Zn 0.45±0.05 Ru 0.00±0.05
Cd 0.32±0.07 Os 0.15±0.05
Sn 0.47±0.02 Mo 0.33
Hg 0.50±0.03 Nb3Sn 0.08±0.02
Pb 0.49±0.02 Zr 0.00±0.05

ในระบบอะตอมเดี่ยว โลหะที่ไม่ใช่โลหะทรานซิชัน (non-transition metals) ส่วนใหญ่จะมีค่าสัมประสิทธิ์ไอโซโทปประมาณ 0.5 ตามทฤษฎีบีซีเอส แต่ในระบบอื่น เช่น โลหะทรานซิชัน จะมีค่าสัมประสิทธิ์ไอโซโทปต่ำกว่า 0.5 นอกจากนี้ ในตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงจะมีค่าสัมประสิทธิ์ไอโซโทปทั้งมากกว่าและน้อยกว่า 0.5 ขึ้นอยู่กับการเจือสารในองค์ประกอบ ตัวอย่างค่าสัมประสิทธิ์ไอโซโทปของตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงแสดงดังตารางด้านล่าง

สารประกอบ α
La1.85Sr0.15CuO4 0.07
La1.89Sr0.11CuO4 (16O-18O subst.) 0.75
K3C60 (12C-13C subst.) 0.37 or 1.4

ในระบบหลายอะตอมที่มีองค์ประกอบของธาตุหลายชนิด ความถี่ของเดอบาย (Debye frequency) เป็นฟังก์ชันที่ขึ้นกับมวลไอโซโทปของธาตุต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบ : Ω = Ω(M1,M2,M3,...) จะพบว่า Ω ~ Mrr โดย r=1,2,3,... และ αr≠0.5 โดยเรียกว่าค่าสัมประสิทธิ์ไอโซโทปแบบแบ่งส่วน (partial isotope coefficient) เช่น ค่าสัมประสิทธิ์ไอโซโทปของผลึกแบบคิวบิค (Cubic) ของอะตอม M1 และ M2 จะมีค่าสัมประสิทธิ์ไอโซโทปแบบแบ่งส่วน 2 ค่า คือ α1 และ α2

อ้างอิง

  1. พงษ์แก้ว, อุดมสมุทรหิรัญ. (2559). ตัวนำยวดยิ่งพื้นฐาน (พิมพ์ครั้งที่ 1.. ed.): กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  2. de Launay, J. (1954). The Isotope Effect in Superconductivity. Physical Review, 93(4), 661-665. doi:10.1103/PhysRev.93.661
  3. Kittel,Charlws (1997). Introduction to Solid State Physics 7th edition: Jonh Wiley & Sons
  4. Bill, A., Kresin, V. Z., & Wolf, S. A. (1998). The Isotope Effect in Superconductors. In Vladimir Z. Kresin (Ed.), Pair Correlations in Many-Fermion Systems (pp. 25-55). Boston, MA: Springer US.

ปรากฏการณ, ไอโซโทป, ประว, การค, นพบ, แก, ไข, isotope, effect, เป, นปรากฏการณ, นพบโดย, แมกซ, เวล, maxwell, และคนอ, ในป, 1950, ภายหล, งจากการค, นพบไม, นาน, กล, มน, กว, ยร, ทเกอร, rutgers, group, จากมหาว, ทยาล, ยร, ทเกอร, rutgers, university, ได, เผยแพร, อม, ลผลก. prawtikarkhnphb aekikhpraktkarnixosothp The Isotope Effect epnpraktkarnthikhnphbody xi aemksewl E Maxwell aelakhnxun inpi 1950 phayhlngcakkarkhnphbimnan klumnkwicyrthekxr Rutgers group cakmhawithyalyrthekxr Rutgers University idephyaephrkhxmulphlkarthdlxngixosothpkhxngprxth sungmikhwamsmphnthdngsmkar M 1 2 T c c o n s t a n t displaystyle M frac 1 2 T c constant dd emux M displaystyle M khux khamwlixosothpkhxngprxth T c displaystyle T c khux xunhphumiwikvtkhxngixosothpkhxngprxthcakkhwamsmphnthdngklawnaipsukhxsrupsahrbtwnaywdyingxunenuxha aekikhpraktkarnixosothp The Isotope Effect epnpraktkarncakkarthdlxnghakhwamsmphnthrahwangxunhphumiwikvti T c displaystyle T c kb mwlixosothp M displaystyle M khatang khxngtwnaywdying phbwamikhwamsmphnthkndngsmkar M a T c c o n s t a n t displaystyle M alpha T c constant dd emux a displaystyle alpha khux khasmprasiththikhxngixosothpsahrbtwnaywdyingaebbdngedimcatrngtamthvsdi BCS khux xunhphumiwikvt T c displaystyle T c aeprphntamxunhphumikhxngedxbay 8 D displaystyle theta D thisathxnthungkarsnaebbharmxnikkhxngofnxn aesdngihehnwaxntrkiriyarahwangxielktrxnkbaelththisthithaihekidkhukhuepxrepnkliksakhykhxngkarekidsphaphnaywdying aelaxunhphumikhxngedxbay 8 D displaystyle theta D aeprphnkbmwlixosothpykkalnglbesshnungswnsxng M 1 2 displaystyle M tfrac 1 2 emux T c 8 D M 1 2 displaystyle T c propto theta D propto M tfrac 1 2 hrux T c M 1 2 displaystyle T c propto M tfrac 1 2 caidwa T c M 1 2 c o n s t a n t displaystyle frac T c M tfrac 1 2 constant dngnn M 1 2 T c c o n s t a n t displaystyle M frac 1 2 T c constant thaihidkhasmprasiththikhxngixosothp a 1 2 displaystyle alpha frac 1 2 twxyangechn inkrniprxthxunhphumiwikvtcaepliyncak 4 185 K ipepn 4 186 K emuxmwlxatxmmikhaepliyncak 199 5 u epn 203 4 ucak M 1 2 T c c o n s t a n t displaystyle M frac 1 2 T c constant caid 199 5 1 2 4 185 203 4 1 2 4 186 59 displaystyle 199 5 frac 1 2 4 185 approx 203 4 frac 1 2 4 186 approx 59 aetsahrbtwnaywdyingxunhphumisungcamikha a 1 2 displaystyle alpha neq frac 1 2 odymithngthimakkwaaelanxykwathaihimsamarthsrupidwaklikkarekidsphaphnaywdyingekidcakxntrkiriyarahwangxielktrxnkbaelththishruximthaichkarpramanaebbharmxnikxyangngaysahrbkarsnkhxngaeltthiscasamarthkhanwnkhasmprasiththiixosothpidcaksmkar 1 a 1 2 w D T c d T c d w D displaystyle alpha frac 1 2 frac omega D T c frac dT c d omega D dd sahrbphlkarthdlxngpraktwaladbkhxngkhamwlixosothp M displaystyle M aelaxunhphumiwikvt T c displaystyle T c miphlnxymak 2 emuxwadkrafkhwamsmphnthrahwang T c displaystyle T c aela M displaystyle M hruxkhwamsmphnthrahwang log T c displaystyle log T c aela log M displaystyle log M caidkhasmprasiththikhxngixosothp a displaystyle alpha khxngtwnaywdyingcungmikhasxdkhlxngkbsmkar a M d T c T c d M d log T c d log M displaystyle alpha frac MdT c T c dM frac d log T c d log M dd nxkcaknicakkdkhxngixosothp samarthekhiynsmkarhakhasmprasiththikhxngixosothp a displaystyle alpha thisamarthichnganidsadwkdngsmkar a 1 2 M d L L d M displaystyle alpha frac 1 2 frac Md Lambda Lambda dM dd ody L displaystyle Lambda epniptamrupaebbkarkracd displacement formula khux e x 1 x L displaystyle e x 1 frac x Lambda tarangaesdngtwxyangkhasmprasiththiixosothpkhxngthatutwnaywdyingtang 3 thatu a thatu aZn 0 45 0 05 Ru 0 00 0 05Cd 0 32 0 07 Os 0 15 0 05Sn 0 47 0 02 Mo 0 33Hg 0 50 0 03 Nb3Sn 0 08 0 02Pb 0 49 0 02 Zr 0 00 0 05inrabbxatxmediyw olhathiimicholhathransichn non transition metals swnihycamikhasmprasiththiixosothppraman 0 5 tamthvsdibisiexs aetinrabbxun echn olhathransichn camikhasmprasiththiixosothptakwa 0 5 nxkcakni intwnaywdyingxunhphumisungcamikhasmprasiththiixosothpthngmakkwaaelanxykwa 0 5 khunxyukbkarecuxsarinxngkhprakxb twxyangkhasmprasiththiixosothpkhxngtwnaywdyingxunhphumisungaesdngdngtarangdanlang 4 sarprakxb aLa1 85Sr0 15CuO4 0 07La1 89Sr0 11CuO4 16O 18O subst 0 75K3C60 12C 13C subst 0 37 or 1 4inrabbhlayxatxmthimixngkhprakxbkhxngthatuhlaychnid khwamthikhxngedxbay Debye frequency epnfngkchnthikhunkbmwlixosothpkhxngthatutang thiepnxngkhprakxb W W M1 M2 M3 caphbwa W Mr ar ody r 1 2 3 aela ar 0 5 odyeriykwakhasmprasiththiixosothpaebbaebngswn partial isotope coefficient echn khasmprasiththiixosothpkhxngphlukaebbkhiwbikh Cubic khxngxatxm M1 aela M2 camikhasmprasiththiixosothpaebbaebngswn 2 kha khux a1 aela a2 4 xangxing aekikh phngsaekw xudmsmuthrhiry 2559 twnaywdyingphunthan phimphkhrngthi 1 ed krungethph sankphimphaehngculalngkrnmhawithyaly de Launay J 1954 The Isotope Effect in Superconductivity Physical Review 93 4 661 665 doi 10 1103 PhysRev 93 661 Kittel Charlws 1997 Introduction to Solid State Physics 7th edition Jonh Wiley amp Sons 4 0 4 1 Bill A Kresin V Z amp Wolf S A 1998 The Isotope Effect in Superconductors In Vladimir Z Kresin Ed Pair Correlations in Many Fermion Systems pp 25 55 Boston MA Springer US ekhathungcak https th wikipedia org w index php title praktkarnixosothp amp oldid 8634432, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม