fbpx
วิกิพีเดีย

พระเจ้าแทจง

พระเจ้าแทจง (เกาหลี태종; ฮันจา太宗; อาร์อาร์Taejong; เอ็มอาร์T'aejong (13 มิถุนายน ค.ศ. 1367 - 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1422, ครองราชย์ ค.ศ. 1400 - ค.ศ. 1418) เป็นพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 3 แห่งราชวงศ์โชซ็อนของประเทศเกาหลี เป็นพระราชบิดาของพระเจ้าเซจงมหาราช

พระเจ้าแทจง
รูปสลักหินของพระเจ้าแทจงที่สุสานราชวงศ์
กษัตริย์แห่งโชซ็อน
ครองราชย์28 พฤศจิกายน ค.ศ. 1400 – 9 กันยายน ค.ศ. 1418
ก่อนหน้าพระเจ้าช็องจง
ถัดไปพระเจ้าเซจงมหาราช
พระเจ้าหลวง
Tenure9 กันยายน ค.ศ. 1418 – 30 พฤษภาคม ค.ศ. 1422
ก่อนหน้าพระเจ้าช็องจง
ภรรยาพระมเหสี

พระสนม

  • พระสนมฮโยบิน ตระกูลคิม
  • พระสนมชินบิน ตระกูลชิน
  • พระสนมซอนบิน ตระกูลอัน
  • พระสนมอึยบิน ตระกูลควอน
  • พระสนมโซบิน ตระกูลโน
  • พระสนมมยองบิน ตระกูลคิม
  • พระสนมจงบิน ตระกูลโก
  • พระสนมซุกอึย ตระกูลเชว
พระราชบุตรลีเจ, เจ้าชายยังยอง
ลีโบ, เจ้าชายฮโยรยอง
ลีโด, พระเจ้าเซจงมหาราช (เจ้าชายชุงนยอง)
พระนามหลังสิ้นพระชนม์
พระเจ้าแทจง คงจอง ซองด็อก ซินคง คอนชอน เชกุก แทจอง คเยอู มุนมู เยชอล ซองนยอล ควางฮโย
King Taejong Gongjeong Seongdeok Sin-gong Geoncheon Chegeuk Daejeong Gye-u Munmu Yecheol Seongnyeol Gwanghyo the Great
태종공정성덕신공건천체극대정계우문무예철성렬광효대왕
太宗恭定聖德神功建天體極大正啓佑文武叡哲成烈光孝大王
วัดประจำรัชกาล
Taejong
ราชวงศ์ลี
พระราชบิดาพระเจ้าแทโจ
พระราชมารดาพระนางชินอึย ตระกูลฮัน แห่งอันพยอน
ประสูติ13 มิถุนายน ค.ศ. 1367
ฮัมฮึง
สวรรคต30 พฤษภาคม ค.ศ. 1422 (อายุ 55 ปี)
พระราชวังชังกย็อง
ฝังพระศพโซล

ชีวิต

ก่อตั้งโชซ็อน

พระเจ้าแทจง มีพระนามเดิมว่า “อีบังวอน” (이방원, 李芳遠) พระราชสมภพในปี ค.ศ. 1367 เป็นบุตรชายคนที่ห้าของอี ซ็อง-กเย (태조, 太祖) และได้ผ่านการรับรองในราชวงศ์โครยอในปี ค.ศ. 1382 ในช่วงแรกเขาได้ช่วยบิดาในการขยายการสนับสนุนจากประชาชนและขุนนางผู้มีอิทธิพล ในการปราบดาภิเษกก่อตั้งราชวงศ์ใหม่ จากการสังหารจอง มงจู (정몽주, 鄭夢周) ที่ยังคงภักดีกับราชวงศ์โครยอ

เมื่อบิดาปราบดาภิเษกเป็นพระเจ้าแทโจแห่งโชซ็อนแล้วนั้น อีบังวอนก็ได้รับพระยศเป็นเจ้าชายช็องอัน (정안대군, 靖安大君) และตั้งพระมเหสีที่สิ้นพระชนม์ไปแล้วนั้นเป็นพระนางชินอึย (신의왕후, 神懿王后) แต่พระเจ้าแทโจนั้นกลับโปรดปรานพระมเหสีพระองค์ใหม่คือพระนางชินด็อก (신덕왕후, 神德王后) จากตระกูลคังและตั้งเจ้าชายอีอัน (의안대군, 宜安大君) อีบังซอก (이방석, 李芳碩) พระราชโอรสที่ประสูติแต่พระมเหสีพระองค์ใหม่เป็นรัชทายาท ซึ่งสร้างความไม่พอใจแก่บรรดาพระโอรสของพระมเหสีฮัน โดยเฉพาะอีบังวอนซึ่งเป็นเจ้าชายที่มีความสามารถและมีผลงานมากที่สุด

เหตุการณ์จลาจลของเจ้าชาย

ในปี ค.ศ.1392 เขาได้ช่วยบิดาของเขาโค่นล้มราชวงศ์โครยอและก่อตั้งรางวงศ์ใหม่ ราชวงศ์โชซ็อน เขาคาดหวังว่าจะได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรัชทายาทเพราะเขามีส่วนวร่วมมากที่สุดในการช่วยก่อตั้งราชวงศ์โชซ็อน แต่พ่อของเขา พระเจ้าแทโจ และอัครเสนาบดีช็อง โด-จ็อน (정도전, 鄭道傳) ได้สนับสนุนให้พระราชโอรสพระองค์ที่แปดของพระเจ้าแทโจ และเป็นน้องชายต่างมารดาของลีบังวอน (โอรสคนที่สองของพระนางชินด๊อก) ลีบังซอก เป็นรัชทายาท ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มาจาก ช็อง โด-จ็อน ซึ่งมีอิทธิพลและเป็นคนวางรากฐานทางการเมืองและกฎหมายของราชวงศ์ และต้องการให้อาณาจักรโชซ็อนนำโดยอัครเสนาบดีโดยมีกษัตริย์สนับสนุน ในขณะที่ ลีบังวอน ต้องการสร้างระบบอบที่ปกครองโดยตรงจากกษัตริย์ ทั้งสองฝ่ายต่างตะหนักดีถึงความเกลียดชังจากอีกฝ่ายและทั้งสองฝ่ายก็พร้อมที่จะปะทะกัน หลังจากเกิดการสิ้นพระชนม์อย่างกระทันหันของพระนางชินด๊อก และพระเจ้าแทโจกำลังอยู่ในช่วงไว้ทุกข์ในกับพระมเหสี ลีบังวอน ทำการฆ่า จองโดจอน และผู้ที่สนับสนุนเขา รวมถึงสังหารโอรสคนที่สองของพระมเหสีชินด็อก และทำการแต่งตั้งตัวเองเป็นรัชทายาทในปี ค.ศ.1398 เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นครั้งนี้กลายเป็นที่รู้จักกันถึงความขัดแย้งครั้งแรกของเจ้าชาย

พระเจ้าแทโจทรงเสียพระทัยมากเมื่อพระโอรสเข่นฆ่ากันเองเพื่อแย่งชิงบัลลังก์อีกทั้งยังเสียใจจากการสิ้นพระชนม์ของพระมเหสี พระเจ้าแทโจจึงทรงสละราชบัลลังก์และทำการแต่งตั้งโอรสคนที่สองของเขา ลีบังกวา หรือ พระเจ้าช็องจง เป็นพระราชาคนใหม่ สิ่งที่ พรเจ้าจองจงกระทำเป็นครั้งแรกคือกลับไปอยู่ที่เมืองหลวงเดิม แคซ็อง ซึ่งเขาเชื่อว่าที่นั่นจะสะดวกสบายมากกว่า แต่ ลีบังวอน ได้ทำการสะสมอำนาจไว้ทำให้เกิดความขัดแย้งกับพระเชษฐาของเขา ลีบังกัน ที่ก็ต้องการอำนาจเช่นกัน ในปี ค.ศ.1400 พระเชษฐาของเจ้าชายลีบังวอนอีกพระองค์คือเจ้าชายฮวีอัน (회안대군, 懷安大君) ลีบังกัน (이방간, 李芳幹) ก่อกบฏจะยึดอำนาจจากลีบังวอน เจ้าชายลีบังวอนนำทัพเข้าปราบสองฝ่ายต่อสู้กันในเหตุการณ์จลาจลของเจ้าชาย (왕자의난, 王子-亂) ครั้งที่สอง เจ้าชายลีบังกันพ่ายแพ้และถูกเนรเทศ เจ้าชายลีบังวอนบังคับให้พระเจ้าจองจงสถาปนาพระองค์เองเป็นรัชทายาท จนในที่สุดพระเจ้าจองจงก็ทรงทนไม่ได้อีก สละราชบัลลังก์ให้พระอนุชาขึ้นครองราชย์ต่อ ลีบังวอน ได้เป็นกษัตริย์องค์ที่สามของราชวงศ์โชซ็อน

การรวบรวมอำนาจ

 
ลายเซ็นของพระเจ้าแทจง

พระเจ้าแทจงทรงย้ายเมืองหลวงกลับมาจากเมืองแคซอง (ซึ่งย้ายไปในรัชสมัยของพระเจ้าจองจง) พระเจ้าแทจงทรงปฏิรูประบบการปกครองของเกาหลีใหม่ทั้งหมดโดยมีแบบอย่างจากการปกครองของจีน มีสภาอีจอง (의정부, 議政府) เป็นสภาที่ปรึกษาของกษัตริย์เป็นองค์กรสูงสุด รองลงมาคือหกกระทรวง (육조, 六曹) ซึ่งระบบนี้หลังจากผ่านการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยในรัชสมัยพระเจ้าเซโจแล้วก็จะใช้ไปตลอดห้าร้อยปีราชวงศ์โจซอน และพระเจ้าแทจงยังทรงแบ่งอาณาจักรโจซอนออกเป็นแปดมณฑล รัชสมัยของพระเจ้าแทจงเป็นสมัยแห่งการวางรากฐานของอาณาจักร ในค.ศ. 1401 ทรงนำเงินกระดาษมาใช้เป็นครั้งแรกในเกาหลี พระเจ้าแทจงทรงดำเนินนโยบายส่งเสริมลัทธิขงจื้อใหม่ (Neo-Confucianism) ซึ่งเข้ามาในเกาหลีตั้งแต่ศตวรรษที่ 13 และกดขี่พระพุทธศาสนา ทรงปิดวัดวาอารามไปหลายร้อยแห่ง ทรงยึดที่ดินและทรัพย์ของสถาบันพระพุทธศาสนามาใช้จ่ายในการบริหารบ้านเมือง

ใน ค.ศ. 1402 พระจักรพรรดิหย่งเล่อ (永乐) แห่งราชวงศ์หมิงทำการยึดอำนาจปราบดาภิเษก พระเจ้าแทจงจึงทรงส่งทูตไปถวายพระพรจักรพรรดิจีนพระองค์ใหม่ พระจักรพรรดิหย่งเล่อจึงทรงตอยแทนด้วยการพระราชทานตราแผ่นดินทองคำและพระราชโองการยอมรับราชวงศ์โจซอนเป็นประเทศราชอย่างเป็นทางการ

แต่พระเจ้าแทโจซึ่งประทับอยู่ที่เมืองฮัมนุงนั้น มิได้มอบตราตั้งอันเป็นสัญลักษณ์สำคัญของกษัตริย์โชซ็อน เพราะพระเจ้าแทจงทรงได้บัลลังก์มาด้วนการเข่นฆ่าพี่น้อง พระเจ้าแทจงทรงส่งทูตไปหลายคน รวมทั้งพระสหายแต่เยาว์วัยชื่อ พักซุน แต่ทั้งหมดก็ถูกพระเจ้าแทโจสังหาร พระเจ้าแทจงจึงปกครองบริหารบ้านเมืองอย่างดี เพื่อให้พระบิดาเห็นในความสามารถและสมควรที่จะได้รับตราตั้ง เริ่มโดยทรงย้ายเมืองหลวงกลับมาที่ฮันซอง ในพ.ศ. 1948 พระเจ้าแทจงก็รับสั่งให้มีการสำรวจที่ดินของขุนนางชินจินซึ่งขุนนางเหล่านี้มักจะซุกซ่อนโฉนดที่ดินเพื่อหนีภาษี เมื่อสำรวจจนครบแล้วพบว่ารายได้ของราชสำนักกลับเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า และยังทรงให้มีระบบโฮแพ คือการสำรวจสำมะโนประชากรเป็นครั้งแรก ให้ชายที่อายุสิบหกปีขึ้นไปทุกคนมาลงทะเบียนกับทางราชการ และทรงจัดตั้งชินมุน เพื่อรับเรื่องร้องเรียนจากชาวบ้านที่เดือดร้อนจากการทำงานของขุนนาง โดยให้มาตีกลองหน้าชินมุน

สละบัลลังก์

พ.ศ. 1961 พระเจ้าแทจงก็สละบัลลังก์ ให้เจ้าชายชุงนยอง (วังเซจา) ครองราชย์เป็นพระเจ้าเซจงมหาราช

แม้ทรงสละบัลลังก์แล้ว แต่ก็ทรงจัดการกิจการบ้านเมืองอยู่ ในฐานะพระเจ้าหลวง (太上王 태상왕) ในพ.ศ. 1962 สลัดญี่ปุ่นจากเกาะสึชิมะไปบุกปล้นจีน ระหว่างทางไปจีนก็ได้บุกปล้นมณฑลชุงชองและฮวางแฮของโชซ็อน ทำให้พระเจ้าแทจงทรงส่งลีจองมูไปบุกยึดเกาะซึชิมา และล้อมเกาะไว้จนในพ.ศ. 1965 ตระกูลโซเจ้าปกครองเกาะซึชิมาก็ยอมจำนน และในพ.ศ. 1986 ก็ได้ให้เอกสิทธิ์ในการค้ากับโชซ็อนให้แก่ตระกูลโซ โดยต้องส่งบรรณาการเป็นการแลกเปลี่ยน (แต่เกาะซึชิมานั้นเป็นท่าเรือให้สองชาติเสมอมา ปัจจุบันเป็นของญี่ปุ่น แต่เกาหลีใต้ก็ได้อ้างสิทธิ ปัจจุบันจึงเป็นปัญหาขัดแย้งกันอยู่)

พระเจ้าแทจงสวรรคตในพ.ศ. 1965

พระบรมวงศานุวงศ์

  • พระราชบิดา: พระเจ้าแทโจ (태조)
  • พระราชมารดา  : พระนางชินอึย ตระกูลฮัน แห่งอันพยอน (신의왕후 한씨, กันยายน ค.ศ.1337 - 21 ตุลาคม ค.ศ.1391)

พระมเหสี พระสนม พระโอรสและพระธิดา

  1. พระนางว็อนกย็อง (원경왕후 민씨, 元敬王后 閔氏, 11 กรกฎาคม ค.ศ. 1365 - 10 กรกฎาคม ค.ศ.1420)
    1. เจ้าชายไม่ทราบพระนาม (ค.ศ.1389)
    2. เจ้าชายไม่ทราบพระนาม (ค.ศ.1390)
    3. เจ้าชายไม่ทราบพระนาม (ค.ศ.1392)
    4. ลีแจ, เจ้าชายยางนยอง (ค.ศ.1394)
    5. ลีโบ, เจ้ชายฮโยรยอง (ค.ศ.1396)
    6. ลีโด, เจ้าชายชุงนยอง - พระเจ้าเซจงมหาราช (ค.ศ.1397)
    7. ลีจง, เจ้าชายซองนยอง (ค.ศ.1405-1418)
      1. ลียัง, เจ้าชายอันพยอง - พระโอรสบุญธรรม
      2. ลียง, เจ้าชายวอนชอน - พระโอรสบุญธรรม
    8. เจ้าหญิงจองซุน
    9. เจ้าหญิงคยองจอง (경정공주, ค.ศ.1387 - ค.ศ.1455)
    10. เจ้าหญิงคยองอัน (경안공주, ค.ศ.1393 - ค.ศ.1415)
    11. เจ้าหญิงจองซอน (정선공주, ค.ศ.1404 - 25 มกราคม ค.ศ.1424)
  2. พระสนมเอกฮโยบิน ตระกูลคิม แห่งชองพุง (孝嬪 金氏)
    1. ลีบี, เจ้าชายคยองนยอง (이비, 경녕군, ค.ศ.1395 - ค.ศ.1458)
  3. พระสนมเอกชินบิน ตระกูลชิน แห่งยองวอล (신빈 신씨 ,信嬪 辛氏, ? - ค.ศ.1435)
    1. ลีอิน, เจ้าชายฮัมนยอง (이인 함녕군, 1402–1467)
    2. ลีจอง, เจ้าชายอนนยอง (이정 온녕군, 1407–1453)
    3. เจ้าหญิงจองชิน (정신옹주)
    4. เจ้าหญิงจองจอง (정정옹주)
    5. เจ้าหญิงซุกจอง (숙정옹주)
    6. เจ้าหญิงซุกนยอง (숙녕옹주)
    7. เจ้าหญิงซุกคยอง (숙경옹주)
    8. เจ้าหญิงซุกกึน (숙근옹주, ? - ค.ศ.1450)
    9. เจ้าหญิงโซชิน (소신옹주)
  4. พระสนมเอกซอนบิน ตระกูลอัน (선빈 안씨, 善嬪 安氏 ? - ค.ศ.1468)
    1. ลีจี, เจ้าชายอิกนยอง (이치 익녕군, ค.ศ.1422 - ค.ศ.1464)
    2. เจ้าหญิงโซซุก (소숙옹주, ? - ค.ศ.1456)
    3. เจ้าหญิงคยองชิน (경신옹주, ไม่รู้วันที่)
    4. เจ้าหญิงไม่ทราบพระนาม
  5. พระสนมเอกอึยบิน ตระกูลควอน แห่งอันดง (의빈 권씨, 懿嬪 權氏)
    1. เจ้าหญิงจองฮเย (정혜옹주, ? - ค.ศ.1424)
  6. พระสนมเอกโซบิน ตระกูลโน (소빈 노씨, 昭嬪盧氏, ? - ค.ศ.1479)
    1. เจ้าหญิงซุกฮเย (숙혜옹주, ? - ค.ศ.1464)
  7. พระสนมเอกมยองบิน ตระกูลคิม แห่งอันดง (명빈 김씨, 明嬪金氏)
    1. เจ้าหญิงซุกอัน (숙안옹주, ? - ค.ศ.1464)
  1. พระสนมซุกอึย ตระกูลแช (숙의 최씨, 淑儀 崔氏)
    1. ลีทะ, เจ้าชายฮวีรยอง (이타 희령군, ? - ค.ศ.1465)
    2. เจ้าหญิงไม่ทราบพระนาม
  2. เจ้าหญิงท็อกซุก ตระกูลลี (덕순옹주 이씨 ,德淑翁主 李氏)
    1. ลีกัน, เจ้าชายฮูรยอง (이간 후령군, ? - ค.ศ.1465)
    2. องค์หญิงซุกซุน (숙순옹주)
  3. พระนางอัน ตระกูลอัน (안씨)
    1. ลีจี, เจ้าชายฮยอรยอง (이지 혜령군, ค.ศ.1407 - ค.ศ.1440)
  4. พระนางซุกกง ตระกูลคิม (숙공궁주 김씨 , ? - ค.ศ.1421)
  5. พระนางอึยจอง ตระกูลโจ (의정궁주 조씨 , ? - ค.ศ.1454)
  6. พระนางฮเยซุน ตระกูลลี (혜순궁주 이씨 , ? - ค.ศ.1438)
  7. พระนางชินซุน ตระกูลลี (신순궁주 이씨)
  8. เจ้าหญิงฮเยซอน ตระกูลฮง (혜선옹주 홍씨)
  9. เจ้าหญิงซุนฮเย ตระกูลจาง (순혜옹주 장씨)
  10. กึมยอง, เจ้าหญิงซอคยอง ไม่ทราบตระกูล (금영 서경옹주)
  11. พระสนม ตระกูลโก (정빈 고씨 后宮 高氏 , ? - ค.ศ.1426)
    1. ลีนง, เจ้าชายกึนนยอง (이농 근녕군, ค.ศ.1411 - ค.ศ.1462)

พระปรมาภิไธย

  • พระเจ้าแทจง คงจอง ซองด็อก ซินคง คอนชอน เชกุก แทจอง คเยอู มุนมู เยชอล ซองนยอล ควางฮโย
  • King Taejong Gongjeong Seongdeok Sin-gong Geoncheon Chegeuk Daejeong Gye-u Munmu Yecheol Seongnyeol Gwanghyo the Great
  • 태종공정성덕신공건천체극대정계우문무예철성렬광효대왕
  • 太宗恭定聖德神功建天體極大正啓佑文武叡哲成烈光孝大王

อ้างอิง

  1. http://www.koreanhistoryproject.org/Ket/C08/E0804.htm
  2. Jae-un Kang, Jae-eun Kang, Suzanne Lee. The land of scholars: two thousand years of Korean Confucianism.
ก่อนหน้า พระเจ้าแทจง ถัดไป
พระเจ้าช็องจง   กษัตริย์แห่งโชซ็อน
(พ.ศ. 1943 - พ.ศ. 1961)
  พระเจ้าเซจง


พระเจ, าแทจง, เกาหล, 태종, นจา, 太宗, อาร, อาร, taejong, เอ, มอาร, aejong, นายน, 1367, พฤษภาคม, 1422, ครองราชย, 1400, 1418, เป, นพระมหากษ, ตร, ชกาลท, แห, งราชวงศ, โชซ, อนของประเทศเกาหล, เป, นพระราชบ, ดาของพระเจ, าเซจงมหาราชร, ปสล, กห, นของท, สานราชวงศ, กษ, ตร, แห,. phraecaaethcng ekahli 태종 hnca 太宗 xarxar Taejong exmxar T aejong 13 mithunayn kh s 1367 30 phvsphakhm kh s 1422 khrxngrachy kh s 1400 kh s 1418 epnphramhakstriyrchkalthi 3 aehngrachwngsochsxnkhxngpraethsekahli epnphrarachbidakhxngphraecaescngmharachphraecaaethcngrupslkhinkhxngphraecaaethcngthisusanrachwngskstriyaehngochsxnkhrxngrachy28 phvscikayn kh s 1400 9 knyayn kh s 1418kxnhnaphraecachxngcngthdipphraecaescngmharachphraecahlwngTenure9 knyayn kh s 1418 30 phvsphakhm kh s 1422kxnhnaphraecachxngcngphrryaphramehsi phranangwxnkyxng trakulmin aehngyxhungphrasnm phrasnmhoybin trakulkhim phrasnmchinbin trakulchin phrasnmsxnbin trakulxn phrasnmxuybin trakulkhwxn phrasnmosbin trakulon phrasnmmyxngbin trakulkhim phrasnmcngbin trakulok phrasnmsukxuy trakulechwphrarachbutrliec ecachayyngyxngliob ecachayhoyryxngliod phraecaescngmharach ecachaychungnyxng phranamhlngsinphrachnmphraecaaethcng khngcxng sxngdxk sinkhng khxnchxn echkuk aethcxng kheyxu munmu eychxl sxngnyxl khwanghoyKing Taejong Gongjeong Seongdeok Sin gong Geoncheon Chegeuk Daejeong Gye u Munmu Yecheol Seongnyeol Gwanghyo the Great태종공정성덕신공건천체극대정계우문무예철성렬광효대왕太宗恭定聖德神功建天體極大正啓佑文武叡哲成烈光孝大王wdpracarchkalTaejongrachwngsliphrarachbidaphraecaaethocphrarachmardaphranangchinxuy trakulhn aehngxnphyxnprasuti13 mithunayn kh s 1367hmhungswrrkht30 phvsphakhm kh s 1422 xayu 55 pi phrarachwngchngkyxngfngphrasphosl enuxha 1 chiwit 1 1 kxtngochsxn 1 2 ehtukarnclaclkhxngecachay 1 3 karrwbrwmxanac 2 slabllngk 3 phrabrmwngsanuwngs 4 phraprmaphiithy 5 xangxingchiwit aekikhkxtngochsxn aekikh phraecaaethcng miphranamedimwa xibngwxn 이방원 李芳遠 phrarachsmphphinpi kh s 1367 epnbutrchaykhnthihakhxngxi sxng key 태조 太祖 aelaidphankarrbrxnginrachwngsokhryxinpi kh s 1382 inchwngaerkekhaidchwybidainkarkhyaykarsnbsnuncakprachachnaelakhunnangphumixiththiphl inkarprabdaphieskkxtngrachwngsihm cakkarsngharcxng mngcu 정몽주 鄭夢周 thiyngkhngphkdikbrachwngsokhryxemuxbidaprabdaphieskepnphraecaaethocaehngochsxnaelwnn xibngwxnkidrbphraysepnecachaychxngxn 정안대군 靖安大君 aelatngphramehsithisinphrachnmipaelwnnepnphranangchinxuy 신의왕후 神懿王后 aetphraecaaethocnnklboprdpranphramehsiphraxngkhihmkhuxphranangchindxk 신덕왕후 神德王后 caktrakulkhngaelatngecachayxixn 의안대군 宜安大君 xibngsxk 이방석 李芳碩 phrarachoxrsthiprasutiaetphramehsiphraxngkhihmepnrchthayath sungsrangkhwamimphxicaekbrrdaphraoxrskhxngphramehsihn 1 odyechphaaxibngwxnsungepnecachaythimikhwamsamarthaelamiphlnganmakthisud ehtukarnclaclkhxngecachay aekikh inpi kh s 1392 ekhaidchwybidakhxngekhaokhnlmrachwngsokhryxaelakxtngrangwngsihm rachwngsochsxn ekhakhadhwngwacaidrbkaraetngtngihepnrchthayathephraaekhamiswnwrwmmakthisudinkarchwykxtngrachwngsochsxn aetphxkhxngekha phraecaaethoc aelaxkhresnabdichxng od cxn 정도전 鄭道傳 idsnbsnunihphrarachoxrsphraxngkhthiaepdkhxngphraecaaethoc aelaepnnxngchaytangmardakhxnglibngwxn oxrskhnthisxngkhxngphranangchindxk libngsxk epnrchthayath khwamkhdaeyngthiekidkhunswnihymacak chxng od cxn sungmixiththiphlaelaepnkhnwangrakthanthangkaremuxngaelakdhmaykhxngrachwngs aelatxngkarihxanackrochsxnnaodyxkhresnabdiodymikstriysnbsnun inkhnathi libngwxn txngkarsrangrabbxbthipkkhrxngodytrngcakkstriy thngsxngfaytangtahnkdithungkhwamekliydchngcakxikfayaelathngsxngfaykphrxmthicapathakn hlngcakekidkarsinphrachnmxyangkrathnhnkhxngphranangchindxk aelaphraecaaethockalngxyuinchwngiwthukkhinkbphramehsi libngwxn thakarkha cxngodcxn aelaphuthisnbsnunekha rwmthungsngharoxrskhnthisxngkhxngphramehsichindxk aelathakaraetngtngtwexngepnrchthayathinpi kh s 1398 ehtukarnthiekidkhunkhrngniklayepnthiruckknthungkhwamkhdaeyngkhrngaerkkhxngecachayphraecaaethocthrngesiyphrathymakemuxphraoxrsekhnkhaknexngephuxaeyngchingbllngkxikthngyngesiyiccakkarsinphrachnmkhxngphramehsi phraecaaethoccungthrngslarachbllngkaelathakaraetngtngoxrskhnthisxngkhxngekha libngkwa hrux phraecachxngcng epnphrarachakhnihm singthi phrecacxngcngkrathaepnkhrngaerkkhuxklbipxyuthiemuxnghlwngedim aekhsxng sungekhaechuxwathinncasadwksbaymakkwa aet libngwxn idthakarsasmxanaciwthaihekidkhwamkhdaeyngkbphraechsthakhxngekha libngkn thiktxngkarxanacechnkn inpi kh s 1400 phraechsthakhxngecachaylibngwxnxikphraxngkhkhuxecachayhwixn 회안대군 懷安大君 libngkn 이방간 李芳幹 kxkbtcayudxanaccaklibngwxn ecachaylibngwxnnathphekhaprabsxngfaytxsukninehtukarnclaclkhxngecachay 왕자의난 王子 亂 khrngthisxng ecachaylibngknphayaephaelathukenreths ecachaylibngwxnbngkhbihphraecacxngcngsthapnaphraxngkhexngepnrchthayath cninthisudphraecacxngcngkthrngthnimidxik slarachbllngkihphraxnuchakhunkhrxngrachytx libngwxn idepnkstriyxngkhthisamkhxngrachwngsochsxn karrwbrwmxanac aekikh layesnkhxngphraecaaethcng phraecaaethcngthrngyayemuxnghlwngklbmacakemuxngaekhsxng sungyayipinrchsmykhxngphraecacxngcng phraecaaethcngthrngptiruprabbkarpkkhrxngkhxngekahliihmthnghmdodymiaebbxyangcakkarpkkhrxngkhxngcin misphaxicxng 의정부 議政府 epnsphathipruksakhxngkstriyepnxngkhkrsungsud rxnglngmakhuxhkkrathrwng 2 육조 六曹 sungrabbnihlngcakphankarepliynaeplngelknxyinrchsmyphraecaesocaelwkcaichiptlxdharxypirachwngsocsxn aelaphraecaaethcngyngthrngaebngxanackrocsxnxxkepnaepdmnthl rchsmykhxngphraecaaethcngepnsmyaehngkarwangrakthankhxngxanackr inkh s 1401 thrngnaenginkradasmaichepnkhrngaerkinekahli phraecaaethcngthrngdaeninnoybaysngesrimlththikhngcuxihm Neo Confucianism sungekhamainekahlitngaetstwrrsthi 13 aelakdkhiphraphuththsasna thrngpidwdwaxaramiphlayrxyaehng thrngyudthidinaelathrphykhxngsthabnphraphuththsasnamaichcayinkarbriharbanemuxngin kh s 1402 phrackrphrrdihyngelx 永乐 aehngrachwngshmingthakaryudxanacprabdaphiesk phraecaaethcngcungthrngsngthutipthwayphraphrckrphrrdicinphraxngkhihm phrackrphrrdihyngelxcungthrngtxyaethndwykarphrarachthantraaephndinthxngkhaaelaphrarachoxngkaryxmrbrachwngsocsxnepnpraethsrachxyangepnthangkaraetphraecaaethocsungprathbxyuthiemuxnghmnungnn miidmxbtratngxnepnsylksnsakhykhxngkstriyochsxn ephraaphraecaaethcngthrngidbllngkmadwnkarekhnkhaphinxng phraecaaethcngthrngsngthutiphlaykhn rwmthngphrashayaeteyawwychux phksun aetthnghmdkthukphraecaaethocsnghar phraecaaethcngcungpkkhrxngbriharbanemuxngxyangdi ephuxihphrabidaehninkhwamsamarthaelasmkhwrthicaidrbtratng erimodythrngyayemuxnghlwngklbmathihnsxng inph s 1948 phraecaaethcngkrbsngihmikarsarwcthidinkhxngkhunnangchincinsungkhunnangehlanimkcasuksxnochndthidinephuxhniphasi emuxsarwccnkhrbaelwphbwarayidkhxngrachsankklbephimkhunepnsxngetha aelayngthrngihmirabbohaeph khuxkarsarwcsamaonprachakrepnkhrngaerk ihchaythixayusibhkpikhunipthukkhnmalngthaebiynkbthangrachkar aelathrngcdtngchinmun ephuxrberuxngrxngeriyncakchawbanthieduxdrxncakkarthangankhxngkhunnang odyihmatiklxnghnachinmunslabllngk aekikhph s 1961 phraecaaethcngkslabllngk ihecachaychungnyxng wngesca khrxngrachyepnphraecaescngmharachaemthrngslabllngkaelw aetkthrngcdkarkickarbanemuxngxyu inthanaphraecahlwng 太上王 태상왕 inph s 1962 sldyipuncakekaasuchimaipbukplncin rahwangthangipcinkidbukplnmnthlchungchxngaelahwangaehkhxngochsxn thaihphraecaaethcngthrngsnglicxngmuipbukyudekaasuchima aelalxmekaaiwcninph s 1965 trakulosecapkkhrxngekaasuchimakyxmcann aelainph s 1986 kidihexksiththiinkarkhakbochsxnihaektrakulos odytxngsngbrrnakarepnkaraelkepliyn aetekaasuchimannepnthaeruxihsxngchatiesmxma pccubnepnkhxngyipun aetekahliitkidxangsiththi pccubncungepnpyhakhdaeyngknxyu phraecaaethcngswrrkhtinph s 1965phrabrmwngsanuwngs aekikhphrarachbida phraecaaethoc 태조 phrarachmarda phranangchinxuy trakulhn aehngxnphyxn 신의왕후 한씨 knyayn kh s 1337 21 tulakhm kh s 1391 phramehsi phrasnm phraoxrsaelaphrathida phranangwxnkyxng 원경왕후 민씨 元敬王后 閔氏 11 krkdakhm kh s 1365 10 krkdakhm kh s 1420 ecachayimthrabphranam kh s 1389 ecachayimthrabphranam kh s 1390 ecachayimthrabphranam kh s 1392 liaec ecachayyangnyxng kh s 1394 liob ecchayhoyryxng kh s 1396 liod ecachaychungnyxng phraecaescngmharach kh s 1397 licng ecachaysxngnyxng kh s 1405 1418 liyng ecachayxnphyxng phraoxrsbuythrrm liyng ecachaywxnchxn phraoxrsbuythrrm ecahyingcxngsun ecahyingkhyxngcxng 경정공주 kh s 1387 kh s 1455 ecahyingkhyxngxn 경안공주 kh s 1393 kh s 1415 ecahyingcxngsxn 정선공주 kh s 1404 25 mkrakhm kh s 1424 phrasnmexkhoybin trakulkhim aehngchxngphung 孝嬪 金氏 libi ecachaykhyxngnyxng 이비 경녕군 kh s 1395 kh s 1458 phrasnmexkchinbin trakulchin aehngyxngwxl 신빈 신씨 信嬪 辛氏 kh s 1435 lixin ecachayhmnyxng 이인 함녕군 1402 1467 licxng ecachayxnnyxng 이정 온녕군 1407 1453 ecahyingcxngchin 정신옹주 ecahyingcxngcxng 정정옹주 ecahyingsukcxng 숙정옹주 ecahyingsuknyxng 숙녕옹주 ecahyingsukkhyxng 숙경옹주 ecahyingsukkun 숙근옹주 kh s 1450 ecahyingoschin 소신옹주 phrasnmexksxnbin trakulxn 선빈 안씨 善嬪 安氏 kh s 1468 lici ecachayxiknyxng 이치 익녕군 kh s 1422 kh s 1464 ecahyingossuk 소숙옹주 kh s 1456 ecahyingkhyxngchin 경신옹주 imruwnthi ecahyingimthrabphranam phrasnmexkxuybin trakulkhwxn aehngxndng 의빈 권씨 懿嬪 權氏 ecahyingcxnghey 정혜옹주 kh s 1424 phrasnmexkosbin trakulon 소빈 노씨 昭嬪盧氏 kh s 1479 ecahyingsukhey 숙혜옹주 kh s 1464 phrasnmexkmyxngbin trakulkhim aehngxndng 명빈 김씨 明嬪金氏 ecahyingsukxn 숙안옹주 kh s 1464 phrasnmsukxuy trakulaech 숙의 최씨 淑儀 崔氏 litha ecachayhwiryxng 이타 희령군 kh s 1465 ecahyingimthrabphranam ecahyingthxksuk trakulli 덕순옹주 이씨 德淑翁主 李氏 likn ecachayhuryxng 이간 후령군 kh s 1465 xngkhhyingsuksun 숙순옹주 phranangxn trakulxn 안씨 lici ecachayhyxryxng 이지 혜령군 kh s 1407 kh s 1440 phranangsukkng trakulkhim 숙공궁주 김씨 kh s 1421 phranangxuycxng trakuloc 의정궁주 조씨 kh s 1454 phranangheysun trakulli 혜순궁주 이씨 kh s 1438 phranangchinsun trakulli 신순궁주 이씨 ecahyingheysxn trakulhng 혜선옹주 홍씨 ecahyingsunhey trakulcang 순혜옹주 장씨 kumyxng ecahyingsxkhyxng imthrabtrakul 금영 서경옹주 phrasnm trakulok 정빈 고씨 后宮 高氏 kh s 1426 linng ecachaykunnyxng 이농 근녕군 kh s 1411 kh s 1462 phraprmaphiithy aekikhphraecaaethcng khngcxng sxngdxk sinkhng khxnchxn echkuk aethcxng kheyxu munmu eychxl sxngnyxl khwanghoy King Taejong Gongjeong Seongdeok Sin gong Geoncheon Chegeuk Daejeong Gye u Munmu Yecheol Seongnyeol Gwanghyo the Great 태종공정성덕신공건천체극대정계우문무예철성렬광효대왕 太宗恭定聖德神功建天體極大正啓佑文武叡哲成烈光孝大王xangxing aekikh http www koreanhistoryproject org Ket C08 E0804 htm Jae un Kang Jae eun Kang Suzanne Lee The land of scholars two thousand years of Korean Confucianism kxnhna phraecaaethcng thdipphraecachxngcng kstriyaehngochsxn ph s 1943 ph s 1961 phraecaescngekhathungcak https th wikipedia org w index php title phraecaaethcng amp oldid 9233253, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม