fbpx
วิกิพีเดีย

พระพิมพ์

ประวัติพระพิมพ์ ตำนานพระพิมพ์
ประวัติพระพิมพ์ ตำนานพระพิมพ์

        เมื่อครั้งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า  (พระพุทธเจ้า)  ผู้ทรงเป็นพระบรมศาสนาแห่งศาสนาพุทธ  ได้เสด็จดับขันธ์เข้าสู่ปรินิพพานแล้ว  ณ  ตำบลสาลวัน  แขวงเมืองกุสินารา  ประเทศอินเดีย  บรรดาพุทธบริษัททั้งหลายในสมัยนั้น  ก็พากันโศกเศร้าอาลัยในพระองค์  เหล่ามัลลกษัตริย์ซึ่งครองเมืองกุสินาราก็ช่วยกันจัดงานถวายพระเพลิงแล้ว  เหล่า            มัลลกษัตริ์ก็ร่วมกันคิดสร้างพระสถูปสำหรับบรรจุพระบรมธาตุไปไว้ ณ เมืองกุสินารา  แต่เหล่ากษัตริย์ต่างเมือง  ต่างก็ต้องการจะเชิญพระบรมธาตุไปไว้ให้พลเมืองของตนเคารพบูชา  แต่เหล่ามัลลกษัตริย์เมืองกุสินาราไม่ยอมให้

        จนเกือบจะเกิดการสู้รบกันเพื่อแย่งพระบรมธาตุ  กระทั่งโทณพราหมณ์ได้เข้ามาไกล่เกลี่ยให้ปรองดองกัน  เหล่ามัลลกษัตริย์จึงยินยอมแบ่งพระบรมธาตุให้แก่กษัตริย์เมืองต่าง ๆ  เหล่ากษัตริย์เมืองกุสินาราจึงพากันสร้างพระสถูปเพื่อประดิษฐานพระบรมธาตุขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าในบ้านเมืองของตน  เพื่อเป็นที่สำหรับประชาชนผู้เคารพเลื่อมใสศรัทธาได้สักการบูชา  จึงเกิดมีพระธาตุเจดีย์ขึ้นเป็นครั้งแรก  (คำว่า  เจดีย์  หมายถึง  สิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งการเคารพบูชา)  และถือเป็นสิ่งแทนองค์พระพุทธเจ้า 

        ตามพุทธประวัติได้กล่าวถึงตอนเมื่อพระพุทธองค์  (พระพุทธเจ้า)  ทรงประชวรใกล้จะเสด็จเข้าสู่ปรินิพพาน    พระอานนท์เถรเจ้าผู้เข้าเฝ้าถวายการพยาบาลได้ทูลปรารภว่า  “แต่ก่อนมาเหล่าภิกษุพุทธสาวกได้เคยเฝ้าแหนพระองค์เป็นนิจ  เมื่อพระองค์เสด็จเข้าสู่พระนิพพานแล้วต่างมิได้เฝ้าแหนพระองค์ต่อไปก็จะพากันว้าเหว่”  สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าจึงทรงอนุญาตให้สร้างสังเวชนียสถานไว้  4  แห่ง  สำหรับเหล่าพุทธสาวก  เมื่อใดใคร่จะเห็นพระองค์ให้ไปปลงธรรมสังเวช  ณ  ที่แห่งใดแห่งหนึ่ง  คือ 

        1.  ที่พระองค์ประสูติ  ณ  ป่าลุมพินี  แขวงเมืองกบิลพัสดุ์

        2.  ที่พระองค์ตรัสรู้พระโพธิญาณ  แขวงเมืองคยา

        3.  ที่พระองค์ประทานปฐมเทศนา  ณ  ตำบลอิสิปตนมฤคทายวัน  แขวงเมืองพาราณสี

        4.  ที่พระองค์เสด็จเข้าสู่พระนิพพาน  ณ  ตำบลสาลวัน  แขวงเมืองกุสินารา นอกจากนี้ในภายหลังได้เกิดเป็นที่สังเวชนียสถานเพิ่มขึ้นอีก  2  แห่ง  คือ

        5.  พระสถูปบรรจุพระอังคาร  ณ  แขวงเมืองปิบผลิวัน

        6.  พระสถูปบรรจุทะนานโลหะตวงพระบรมธาตุ  ณ  แขวงเมืองกุสินารา 

        ทั้ง  6  แห่งนี้  เป็นสังเวชนียสถานที่เกี่ยวเนื่องกับองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า  จึงนับเป็น  บริโภคเจดีย์  ซึ่งหมายถึง  สิ่งที่เกี่ยวเนื่องด้วยพระองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า  ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งการเคารพบูชา  ต่อมาได้เกิดมีสถานที่เกี่ยวข้องกับพระองค์และตามพุทธประวัติอีกหลายแห่ง  ที่พากันนับเป็นสถานที่ระลึกถึงองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า  แต่งสถานที่ที่พุทธบริษัทนิยมไปนมัสการเคารพสักการบูชาพระองค์  ยังคงเป็นเพียงสังเวชนียสถานทั้ง  4  แห่ง  ดังกล่าวข้างต้น 

        ในครั้งแรกพุทธบริษัทที่สร้างพระสถูปหรือเจดีย์ต่าง ๆ มิได้ปั้นองค์พระเป็นพระพุทธรูปไว้เป็นลวดลายในพุทธประวัติหรือสร้างไว้เป็นเอกเทศต่างหาก  กระทั่งเป็นเวลาล่วงเลยพุทธกาลมาแล้วหลายปี  จนไม่มีใครจดจำพุทธลักษณะแห่งองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ประการหนึ่ง  และหากจะปั้นโดยคาดเดาก็เกรงจะผิดเพี้ยนเป็นที่ลบหลู่พระบารมีแห่งพระองค์ท่านอีกประการหนึ่ง  จึงนิยมสร้างสิ่งสมมุติแทนพระองค์  ซึ่งสังเกตเห็นได้จากลายการปั้นแกะสลักในโบราณวัตถุก่อนสมัยที่จะมีพระพุทธรูป  ช่างปั้นแกะสลักในสมัยนั้นมักจะใช้ภาพดอกบัวแทนตอนประสูติ  ใช้พระแท่นอาสนะภายใต้โพธิพฤกษ์แทนตอนตรัสรู้  ใช้พระธรรมจักร  และภาพกวางแทนตอนทรงแสดงปฐมเทศนา  ณ  ตำบลอิสิปตนมฤคทายวัน  ใช้พระสถูปแทนตอนเสด็จเข้าสู่ปรินิพพาน  ณ  ตำบลสาลวัน  แขวงเมืองกุสินารา  เป็นต้น 

        การที่ไดนำเรื่องพระเจดีย์ต่าง ๆ มากล่าวในตอนต้น  ก็เพื่อให้ทราบว่าก่อนที่จะมีพระพุทธรูปบูชาและพระพิมพ์ได้มีสิ่งที่เป็นที่ตั้งแห่งความเคารพสักการะถึงองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าอะไรบ้าง  และองค์พระพุทธรูปบูชาก็ดี  พระพิมพ์ก็ดี  นับเนื่องเป็นอุเทสิกะเจดีย์  อีกสถานหนึ่งด้วย 

        เมื่อพุทธกาลได้ผ่านไปแล้วประมาณ  200  ปี  พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช  ได้มีอานุภาพทางสงครามขึ้นในทวีปยุโรป  ได้ยกพลพวกฝรั่งชาวกรีก  (หรือที่ชาวตะวันออกเรียกว่าชนชาวโยนก)  เป็นทัพใหญ่เที่ยวปราบปรามประเทศต่าง ๆ ขยายราชาอาณาเขตมาทางทิศตะวันออกจนถึงแผ่นดินของประเทศอินเดีย  แต่ยังมิได้แผ่อำนาจได้หมดประเทศ     พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชก็ถึงแก่ทิวงคต  (สวรรคต , ตาย)  ในอินเดีย  ราชอาณาเขตที่พระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชรวบรวมไว้ก็แตกเป็นหลายพวก  ชาวกรีกที่เป็นแม่ทัพของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์ต่างตั้งตัวเป็นเจ้าแผ่นดิน  ครองบ้านเมืองหลายอาณาเขตด้วยกัน  และได้ชักชวนชาวกรีกจากภูมิลำเนาเดิมให้มาตั้งตนทำมาหากินในท้องถิ่นที่ตนสร้างขึ้นใหม่  เป็นเหตุให้ชาวกรีกมาอยู่ในแผ่นดินว่า  อาณาเขตคันธารราฐ  เป็นจำนวนมาก  ในประเทศคันธารราฐนั้นชาวเมืองส่วนมากนับถือพระพุทธศาสนาสืบมาแต่ครั้งพระเจ้าอโศกมหาราช  เมื่อชาวกรีกเข้ามาอยู่ในเมืองคันธารราฐได้สนิทสนมและมีการสมรสกับชาวพื้นเมือง  จึงพลอยมาเลื่อมใสศรัทธานับถือพระพุทธศาสนาด้วย  มาจนถึงประมาณ  พ.ศ.363  มีพระเจ้าแผ่นดินพระองค์หนึ่ง  ทรงพระนามว่า  พระเจ้ามิลินท์  (เป็นองค์เดียวกับที่เรียนกว่า  พระยามิลินท์  ที่สนทนาโต้ตอบกับพระนาคเสน ในเรื่องมิลินท  ปัญหา)  พระองค์ทรงมีอานุภาพมากได้ทำสงครามแผ่อาณาเขตจนถึงมคธราฐและทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา  ทั้งได้ทำนุบำรุงพระศาสนาให้รุ่งเรืองในประเทศคันธารราฐจนเกิดมีการสร้างพุทธปฏิมากรรมขึ้นเป็นครั้งแรกในแบบที่ต่างไปจากเดิม 

        จากที่ได้กล่าวมา  หลังจากพุทธกาลล่วงแล้ว  ช่างก่อสร้างของพุทธบริษัทไม่นิยมปั้นพระพุทธรูปประดับตามพระสถูป  แต่พวกชาวกรีกซึ่งไม่เคยถือข้อห้ามในการทำรูปเคารพ  และตามศาสนาเดิมของชาวกรีกเองก็นิยมปั้นรูปเทพเจ้าที่ตนนับถือไว้สักการบูชา  ดังนั้นเมื่อชาวกรีกที่หันมานับถือศาสนาพุทธก็ไม่ชอบแบบพื้นเมืองเดิมที่ทำรูปสิ่งอื่นสมมุติแทนพระพุทธรูป  จึงคิดสร้างพระพุทธรูปขึ้นเป็นเครื่องประดับเจดีย์และสถานที่ต่าง ๆ   เป็นเหตุให้พระพุทธรูปเกิดมีขึ้นในแคว้นคันธารราฐเป็นครั้งแรกในโลก 

        พระพุทธรูปที่ช่างชาวกรีกคิดสร้างขึ้นเป็นครั้งแรกนั้น  นับเป็นจินตนาการอันล้ำเลิศของช่างในการสร้างสรรค์ให้มีพุทธลักษณะที่ทำให้ผู้พบเห็นสามารถเข้าใจได้ทันทีว่านั่นคือ  พระพุทธรูปแทนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า  ทั้งมีพุทธลักษณะงดงามประทับใจแก่ผู้เลื่อมในใสพระพุทธศาสนา  โดยมีเค้าพระพักตร์งามคล้ายเพทเจ้าของชาวกรีก  บนพระเศียรมีพระเกตุมุ่นเมาลีประดับ  ผิดกับพระสาวกทำให้ผู้พบเห็นเข้าใจได้ว่าองค์ใดเป็นพระพุทธรูป  อันถือเป็นแบบอย่างมาจนทุกวันนี้  นอกจากนี้พระรัศมีก็ทำเป็นประภามณฑลรูปวงกลม  อยู่หลังพระเศียรตามแบบรัศมีของเทพเจ้าชาวกรีก  จีวรก็ทำเป็นริ้วรอยผ้ามีทั้งห่มคลุม  (การห่มผ้าโดยคลุมไหล่ทั้ง  2  ข้าง)  และห่มดอง  (การห่มผ้าโดยเฉวียงบ่า)  พระอิริยาบถของพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ก็จินตนาการตามพุทธประวัติ  ตั้งแต่ปางประสูติจนถึงปางเสด็จเข้าสู่พระนิพพาน  โดยครั้งแรกคิดสร้างเป็นลวดลายพุทธประวัติประดับเจดีย์ก่อน   ต่อมาได้คิดสร้างพระพุทธรูปเป็นพระประธานไว้เป็นที่สักการบูชา  จึงนับว่าองค์พระพุทธรูปเป็นอุเทสิกะเจดีย์อีกสถานหนึ่งด้วย 

        การที่ช่างชาวกรีกได้สร้างพระพุทธรูปขึ้นเป็นลวดลายประกอบกับพุทธประวัติประดับเจดีย์ก็ดี  หรือสร้างพระพุทธรูปเป็นพระประธานไว้เป็นที่สักการบูชาก็ดี  ช่างชาวอินเดียและชาวพื้นเมืองอินเดียในชั้นแรกคงจะไม่เห็นด้วย  เพราะชินต่อการสักการบูชาสิ่งที่ได้คิดสมมุติแทนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าดังได้กล่าวมาแล้วในตอนต้น  ฉะนั้นในตอนหลังจึงเกิดมีตำนานพระแก่นจันทน์ขึ้น  ตามตำนานพระแก่นจันทน์ได้กล่าวไว้ว่า  “เมื่อพระพุทธเจ้า  เสด็จไปประทานเทศนาโปรดพระพุทธมารดาและทรงค้างอยู่ในดาวดึงส์สวรรค์พรรษาหนึ่งนั้น  พระเจ้าประเสนชิตแห่งกรุงโกศลราชเมื่อมิได้เห็นพุทธองค์มาช้านานเกิดความรำลึกถึงจึงตรัสสั่งให้นายช่างทำพระพุทธรูปขึ้นด้วยแก่นจันทน์แดง  ประดิษฐานไว้เหนืออาสนะที่พระพุทธเจ้าเคยประทับ  ครั้นพระองค์เสด็จกลับจากดาวดึงส์มาถึงที่ประทับ  ด้วยพระบรมพุทธานุภาพบันดาลให้พระพุทธรูปแก่นจันทน์เลื่อนหลีกไปจากพระพุทธอาสน์  แต่พระตถาคตเจ้าตรัสสั่งให้รักษาพระพุทธรูปนั้นไว้

        เพื่อสาธุชนจะได้ใช้เป็นแบบอย่างสร้างพระพุทธรูปเมื่อพระองค์ล่วงลับไปแล้ว”  ความที่กล่าวในตำนานประสงค์จะอ้างว่า  พระพุทธรูปแก่นจันทน์องค์นั้นเป็นต้นแบบของพระพุทธรูปซึ่งสร้างกันออกมาภายหลัง  หรืออีกนัยหนึ่ง  คืออ้างว่าพระพุทธรูปนั้นมีขึ้นโดยมีพระบรมพุทธานุภาพและเหมือนพระพุทธองค์  เพราะองค์พระแก่นจันทน์เป็นแบบอย่างสร้างขึ้นแต่ในครั้งพุทธกาล  ทำให้เกิดข้อคิดสันนิษฐานขึ้นว่าช่างและชาวพื้นเมืองอินเดียที่ยึดถือสิ่งสร้างสมมุติแทนองค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นที่สักการะอย่างแน่นแฟ้น  ไม่ยอมรับแบบอย่างที่ช่างชาวกรีกสร้างพระพุทธรูปบูชาขึ้น  จึงทำให้นักปราชญ์ในสมัยนั้นได้คิดตำนานแก่นจันทน์ขึ้น

        โดยอ้างว่าได้มีพระพุทธานุญาตให้ใช้พระแก่นจันทน์เป็นแบบอย่างสร้างพระพุทธรูปบูชามาแต่ครั้งพุทธกาล  จนทำให้ช่างและชาวพื้นเมืองอินเดีย  เกิดความเชื่อถือยอมโอนอ่อนผ่อนตามคติช่างชาวกรีก  เป็นสาเหตุให้ช่างชาวอินเดียหรือจะเรียกว่าช่างชาวพื้นเมือง  ได้คิดออกแบบสร้างพระพุทธรูปบูชาแตกต่างไปจากช่างชาวกรีก  ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นการกำเนิดศิลปะแบบมถุราตั้งแต่พุทธศตวรรษที่  7 – 8  เป็นต้นมา   และได้สืบสกุลศิลปสร้างศิลปะสร้างพระพุทธรูปพระพิมพ์ยุคต่าง ๆ มาจนทุกวันนี้ 

        การกล่าวถึงสาเหตุของการสร้างพระพุทธรูปนั้น  เพื่อเป็นฐานข้อมูลนำไปสู่ที่มาของการสร้างพระพิมพ์ที่มีกำเนิดภายหลัง  หากแต่มีความสัมพันธ์กับการสร้างพระพุทธรูป  ซึ่งจะกล่าวในบทเรียนขั้นต่อไป  ส่วนต้นกำเนิดพระพิมพ์ได้เกิดขึ้นดังมูลเหตุต่อไปนี้ 

        ในที่สังเวชนียสถานที่พระพุทธองค์ได้ทรงอนุญาตไว้จำนวน  4  แห่ง  รวมกับที่ซึ่งนิยมกันว่าพระพุทธองค์ได้ทรงทำปาฏิหาริย์อีกจำนวน  4  แห่ง  ซึ่งบ่อเกิดแห่งพระเจดียสถานทั้ง  8  แห่งนี้  มีสัตบุรุษพากันไปบูชาปีละจำนวนมาก  พวกสัตบุรุษด้งกล่าวปรารถนาจะได้สิ่งหนึ่งมาเป็นของสำคัญเก็บรักษาไว้เป็นที่ระลึกถึงว่าตนได้ศรัทธาอุตสาหะไปถึงที่แห่งนั้น  เมื่อมีประเพณีสร้างพระพุทธรูปเกิดขึ้น

        คนที่อยู่ในบริเวณสถานที่ตั้งของพระเจดีย์คิดทำพระพุทธรูปปางต่าง ๆ ตาม พระอิริยาบถ ตามด้วยพระบริโภคเจดีย์เหล่านั้น  ทั้งแกะแม่พิมพ์ขึ้นจำนวนมากมาย  สำหรับจำหน่ายแก่สัตบุรุษ  ให้ซื้อหากันได้ทั่วหน้าในราคาถูกจึงเกิดมีพระพิมพ์ขึ้นด้วยเหตุประการนี้  ซึ่งพระพิมพ์ที่ทำจำหน่าย  ณ  สถานที่ตั้งเจดีย์ทั้ง  8  แห่งนั้น  เป็นพระพุทธรูป  8  ปางต่างกัน  คือ

        1.    ปางประสูติ  ทำเป็นรูปพระราชกุมารโพธิสัตว์ยืน  มีรูปพระพุทธมารดา  และรูปเทวดาเป็นเครื่องประกอบ

        2.    ปางตรัสรู้  ทำเป็นพระมารวิชัย  (พระอิริยาบถนั่งขัดสมาธิ  พระหัตถ์  (มือ)  ซ้ายหงายวางบนพระเพลาพระหัตถ์ขวาวางคว่ำลงที่พระชานุ  (เข่า)  นิ้วพระหัตถ์ชี้ลงที่พื้นธรณี  (พื้นดิน)  ในคราวที่พระองค์ทรงเอาชนะมารได้)

        3.    ปางปฐมเทศนา  ทำเป็นพระพุทธรูปนั่งขัดสมาธิก็มีนั่งห้อยพระบาทก็มี (เช่นนั่งเก้าอี้มีพระหัตถ์เบื้องขวาทำนิ้วกรีดเป็นวงกลมเป็นเครื่องหมายถึงพระธรรมจักร)

        4.    ปางเสด็จจากดาวดึงส์  มักทำเป็นพระลีลา  แต่ทำเป็นพระยืนก็มี  มีรูปพระพรหมกับพระอินทร์อยู่สองข้างเป็นเครื่องประกอบ

        5.    ปางมหาปาฏิหาริย์  ทำเป็นพระพุทธรูปมีดอกบัวรองหลายองค์ด้วยกัน  มักมีรูปเทวดาและรูปมนุษย์เดียรถีย์ เป็นเครื่องประกอบ

        6.    ปางทรมานช้างนาฬาคีรี  ทำเป็นพระพุทธรูปลีลา  มีรูปพระอานนท์และรูปช้าง  บางทีมีแต่รูปช้าง เป็นเครื่องประกอบ

        7.    ปางทรมานพระยาวานร  ทำเป็นพระพุทธรูปนั่งอุ้มบาตร  มีรูปวานรเป็นเครื่องประกอบ

        8.    ปางมหาปรินิพพาน  ทำเป็นพระพุทธรูปบรรทม  มักมีรูปพระสถูป  รูปพระสาวกและรูปเทวดาเป็น เครื่องประกอบ 

        พระพุทธรูป  8  ปางนี้ถือว่าเป็นพระชุดนิยมสร้างรวมกันในงานศิลปะชิ้นเดียวมีให้เห็นครบปรากฏทั้ง 8 ปาง สันนิษฐานว่าเกิดจากสัตบุรุษผู้ที่ได้พยายามไปบูชาพระบริโภคเจดีย์ครบทั้ง  8  แห่ง  แล้วสร้างขึ้นเพื่อฉลองความศรัทธาอุตสาหะแน่นอน 

       การสร้างพระพิมพ์เมื่อแพร่หลายไปถึงประเทศอื่น  คนในประเทศนั้น ๆ เห็นเป็นของที่สร้างกันง่ายจึงนิยมทำตาม  โดยประสงค์แจกจ่ายให้คนทั้งหลายได้พระพุทธรูปไปบูชาง่ายขึ้น  แต่การสร้างพระพิมพ์เพื่อให้คนนำไปบูชา  ได้กลายเป็นสิ่งสำคัญในการสืบอายุพระศาสนาให้ถาวร  ต่อมาภายหลังโดยเฉพาะในประเทศไทยถือตามคติของประเทศลังกาว่า  พระพุทธศาสนาจะยั่งยืนอยู่ได้เพียง  5,000  ปี  ดังนั้นจึงชอบสร้างพระพิมพ์สลักคาถา  เย  ธมฺมาฯ  ไว้เบื้องหลังแล้วบรรจุไว้ในพระสถูป  ผู้ที่ค้นพบพระพิมพ์ที่สร้างไว้จะหันมานับถือพระพุทธศาสนาใหม่ 

        ตามที่ได้กล่าวถึงกำเนิดพระพิมพ์มาตั้งแต่ต้น  ทำให้เกิดข้อสันนิษฐานขึ้นว่าคติการสร้างพระพุทธรูปที่ช่างชาวกรีกคิดสร้างองค์พระแทนสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น  คงจะสร้างพระพุทธรูปด้วยศิลาหรือปูนปั้น  ประดับพระสถูปในระยะแรก  เพราะจากหลักฐานพบว่าการสร้างพระสถูปลวดลายประดับนั้นสร้างจากเรื่องบางตอนของพุทธประวัติตามคติดั้งเดิม  ซึ่งเดิมจะสร้างรูปเป็นเครื่องหมายแทน  เช่น  ใช้รูปธรรมจักรและกวางแทนปางปฐมเทศนา  หรือใช้รูปพระสถูปแทนปางเสด็จเข้าสู่ปรินพพานเป็นต้น  ดังนั้นในสมัยต่อมาที่ช่างชาวกรีกคิดสร้างพระพุทธรูปเมื่อครั้งที่สร้างพระสถูปในสมัยที่ตนทำ

        จึงสร้างพระพุทธรูปแบบลอยทั้งองค์พระ  ที่มุ่งสร้างเพื่อเป็นพระประธานประดิษฐานในองค์พระสถูปหรือวิหารคงจะเป็นการสร้างหลังจากคิดบรรจุพระพุทธรูปลงในลวดลายประดับพระสถูปมาแต่เดิม  ส่วนพระพิมพ์นั้นคงจะเกิดขึ้นภายหลังจากการสร้างพระพุทธรูปในลวดลายประดับพระสถูปและสร้างพระพุทธรูปเป็นองค์พระประธาน  อย่างไรก็ตามการสร้างพระพุทธรูปในรูปแบบของพระประธานและพระพิมพ์คงจะมีระยะไม่ห่างไกลกันนัก  เพราะพุทธศิลปะอยู่ในสมัยเดียวกัน  คือสมัยคันธารราฐในพุทธศตวรรษที่ 7 – 10 

        จากการค้นคว้าหาหลักฐานมาประกอบข้อสันนิษฐานในเรื่องนี้พบว่าจากบันทึกใน  “ตำนานพระพิมพ์  ของศาสตราจารย์  ยอร์ช  เซเดซ์”  เกี่ยวกับการสร้างพระพิมพ์  ได้กล่าวไว้ว่า

   “ภายหลังพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานไม่นานนัก  ประเพณีการสร้างพระพุทธรูปโดยวิธีการกดด้วยแม่พิมพ์แล้วประทับด้วยตราสัญลักษณ์ต่าง ๆ พบแต่ในพุทธศาสนาเท่านั้น  ทั้งที่พบในมณฑลทางตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย  มณฑลยูนานในประเทศจีน  หรือตามถ้ำต่าง ๆ ในแหลมมาลายู  ทั้งบนฝั่งทะเลญวน  ล้วนเป็นแบบอย่างของพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น  ไม่ปรากฏเป็นฝ่ายศาสนาอื่นใด” 

และจากการวินิจฉัยของศาสตราจารย์ฟูเช  พบว่า  พระพิมพ์ต่าง ๆ นั้น  มีมูลเหตุมาจากสังเวชนียสถานที่สำคัญของพระพุทธเจ้า  4  แห่ง  คือ  

        1.  สถานที่ประสูติ  ณ  สวนลุมพินีวัน  ตำบลลุมมินเดย  แขวงเมืองกบิลพัสดุ์

        2.  สถานที่ตรัสรู้  ณ  แขวงเมืองพุทธคยา

        3.  สถานที่แสดงปฐมเทศนา  ณ  ป่าอิสิปตนะมฤคทายวัน  แขวงเมืองพาราณสี

        4.  สถานที่ปรินิพพาน  ณ  ตำบลสาลวัน  แขวงเมืองกุสินารา 

        ซึ่งสอดคล้องกับการสร้างพระพุทธรูปที่กล่าวมาข้างต้น  และสาสตราจารย์ฟูเช  ยังกล่าวไว้ว่า  ไม่สู้จะเป็นการยากอะไรที่จะคิดว่า  ตามธรรมดาของพวกสัตบุรุษที่จะต้องนำอะไรมาเป็นที่ระลึกจากสังเวชนียสถานอันสำคัญทั้ง  4 ตำบลเหล่านั้น  อะไรเล่าจะเป็นสิ่งแรกในสิ่งที่เคารพนับถือกันที่ได้ทำขึ้นโดยพิมพ์บนผืนผ้า  หรือทำด้วยดิน  ด้วยไม้  ด้วยงา  หรือด้วยแร่ตามที่มีในเมืองกบิลพัสดุ์  เมืองพุทธคยา  และเมืองกุสินารา  ปรากฏอยู่อย่างชัดเจนแล้วว่า  ในเมืองทั้งสี่นี้เมืองไหนมีปูชนียสถานอันเป็นที่รูจักแพร่หลายชนิดใดและทั้งได้มีหนังสืออีกหลายเรื่องที่อธิบายถึงปูชนียสถานอันสำคัญ ๆ เหล่านี้ไว้ว่าได้แก่อะไรบ้างสิ่งที่จะได้เห็นก่อนสิ่งอื่นในเมืองกุสินารา  ก็คือสถานที่ที่พระพุทธเจ้า  เสด็จดับขันธ์ปรินิพพานได้ทำเครื่องหมายโดยสร้างพระสถูป  ขึ้นไว้ตรงนั้นตังแต่เดิมมา  เช่นเดียวกับเมืองพาราณสี  ทำรูปเสมาธรรมจักรขึ้นไว้  หมายถึงปาฏิหาริย์อันอัศจรรย์  รูปเสมาธรรมจักรนี้จะต้องมีมฤคคู่หนึ่ง  (กวางคู่)  อยู่ด้วยเสมอ  เป็นสิ่งนับถือที่เมืองพุทธคยาก็คือต้นโพธิ์ซึ่งเป็นต้นไม้ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จประทับที่โคนต้น  เมื่อได้ตรัสรู้อนุตรสัมมาสัมโพธิญาณ  แต่สำหรับที่เมืองกบิลพัสดุ์นั้นไม่มี  ยังเป็นที่น่าสงสัยอยู่  ส่วนสามเมืองนั้นไม่มีสิ่งที่น่าสงสัยเลย  คือที่เมืองพุทธคยาต้องเป็นเป็นโพธิ์ที่เมืองพาราณสีต้องเป็นเสมาธรรมจักร  และที่เมืองกุสินาราจะต้องเป็นพระสถูปแน่นอน” 

        พระพิมพ์จึงเสมือนอนุสาวรีย์ของสังเวชนียสถานนั้น ๆ ได้ประการหนึ่ง  อีกทั้งพระพิมพ์ยังอธิบายลักษณะเฉพาะของสถานที่หรือวัดต่าง ๆ ที่สร้างพระพิมพ์นั้น ๆ จนเป็นเอกลักษณ์ของพิมพ์อันเป็นที่มาของเอกลักษณ์พิมพ์ทรงของพระแต่ละประเภท  แต่ละตระกูล  และแต่ละวัดที่ปรากฏในปัจจุบัน 

        พระพิมพ์นั้นมีข้อยุติมาแต่เดิมแล้วว่าเป็นของที่ใช้นับถือได้เหมือนอย่างอนุสาวรีย์ที่ศักดิ์สิทธิ์แต่ด้วยเหตุที่ความนิยมนับถือรูปหล่อเจริญมากขึ้นในภายหลัง  และการสร้างรูปพระพุทธเจ้า  หรือรูปเคารพอย่างอื่น ๆ ในทางศาสนา  ถือกันว่าเป็นมูลแห่งกุศล  แต่การหล่อรูปด้วยโลหะ  แกะด้วยไม้  หรือสลักด้วยหิน  เป็นสิ่งที่ทำกันโดยทั่วไปไม่ได้  ผู้มีทรัพย์น้อยที่ปรารถนาในกุศล  เพื่อหวังให้ตนมีความเจริญรุ่งเรืองขึ้นในชาติหน้า  จึงพากันสร้างรูปบูชาด้วยก้อนดิน  ซึ่งถือว่าเป็นหนทางได้บุญกุศล  โดยไม่ต้องอาศัยสติปัญญาของชนชั้นสูง  หรือทรัพย์สมบัติมากมายก็สร้างได้  โอกาสที่ความปรารถนาจะสำเร็จแห่งมรรคผลที่ต้องการสามารถเป็นจริงได้  จึงเกิดการสร้างรูปเคารพด้วยดินกันขึ้นเป็นจำนวนมาก  บางครั้งสร้างกันรายหนึ่งถึง  84,000  องค์  ตามพระธรรมขันธ์  เหล่านี้ล้วนเป็นมูลเหตุแห่งการสร้างรูปพระพุทธเจ้าด้วยดิน  ซึ่งได้พบมากมายตามถ้ำต่าง ๆ ในแหลมมาลายู  ฝีมือที่ทำดูเหมือนจะเป็นฝีมือของพวกฤๅษีที่ดำรงชีวิตอยู่ด้วยการแสวงบุญกุศล 

        หากมองย้อนลงไปจะพบว่า  ในบรรดาผู้ค้าขายเครื่องหอมธูปเทียน  เครื่องบูชา  ตามสถานที่สำคัญในพระพุทธศาสนาครั้งโบราณจะต้องมีแม่พิมพ์คอยขายแก่เหล่าสัตบุรุษผู้มาสักการะ  ณ  สถานที่นั้น ๆ ด้วย  ประโยชน์ของการใช้แม่พิมพ์นั้น  ก็เพื่อพิมพ์รูปพระพุทธเจ้าซึ่งพวกสัตบุรุษซื้อเอาไปเป็นที่ระลึก  รวมถึงทำเพื่อถวายไว้ต่างเครื่องสักการะตามวัดต่าง ๆ 

        แม่พิมพ์สมัยโบราณจะเป็นแผ่นทองแดง  แกะอย่างลึก  และมีด้ามสำหรับถือ  เมื่อการใช้แม่พิมพ์เจริญแพร่หลายมากขึ้น  กระทั่งเกิดมีการใช้แม่พิมพ์เพื่อสร้างแม่พิมพ์ใหม่  พิมพ์ต่อ ๆ กันจนมีจำนวนมากให้ปรากฏตกทอดมาถึงยุคหลัง  พระพิมพ์โบราณโดยมากมีคำจารึกอักษรตัวเล็ก ๆ ไว้ข้างบนบ้าง  ข้างล่างบ้าง  ข้างหลังบ้าง  เป็นภาษาสันสกฤตก็มี  ภาษามคธก็มี  เป็นตัวอักษรเทวนาครี  ซึ่งเป็นอักขระที่นิยมใช้แพร่หลายในประเทศอินเดียตอนเหนือก็มี  กระทั่งเป็นตัวอักษรของพวกอินเดียฝ่ายใต้ก็มี  รวมไปถึงตัวอักษรของบรรดาเมืองประเทศราชที่อยู่ระหว่างประเทศอินเดีย  และจีนอีกด้วย  ซึ่งพบได้จากหลายสถานที่  หลายรุ่นอายุความเก่า  หากแต่คำจารึกเหล่านั้นมักมีความหมายที่เหมือนกันเสมอโดยเป็นคาถาอ่านว่าดังนี้ 

        เย  ธมฺมา  เหตุปปฺภวา        เตสํ  เหตุ  ตถาคโต  (อาห)

        เตสํ  จ  โย  นิโรโธจ        เอวํ  วาที  มหาสมโณติ. 

        แปลได้ความดังต่อไปนี้  “ธรรมเหล่าใดเกิดแต่เหตุ  พระตถาคตทรงแสดงเหตุของธรรมเหล่านั้นและความดับของธรรมเหล่านั้น”  เป็นพระมหาสมณะมีวาทะอย่างนี้ ใจความย่อแห่งพระคาถาซึ่งมีเพียง  4  บาทนั้น  เป็นคำสั่งสอนของพระศาสดาส่วนหนึ่งซึ่งอาจช่วยให้เห็นถึงความจริงอันเพียงพอสำหรับจะเลือกเฟ้นการอธิบายของคำสั่งสอนส่วนอื่น ๆ ได้ไม่ใช่เพียงแต่เท่านั้น  จากหนังสือเก่า ๆ หลายเรื่องกล่าวไว้ว่า  โดยใจความแห่งพระคาถาอันนี้เป็นเหตุให้พระพุทธเจ้าได้อัครสาวกทั้ง  2  คือ  พระสารีบุตร  และพระโมคคัลลานะ  ซึ่งภายหลังในสังฆมณฑล  (วงการคณะสงฆ์)  นับถือกันว่าเป็นที่  2  รองจากพระศาสดาจารย์เจ้าลงมา 

        ธรรมอันเป็นเหตุให้ได้มาซึ่ง  2  อัครสาวกผู้ประเสริฐ  ย่อมเป็นธรรมที่วิเศษบทหนึ่ง  และยกย่องให้เป็น  “สัมฤทธิ์มนต์”  สำหรับจะโน้มน้าวจิตใจของผู้ที่ไม่เคยได้สดับฟังพระธรรมมาก่อน  ดังนั้นจึงไม่มีธรรมข้อใด  หรือบทใด  ดีไปกว่านี้ที่จะใช้จารึกบนพระพิมพ์  ซึ่งถือเป็นวัตถุเบาพกพาสะดวก  มีขนาดพอเหมาะ  งดงามสมควรแก่การที่จะใช้ช่วยประกาศพระพุทธวจนะอันดีนี้ให้แพร่หลายออกไป 

        เมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว  เราอาจคิดได้ว่าบุคคลผู้ได้ทำรูปพระพิมพ์แล้ว  และบรรจุไว้ในถ้ำ  รวมถึงพระสถูปต่าง ๆ เป็นจำนวนตั้งหลายพันองค์นั้น  จะต้องคิดถึงการประกาศศาสนาในอนาคตอันไกล  และหวังว่าจะเป็นเครื่องช่วยประกาศศาสนาให้แพร่หลายไปได้อีกหลายพันปี  จึงนับเป็นความเชื่อของเหล่า  พุทธมามกะ  ว่าเมื่อครบอายุพระพุทธศานาจะเสื่อมลง  การพบเห็นรูปพระศาสดาจารย์เจ้า  (พระพุทธเจ้า)  และคาถาย่อมซึ่งเป็นคำสั่งสอนของพระองค์อาจเป็นเครื่องเตือนใจให้ผู้พบเกิดความเลื่อมใส  และเชื่อถือขึ้นอีก  ทั้งหมดที่กล่าวมานี้คือความส่วนหนึ่งจากบันทึกของศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดซ์  ในตำนานพระพิมพ์ 

        สรุปคือ  การเกิดของพระพิมพ์ในชั้นต้นเป็นการทำแทนของหรือทำเพื่อเป็นของที่ระลึกแก่ผู้เดินทางไปแสวงบุญยังสังเวชนียสถานนั้น ๆ และได้เกิดวิวัฒนาการกลายเป็นรูปพระพิมพ์ต่อมาความเจริญแพร่หลายของพระพิมพ์  สืบเนื่องจากการที่เป็นสิ่งของซึ่งทำกันได้ง่าย ๆ แม้ผู้ที่ไม่ค่อยมีฐานะ  ก็สามารถสร้างบุญกุศลจากการสร้างพระพิมพ์  เพื่อสืบทอดพระศาสนา  หรือกิจกรรมตามความเชื่อศรัทธาของตนได้  โดยมิใช่เรื่องเหลือวิสัยจะกระทำ  พระพิมพ์จึงมีให้พบเห็นมากมาย  ถ่ายทอดกันมาจากยุคสู่ยุค  จากรุ่นสู่รุ่น  จนถึงปัจจุบันมิห่างหายไปจากอารยธรรมของพุทธศาสนาด้วยศรัทธาที่มีต่อพระพุทธศาสนา

พระพ, มพ, อสงส, ยว, าบทความน, อาจละเม, ดล, ขส, ทธ, แต, ระบ, ไม, ได, ดเจนเพราะขาดแหล, งท, มา, หร, ออ, างถ, งส, งพ, มพ, งตรวจสอบไม, ได, หากแสดงได, าบทความน, ละเม, ดล, ขส, ทธ, ให, แทนป, ายน, วย, ละเม, ดล, ขส, ทธ, หากค, ณม, นใจว, าบทความน, ไม, ได, ละเม, ดล, ขส, ทธ. mikhxsngsywabthkhwamnixaclaemidlikhsiththi aetrabuimidchdecnephraakhadaehlngthima hruxxangthungsingphimphthiyngtrwcsxbimid hakaesdngidwabthkhwamnilaemidlikhsiththi ihaethnpaynidwy laemidlikhsiththi hakkhunmnicwabthkhwamniimidlaemidlikhsiththi ihaesdnghlkthaninhnaxphipray oprdxyanapaynixxkkxnmikhxsrup prawtiphraphimph tananphraphimphprawtiphraphimph tananphraphimph emuxkhrngxngkhsmedcphrasmmasmphuththeca phraphuththeca phuthrngepnphrabrmsasnaaehngsasnaphuthth idesdcdbkhnthekhasupriniphphanaelw n tablsalwn aekhwngemuxngkusinara praethsxinediy brrdaphuththbrisththnghlayinsmynn kphaknoskesraxalyinphraxngkh ehlamllkstriysungkhrxngemuxngkusinarakchwykncdnganthwayphraephlingaelw ehla mllkstrikrwmknkhidsrangphrasthupsahrbbrrcuphrabrmthatuipiw n emuxngkusinara aetehlakstriytangemuxng tangktxngkarcaechiyphrabrmthatuipiwihphlemuxngkhxngtnekharphbucha aetehlamllkstriyemuxngkusinaraimyxmih cnekuxbcaekidkarsurbknephuxaeyngphrabrmthatu krathngothnphrahmnidekhamaiklekliyihprxngdxngkn ehlamllkstriycungyinyxmaebngphrabrmthatuihaekkstriyemuxngtang ehlakstriyemuxngkusinaracungphaknsrangphrasthupephuxpradisthanphrabrmthatukhxngxngkhsmedcphrasmmasmphuththecainbanemuxngkhxngtn ephuxepnthisahrbprachachnphuekharpheluxmissrththaidskkarbucha cungekidmiphrathatuecdiykhunepnkhrngaerk khawa ecdiy hmaythung singthiepnthitngaehngkarekharphbucha aelathuxepnsingaethnxngkhphraphuththeca tamphuththprawtiidklawthungtxnemuxphraphuththxngkh phraphuththeca thrngprachwriklcaesdcekhasupriniphphan phraxannthethrecaphuekhaefathwaykarphyabalidthulprarphwa aetkxnmaehlaphiksuphuththsawkidekhyefaaehnphraxngkhepnnic emuxphraxngkhesdcekhasuphraniphphanaelwtangmiidefaaehnphraxngkhtxipkcaphaknwaehw smedcphrasmmasmphuththecacungthrngxnuyatihsrangsngewchniysthaniw 4 aehng sahrbehlaphuththsawk emuxidikhrcaehnphraxngkhihipplngthrrmsngewch n thiaehngidaehnghnung khux 1 thiphraxngkhprasuti n palumphini aekhwngemuxngkbilphsdu 2 thiphraxngkhtrsruphraophthiyan aekhwngemuxngkhya 3 thiphraxngkhprathanpthmethsna n tablxisiptnmvkhthaywn aekhwngemuxngpharansi 4 thiphraxngkhesdcekhasuphraniphphan n tablsalwn aekhwngemuxngkusinara nxkcakniinphayhlngidekidepnthisngewchniysthanephimkhunxik 2 aehng khux 5 phrasthupbrrcuphraxngkhar n aekhwngemuxngpibphliwn 6 phrasthupbrrcuthananolhatwngphrabrmthatu n aekhwngemuxngkusinara thng 6 aehngni epnsngewchniysthanthiekiywenuxngkbxngkhsmedcphrasmmasmphuththeca cungnbepn briophkhecdiy sunghmaythung singthiekiywenuxngdwyphraxngkhsmedcphrasmmasmphuththeca sungepnthitngaehngkarekharphbucha txmaidekidmisthanthiekiywkhxngkbphraxngkhaelatamphuththprawtixikhlayaehng thiphaknnbepnsthanthiralukthungxngkhphrasmmasmphuththeca aetngsthanthithiphuththbristhniymipnmskarekharphskkarbuchaphraxngkh yngkhngepnephiyngsngewchniysthanthng 4 aehng dngklawkhangtn inkhrngaerkphuththbrisththisrangphrasthuphruxecdiytang miidpnxngkhphraepnphraphuththrupiwepnlwdlayinphuththprawtihruxsrangiwepnexkethstanghak krathngepnewlalwngelyphuththkalmaaelwhlaypi cnimmiikhrcdcaphuththlksnaaehngxngkhsmedcphrasmmasmphuththecaidprakarhnung aelahakcapnodykhadedakekrngcaphidephiynepnthilbhluphrabarmiaehngphraxngkhthanxikprakarhnung cungniymsrangsingsmmutiaethnphraxngkh sungsngektehnidcaklaykarpnaekaslkinobranwtthukxnsmythicamiphraphuththrup changpnaekaslkinsmynnmkcaichphaphdxkbwaethntxnprasuti ichphraaethnxasnaphayitophthiphvksaethntxntrsru ichphrathrrmckr aelaphaphkwangaethntxnthrngaesdngpthmethsna n tablxisiptnmvkhthaywn ichphrasthupaethntxnesdcekhasupriniphphan n tablsalwn aekhwngemuxngkusinara epntn karthiidnaeruxngphraecdiytang maklawintxntn kephuxihthrabwakxnthicamiphraphuththrupbuchaaelaphraphimphidmisingthiepnthitngaehngkhwamekharphskkarathungxngkhsmedcphrasmmasmphuththecaxairbang aelaxngkhphraphuththrupbuchakdi phraphimphkdi nbenuxngepnxuethsikaecdiy xiksthanhnungdwy emuxphuththkalidphanipaelwpraman 200 pi phraecaxelksanedxrmharach idmixanuphaphthangsngkhramkhuninthwipyuorp idykphlphwkfrngchawkrik hruxthichawtawnxxkeriykwachnchawoynk epnthphihyethiywprabprampraethstang khyayrachaxanaekhtmathangthistawnxxkcnthungaephndinkhxngpraethsxinediy aetyngmiidaephxanacidhmdpraeths phraecaxelksanedxrmharachkthungaekthiwngkht swrrkht tay inxinediy rachxanaekhtthiphraecaxelksanedxrmharachrwbrwmiwkaetkepnhlayphwk chawkrikthiepnaemthphkhxngphraecaxelksanedxrtangtngtwepnecaaephndin khrxngbanemuxnghlayxanaekhtdwykn aelaidchkchwnchawkrikcakphumilaenaedimihmatngtnthamahakininthxngthinthitnsrangkhunihm epnehtuihchawkrikmaxyuinaephndinwa xanaekhtkhntharrath epncanwnmak inpraethskhntharrathnnchawemuxngswnmaknbthuxphraphuththsasnasubmaaetkhrngphraecaxoskmharach emuxchawkrikekhamaxyuinemuxngkhntharrathidsnithsnmaelamikarsmrskbchawphunemuxng cungphlxymaeluxmissrththanbthuxphraphuththsasnadwy macnthungpraman ph s 363 miphraecaaephndinphraxngkhhnung thrngphranamwa phraecamilinth epnxngkhediywkbthieriynkwa phrayamilinth thisnthnaottxbkbphranakhesn ineruxngmilinth pyha phraxngkhthrngmixanuphaphmakidthasngkhramaephxanaekhtcnthungmkhthrathaelathrngeluxmisinphraphuththsasna thngidthanubarungphrasasnaihrungeruxnginpraethskhntharrathcnekidmikarsrangphuththptimakrrmkhunepnkhrngaerkinaebbthitangipcakedim cakthiidklawma hlngcakphuththkallwngaelw changkxsrangkhxngphuththbristhimniympnphraphuththruppradbtamphrasthup aetphwkchawkriksungimekhythuxkhxhaminkartharupekharph aelatamsasnaedimkhxngchawkrikexngkniympnrupethphecathitnnbthuxiwskkarbucha dngnnemuxchawkrikthihnmanbthuxsasnaphuththkimchxbaebbphunemuxngedimthitharupsingxunsmmutiaethnphraphuththrup cungkhidsrangphraphuththrupkhunepnekhruxngpradbecdiyaelasthanthitang epnehtuihphraphuththrupekidmikhuninaekhwnkhntharrathepnkhrngaerkinolk phraphuththrupthichangchawkrikkhidsrangkhunepnkhrngaerknn nbepncintnakarxnlaeliskhxngchanginkarsrangsrrkhihmiphuththlksnathithaihphuphbehnsamarthekhaicidthnthiwannkhux phraphuththrupaethnxngkhsmedcphrasmmasmphuththeca thngmiphuththlksnangdngamprathbicaekphueluxminisphraphuththsasna odymiekhaphraphktrngamkhlayephthecakhxngchawkrik bnphraesiyrmiphraektumunemalipradb phidkbphrasawkthaihphuphbehnekhaicidwaxngkhidepnphraphuththrup xnthuxepnaebbxyangmacnthukwnni nxkcakniphrarsmikthaepnpraphamnthlrupwngklm xyuhlngphraesiyrtamaebbrsmikhxngethphecachawkrik ciwrkthaepnriwrxyphamithnghmkhlum karhmphaodykhlumihlthng 2 khang aelahmdxng karhmphaodyechwiyngba phraxiriyabthkhxngphraphuththruppangtang kcintnakartamphuththprawti tngaetpangprasuticnthungpangesdcekhasuphraniphphan odykhrngaerkkhidsrangepnlwdlayphuththprawtipradbecdiykxn txmaidkhidsrangphraphuththrupepnphraprathaniwepnthiskkarbucha cungnbwaxngkhphraphuththrupepnxuethsikaecdiyxiksthanhnungdwy karthichangchawkrikidsrangphraphuththrupkhunepnlwdlayprakxbkbphuththprawtipradbecdiykdi hruxsrangphraphuththrupepnphraprathaniwepnthiskkarbuchakdi changchawxinediyaelachawphunemuxngxinediyinchnaerkkhngcaimehndwy ephraachintxkarskkarbuchasingthiidkhidsmmutiaethnxngkhsmedcphrasmmasmphuththecadngidklawmaaelwintxntn channintxnhlngcungekidmitananphraaekncnthnkhun tamtananphraaekncnthnidklawiwwa emuxphraphuththeca esdcipprathanethsnaoprdphraphuththmardaaelathrngkhangxyuindawdungsswrrkhphrrsahnungnn phraecapraesnchitaehngkrungokslrachemuxmiidehnphuththxngkhmachananekidkhwamralukthungcungtrssngihnaychangthaphraphuththrupkhundwyaekncnthnaedng pradisthaniwehnuxxasnathiphraphuththecaekhyprathb khrnphraxngkhesdcklbcakdawdungsmathungthiprathb dwyphrabrmphuththanuphaphbndalihphraphuththrupaekncnthneluxnhlikipcakphraphuththxasn aetphratthakhtecatrssngihrksaphraphuththrupnniw ephuxsathuchncaidichepnaebbxyangsrangphraphuththrupemuxphraxngkhlwnglbipaelw khwamthiklawintananprasngkhcaxangwa phraphuththrupaekncnthnxngkhnnepntnaebbkhxngphraphuththrupsungsrangknxxkmaphayhlng hruxxiknyhnung khuxxangwaphraphuththrupnnmikhunodymiphrabrmphuththanuphaphaelaehmuxnphraphuththxngkh ephraaxngkhphraaekncnthnepnaebbxyangsrangkhunaetinkhrngphuththkal thaihekidkhxkhidsnnisthankhunwachangaelachawphunemuxngxinediythiyudthuxsingsrangsmmutiaethnxngkhsmedcphrasmmasmphuththecaepnthiskkaraxyangaennaefn imyxmrbaebbxyangthichangchawkriksrangphraphuththrupbuchakhun cungthaihnkprachyinsmynnidkhidtananaekncnthnkhun odyxangwaidmiphraphuththanuyatihichphraaekncnthnepnaebbxyangsrangphraphuththrupbuchamaaetkhrngphuththkal cnthaihchangaelachawphunemuxngxinediy ekidkhwamechuxthuxyxmoxnxxnphxntamkhtichangchawkrik epnsaehtuihchangchawxinediyhruxcaeriykwachangchawphunemuxng idkhidxxkaebbsrangphraphuththrupbuchaaetktangipcakchangchawkrik sungepncuderimtnkarkaenidsilpaaebbmthuratngaetphuththstwrrsthi 7 8 epntnma aelaidsubskulsilpsrangsilpasrangphraphuththrupphraphimphyukhtang macnthukwnni karklawthungsaehtukhxngkarsrangphraphuththrupnn ephuxepnthankhxmulnaipsuthimakhxngkarsrangphraphimphthimikaenidphayhlng hakaetmikhwamsmphnthkbkarsrangphraphuththrup sungcaklawinbtheriynkhntxip swntnkaenidphraphimphidekidkhundngmulehtutxipni inthisngewchniysthanthiphraphuththxngkhidthrngxnuyatiwcanwn 4 aehng rwmkbthisungniymknwaphraphuththxngkhidthrngthapatihariyxikcanwn 4 aehng sungbxekidaehngphraecdiysthanthng 8 aehngni mistburusphaknipbuchapilacanwnmak phwkstburusdngklawprarthnacaidsinghnungmaepnkhxngsakhyekbrksaiwepnthiralukthungwatnidsrththaxutsahaipthungthiaehngnn emuxmipraephnisrangphraphuththrupekidkhun khnthixyuinbriewnsthanthitngkhxngphraecdiykhidthaphraphuththruppangtang tam phraxiriyabth tamdwyphrabriophkhecdiyehlann thngaekaaemphimphkhuncanwnmakmay sahrbcahnayaekstburus ihsuxhaknidthwhnainrakhathukcungekidmiphraphimphkhundwyehtuprakarni sungphraphimphthithacahnay n sthanthitngecdiythng 8 aehngnn epnphraphuththrup 8 pangtangkn khux 1 pangprasuti thaepnrupphrarachkumarophthistwyun mirupphraphuththmarda aelarupethwdaepnekhruxngprakxb 2 pangtrsru thaepnphramarwichy phraxiriyabthnngkhdsmathi phrahtth mux sayhngaywangbnphraephlaphrahtthkhwawangkhwalngthiphrachanu ekha niwphrahtthchilngthiphunthrni phundin inkhrawthiphraxngkhthrngexachnamarid 3 pangpthmethsna thaepnphraphuththrupnngkhdsmathikminnghxyphrabathkmi echnnngekaximiphrahtthebuxngkhwathaniwkridepnwngklmepnekhruxnghmaythungphrathrrmckr 4 pangesdccakdawdungs mkthaepnphralila aetthaepnphrayunkmi mirupphraphrhmkbphraxinthrxyusxngkhangepnekhruxngprakxb 5 pangmhapatihariy thaepnphraphuththrupmidxkbwrxnghlayxngkhdwykn mkmirupethwdaaelarupmnusyediyrthiy epnekhruxngprakxb 6 pangthrmanchangnalakhiri thaepnphraphuththruplila mirupphraxannthaelarupchang bangthimiaetrupchang epnekhruxngprakxb 7 pangthrmanphrayawanr thaepnphraphuththrupnngxumbatr mirupwanrepnekhruxngprakxb 8 pangmhapriniphphan thaepnphraphuththrupbrrthm mkmirupphrasthup rupphrasawkaelarupethwdaepn ekhruxngprakxb phraphuththrup 8 pangnithuxwaepnphrachudniymsrangrwmkninngansilpachinediywmiihehnkhrbpraktthng 8 pang snnisthanwaekidcakstburusphuthiidphyayamipbuchaphrabriophkhecdiykhrbthng 8 aehng aelwsrangkhunephuxchlxngkhwamsrththaxutsahaaennxn karsrangphraphimphemuxaephrhlayipthungpraethsxun khninpraethsnn ehnepnkhxngthisrangknngaycungniymthatam odyprasngkhaeckcayihkhnthnghlayidphraphuththrupipbuchangaykhun aetkarsrangphraphimphephuxihkhnnaipbucha idklayepnsingsakhyinkarsubxayuphrasasnaihthawr txmaphayhlngodyechphaainpraethsithythuxtamkhtikhxngpraethslngkawa phraphuththsasnacayngyunxyuidephiyng 5 000 pi dngnncungchxbsrangphraphimphslkkhatha ey thm ma iwebuxnghlngaelwbrrcuiwinphrasthup phuthikhnphbphraphimphthisrangiwcahnmanbthuxphraphuththsasnaihm tamthiidklawthungkaenidphraphimphmatngaettn thaihekidkhxsnnisthankhunwakhtikarsrangphraphuththrupthichangchawkrikkhidsrangxngkhphraaethnsmedcphrasmmasmphuththecann khngcasrangphraphuththrupdwysilahruxpunpn pradbphrasthupinrayaaerk ephraacakhlkthanphbwakarsrangphrasthuplwdlaypradbnnsrangcakeruxngbangtxnkhxngphuththprawtitamkhtidngedim sungedimcasrangrupepnekhruxnghmayaethn echn ichrupthrrmckraelakwangaethnpangpthmethsna hruxichrupphrasthupaethnpangesdcekhasuprinphphanepntn dngnninsmytxmathichangchawkrikkhidsrangphraphuththrupemuxkhrngthisrangphrasthupinsmythitntha cungsrangphraphuththrupaebblxythngxngkhphra thimungsrangephuxepnphraprathanpradisthaninxngkhphrasthuphruxwiharkhngcaepnkarsranghlngcakkhidbrrcuphraphuththruplnginlwdlaypradbphrasthupmaaetedim swnphraphimphnnkhngcaekidkhunphayhlngcakkarsrangphraphuththrupinlwdlaypradbphrasthupaelasrangphraphuththrupepnxngkhphraprathan xyangirktamkarsrangphraphuththrupinrupaebbkhxngphraprathanaelaphraphimphkhngcamirayaimhangiklknnk ephraaphuththsilpaxyuinsmyediywkn khuxsmykhntharrathinphuththstwrrsthi 7 10 cakkarkhnkhwahahlkthanmaprakxbkhxsnnisthanineruxngniphbwacakbnthukin tananphraphimph khxngsastracary yxrch eseds ekiywkbkarsrangphraphimph idklawiwwa phayhlngphraphuththecaesdcdbkhnthpriniphphanimnannk praephnikarsrangphraphuththrupodywithikarkddwyaemphimphaelwprathbdwytrasylksntang phbaetinphuththsasnaethann thngthiphbinmnthlthangtawntkechiyngehnuxkhxngpraethsxinediy mnthlyunaninpraethscin hruxtamthatang inaehlmmalayu thngbnfngthaelywn lwnepnaebbxyangkhxngphraphuththsasnathngsin impraktepnfaysasnaxunid aelacakkarwinicchykhxngsastracaryfuech phbwa phraphimphtang nn mimulehtumacaksngewchniysthanthisakhykhxngphraphuththeca 4 aehng khux 1 sthanthiprasuti n swnlumphiniwn tabllumminedy aekhwngemuxngkbilphsdu 2 sthanthitrsru n aekhwngemuxngphuththkhya 3 sthanthiaesdngpthmethsna n paxisiptnamvkhthaywn aekhwngemuxngpharansi 4 sthanthipriniphphan n tablsalwn aekhwngemuxngkusinara sungsxdkhlxngkbkarsrangphraphuththrupthiklawmakhangtn aelasastracaryfuech yngklawiwwa imsucaepnkaryakxairthicakhidwa tamthrrmdakhxngphwkstburusthicatxngnaxairmaepnthiralukcaksngewchniysthanxnsakhythng 4 tablehlann xairelacaepnsingaerkinsingthiekharphnbthuxknthiidthakhunodyphimphbnphunpha hruxthadwydin dwyim dwynga hruxdwyaertamthimiinemuxngkbilphsdu emuxngphuththkhya aelaemuxngkusinara praktxyuxyangchdecnaelwwa inemuxngthngsiniemuxngihnmipuchniysthanxnepnthiruckaephrhlaychnididaelathngidmihnngsuxxikhlayeruxngthixthibaythungpuchniysthanxnsakhy ehlaniiwwaidaekxairbangsingthicaidehnkxnsingxuninemuxngkusinara kkhuxsthanthithiphraphuththeca esdcdbkhnthpriniphphanidthaekhruxnghmayodysrangphrasthup khuniwtrngnntngaetedimma echnediywkbemuxngpharansi tharupesmathrrmckrkhuniw hmaythungpatihariyxnxscrry rupesmathrrmckrnicatxngmimvkhkhuhnung kwangkhu xyudwyesmx epnsingnbthuxthiemuxngphuththkhyakkhuxtnophthisungepntnimthiphraphumiphraphakhecaesdcprathbthiokhntn emuxidtrsruxnutrsmmasmophthiyan aetsahrbthiemuxngkbilphsdunnimmi yngepnthinasngsyxyu swnsamemuxngnnimmisingthinasngsyely khuxthiemuxngphuththkhyatxngepnepnophthithiemuxngpharansitxngepnesmathrrmckr aelathiemuxngkusinaracatxngepnphrasthupaennxn phraphimphcungesmuxnxnusawriykhxngsngewchniysthannn idprakarhnung xikthngphraphimphyngxthibaylksnaechphaakhxngsthanthihruxwdtang thisrangphraphimphnn cnepnexklksnkhxngphimphxnepnthimakhxngexklksnphimphthrngkhxngphraaetlapraephth aetlatrakul aelaaetlawdthipraktinpccubn phraphimphnnmikhxyutimaaetedimaelwwaepnkhxngthiichnbthuxidehmuxnxyangxnusawriythiskdisiththiaetdwyehtuthikhwamniymnbthuxruphlxecriymakkhuninphayhlng aelakarsrangrupphraphuththeca hruxrupekharphxyangxun inthangsasna thuxknwaepnmulaehngkusl aetkarhlxrupdwyolha aekadwyim hruxslkdwyhin epnsingthithaknodythwipimid phumithrphynxythiprarthnainkusl ephuxhwngihtnmikhwamecriyrungeruxngkhuninchatihna cungphaknsrangrupbuchadwykxndin sungthuxwaepnhnthangidbuykusl odyimtxngxasystipyyakhxngchnchnsung hruxthrphysmbtimakmayksrangid oxkasthikhwamprarthnacasaercaehngmrrkhphlthitxngkarsamarthepncringid cungekidkarsrangrupekharphdwydinknkhunepncanwnmak bangkhrngsrangknrayhnungthung 84 000 xngkh tamphrathrrmkhnth ehlanilwnepnmulehtuaehngkarsrangrupphraphuththecadwydin sungidphbmakmaytamthatang inaehlmmalayu fimuxthithaduehmuxncaepnfimuxkhxngphwkvisithidarngchiwitxyudwykaraeswngbuykusl hakmxngyxnlngipcaphbwa inbrrdaphukhakhayekhruxnghxmthupethiyn ekhruxngbucha tamsthanthisakhyinphraphuththsasnakhrngobrancatxngmiaemphimphkhxykhayaekehlastburusphumaskkara n sthanthinn dwy praoychnkhxngkarichaemphimphnn kephuxphimphrupphraphuththecasungphwkstburussuxexaipepnthiraluk rwmthungthaephuxthwayiwtangekhruxngskkaratamwdtang aemphimphsmyobrancaepnaephnthxngaedng aekaxyangluk aelamidamsahrbthux emuxkarichaemphimphecriyaephrhlaymakkhun krathngekidmikarichaemphimphephuxsrangaemphimphihm phimphtx kncnmicanwnmakihprakttkthxdmathungyukhhlng phraphimphobranodymakmikhacarukxksrtwelk iwkhangbnbang khanglangbang khanghlngbang epnphasasnskvtkmi phasamkhthkmi epntwxksrethwnakhri sungepnxkkhrathiniymichaephrhlayinpraethsxinediytxnehnuxkmi krathngepntwxksrkhxngphwkxinediyfayitkmi rwmipthungtwxksrkhxngbrrdaemuxngpraethsrachthixyurahwangpraethsxinediy aelacinxikdwy sungphbidcakhlaysthanthi hlayrunxayukhwameka hakaetkhacarukehlannmkmikhwamhmaythiehmuxnknesmxodyepnkhathaxanwadngni ey thm ma ehtupp phwa ets ehtu tthakhot xah ets c oy niorothc exw wathi mhasmonti aeplidkhwamdngtxipni thrrmehlaidekidaetehtu phratthakhtthrngaesdngehtukhxngthrrmehlannaelakhwamdbkhxngthrrmehlann epnphramhasmnamiwathaxyangni ickhwamyxaehngphrakhathasungmiephiyng 4 bathnn epnkhasngsxnkhxngphrasasdaswnhnungsungxacchwyihehnthungkhwamcringxnephiyngphxsahrbcaeluxkefnkarxthibaykhxngkhasngsxnswnxun idimichephiyngaetethann cakhnngsuxeka hlayeruxngklawiwwa odyickhwamaehngphrakhathaxnniepnehtuihphraphuththecaidxkhrsawkthng 2 khux phrasaributr aelaphraomkhkhllana sungphayhlnginsngkhmnthl wngkarkhnasngkh nbthuxknwaepnthi 2 rxngcakphrasasdacaryecalngma thrrmxnepnehtuihidmasung 2 xkhrsawkphupraesrith yxmepnthrrmthiwiessbthhnung aelaykyxngihepn smvththimnt sahrbcaonmnawcitickhxngphuthiimekhyidsdbfngphrathrrmmakxn dngnncungimmithrrmkhxid hruxbthid diipkwanithicaichcarukbnphraphimph sungthuxepnwtthuebaphkphasadwk mikhnadphxehmaa ngdngamsmkhwraekkarthicaichchwyprakasphraphuththwcnaxndiniihaephrhlayxxkip emuxepnechnniaelw eraxackhididwabukhkhlphuidtharupphraphimphaelw aelabrrcuiwintha rwmthungphrasthuptang epncanwntnghlayphnxngkhnn catxngkhidthungkarprakassasnainxnakhtxnikl aelahwngwacaepnekhruxngchwyprakassasnaihaephrhlayipidxikhlayphnpi cungnbepnkhwamechuxkhxngehla phuththmamka waemuxkhrbxayuphraphuththsanacaesuxmlng karphbehnrupphrasasdacaryeca phraphuththeca aelakhathayxmsungepnkhasngsxnkhxngphraxngkhxacepnekhruxngetuxnicihphuphbekidkhwameluxmis aelaechuxthuxkhunxik thnghmdthiklawmanikhuxkhwamswnhnungcakbnthukkhxngsastracaryyxrch eseds intananphraphimph srupkhux karekidkhxngphraphimphinchntnepnkarthaaethnkhxnghruxthaephuxepnkhxngthiralukaekphuedinthangipaeswngbuyyngsngewchniysthannn aelaidekidwiwthnakarklayepnrupphraphimphtxmakhwamecriyaephrhlaykhxngphraphimph subenuxngcakkarthiepnsingkhxngsungthaknidngay aemphuthiimkhxymithana ksamarthsrangbuykuslcakkarsrangphraphimph ephuxsubthxdphrasasna hruxkickrrmtamkhwamechuxsrththakhxngtnid odymiicheruxngehluxwisycakratha phraphimphcungmiihphbehnmakmay thaythxdknmacakyukhsuyukh cakrunsurun cnthungpccubnmihanghayipcakxarythrrmkhxngphuththsasnadwysrththathimitxphraphuththsasna ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phraphimph amp oldid 7848780, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม