fbpx
วิกิพีเดีย

พระเจ้าโคจงแห่งโครยอ

พระเจ้าโคจงแห่งโครยอ (เกาหลี고종; ฮันจา高宗; อาร์อาร์Gojong; เอ็มอาร์Kojong ค.ศ. 1192 - ค.ศ. 1259) เป็นจักรพรรดิองค์ที่ 23 แห่งราชวงศ์โครยอ (ค.ศ.1213-1259)

พระเจ้าโคจงประสูติในรัชกาลของพระเจ้ามยองจง เป็นพระโอรสขององค์ชายรัชทายาทและพระชายาตระกูลยู ในค.ศ. 1197 พระเจ้ามยองจงทรงถูกชเวชุงฮอนปลดจากราชสมบัติ และเนรเทศพระราชวงศ์ไปเกาะคังฮวา จนในค.ศ. 1211 ชเวชุงฮอนได้นำอดีตองค์ชายรัชทายาทกลับขึ้นมาเป็นพระเจ้าคังจง พระราชวงศ์จึงได้นิวัติพระราชวัง พระเจ้าคังจงอยู๋ในราชสมบัติได้สองปีก็สวรรคต พระโอรสจึงขึ้นครองราชย์ต่อเป็นพระเจ้าโคจง

พระเจ้าโคจงนั้นเช่นเดียวกับพระบิดาและพระอัยกี คือทรงเป็นเพียงกษัตริย์หุ่นเชิดสำหรับผู้นำเผด็จการทหารชเวชุงฮอน เมื่อชเวชุงฮอนเสียชีวิตในค.ศ. 1219 บุตรชายชเวอู (최우, 崔瑀) ก็ก้าวขึ้นมามีอำนาจต่อจากบิดา

การรุกรานโดยมองโกล

ดูบทความหลักที่: การรุกรานเกาหลีของมองโกล

ต้นศตวรรษที่ 13 เป็นช่วงเวลาแห่งการขยายอำนาจของมองโกล ในค.ศ. 1225 วอเคอไตข่าน (Ögedei Khan) ส่งทูตมาเรียกร้องบรรณาการจากโครยอ แต่ทูตมองโกลถูกลอบสังหารอย่างปริศนา วอเคอไตข่านจึงแก้แค้นเกาหลีโดยการส่งแม่ทัพซาร์ไต (Sartai) ยกทัพมองโกลมาบุกเกาหลีในค.ศ. 1231 รุกข้ามแม่น้ำยาลูมาอย่างรวดเร็วชเวอูระดมพลเกาหลีไปป้องกันได้ที่เมืองคูซอง (구성, 龜城) แต่ทัพมองโกลนั้นมีความรวดเร็วสามารถยึดเมืองแคซองได้ในค.ศ. 1232 ด้วยความช่วยเหลือของฮงบกวอน (홍복원, 洪福源) ขุนนางเกาหลีที่ไปเข้ากับมองโกล ราชสำนักเกาหลีต้องยอมเสียเงินทองผ้าไหม รวมทั้งม้าและทาสให้กับมองโกลเป็นค่าชดเชย และวอเคอไตข่านยังให้ผู้ตรวจการ (darugachi) จำนวน 72 คนอยู่ควบคุมสถานการณ์ในโครยอ

แต่ชเวอูก็ได้สั่งให้นำผู้ตรวจการทั้ง 72 คนไปสังหารเสีย แล้วย้ายราชสำนักไปที่เกาะคังฮวา สร้างป้อมปราการแข็งแรงล้อมรอบ ซึ่งแผนการย้ายราชสำนักนี้เป็นที่ต่อต้านของพระเจ้าโคจงและขุนนางฝ่ายพลเรือนทั้งหลาย ที่เห็นว่าไม่ควรจะไปสู้รบกับมองโกลเพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นแก่โครยอ ราชสำนักที่เกาะคังฮวานั้นเป็นวังของชเวอูมากกว่าที่จะเป็นพระราชวังของพระเจ้าโคจง ออเกอเดย์ข่านเห็นว่าการย้ายเมืองหลวงของเกาหลีเป็นการเตรียมรบกับมองโกล จึงส่งทัพมาบุกอีกนำโดยฮงบกวอน ขุนนางเกาหลีที่ไปเข้าพวกมองโกล ปรากฏว่าแม่ทัพซาร์ไตถูกลอบสังหารโดยพระภิกษุชื่อว่าคิมยุนฮู

ทัพมองโกลยังคงอยู่ในเกาหลีต่อมา ในค.ศ. 1236 พระเจ้าโคจงมีพระราชโองการให้จัดพิมพ์พระไตรปิฏกภาษาเกาหลี (팔만대장경, 八萬大藏經, Tripitaka Koreana) เก็บไว้ที่วัดแฮอิน (해인사, 海印寺) ขึ้นมาเพื่อทดแทนของเดิมที่ถูกมองโกลทำลายและทรงเชื่อว่าการทำเช่นนี้จะทำให้ได้บุญและโครยอจะรอดพ้นจากการรุกรานของมองโกล เมื่อวอเคอไตข่านเสียชีวิตในค.ศ. 1241 การรุกรานของมองโกลจึงหยุดไป

ในค.ศ. 1251 มองเกอข่าน (Mongke Khan) ข่านคนใหม่ของมองโกล ได้เรียกร้องให้พระเจ้าโคจงย้ายกลับมาประทับที่เมืองแคซอง มองเกอข่านส่งจาแลร์ไต (Jalairtai) ยกทัพมองโกลเข้ามาบุกโครยออีกครั้ง จนพระเจ้าโคจงต้องทรงยอมจำนน ย้ายกลับมาประทับที่แคซอง แต่ชเวฮัง (최항, 崔沆) บุตรชายของชเวอูและผู้นำทหารต่อจากบิดายังคงอยู่ที่เกาะคังฮวา มองเกข่านเห็นว่าเกาหลียังไม่นอบน้อมเพราะผู้นำเผด็จการทหารจึงต้องการนำตัวชเวฮังมาลงโทษ จาแลร์ไตบุกเกาหลีอีกครั้งในค.ศ. 1254 ซึ่งเป็นครั้งที่รุนแรงที่สุดมีความเสียหายมากที่สุด ทัพมองโกลสังหารชาวเกาหลีไปจำนวนมากเป็นพันคนรวมทั้งเผาทำลายบ้านเมืองและวัตถุมีค่า เกาหลีกลายเป็นแดนมิคสัญญีขณะที่ราชสำนักใช้ชีวิตอย่างหรูหราหลบซ่อนอยู่ที่เกาะคังฮวา

ในที่สุด ค.ศ. 1258 พระเจ้าโคจงร่วมกันวางแผนกับคิมอินจุน (김인준, 金仁俊) และขุนนางฝ่ายพลเรือนทั้งหลาย ใช้ให้ยูคยอง (유경, 柳璥) ทำการลอบสังหารชเวอี (최의, 崔竩) ผู้นำเผด็จการทหารบุตรชายของชเวฮังไปเสีย และพระเจ้าโคจงก็ทรงยอมจำนนต่อมองโกล โดยโครยอตกเป็นเมืองขึ้นของมองโกลและต้องส่งองค์ชายโครยอทั้งหลายไปอยู่กับมองโกลที่เมืองคาราโครุม (Karakorum) และต้องอภิเษกกับเจ้าหญิงมองโกล รวมทั้งผนวกมณฑลซังซอง (쌍성, 雙城) ให้อาณาจักรมองโกลปกครองโดยตรง ในค.ศ. 1259 พระเจ้าโคจงก็ทรงส่งพระโอรสองค์ชายรัชทายาทวังจอน (왕전, 王倎 ภายหลังเป็น พระเจ้าวอนจง) ไปเป็นองค์ประกันกับพวกมองโกล แต่พระเจ้าโคจงก็สวรรคตในปีเดียวกัน องค์ชายวังจอนจึงขึ้นครองราชย์ต่อเป็นพระเจ้าวอนจง

พระเจ้าโคจงในภายหลังได้รับพระนาม พระเจ้าชุงฮอน (충헌왕, 忠憲王) จากจักรรพรรดิหยวนซื่อจูกุบไลข่าน แต่ก็ยังมีพระนามที่พระสุสานอยู่

พระราชวงศ์

  • พระราชบิดา พระเจ้าคังจง (강종, 康宗)
  • พระราชมารดา สมเด็จพระราชินีวอนด็อก ตระกูล ยู 원덕왕후 유씨(元德王后)

พระมเหสี

  • สมเด็จพระราชินีอันฮเย ตระกูล ยู 안혜왕후 유씨(安惠王后 柳氏) พระราชธิดาของพระเจ้าฮุยจงกับสมเด็จพระราชินีวอนพยอง ตระกูล ลิม

พระราชโอรส

  • องค์ชายวอนจง (원종, 元宗) พระราชโอรสของสมเด็จพระราชินีอันฮเย ตระกูลยู
  • องค์ชายอันคยอง 안경공(安慶公) พระราชโอรสของสมเด็จพระราชินีอันฮเย ตระกูลยู

พระราชธิดา

  • องค์หญิงซูฮึง (수흥궁주, 壽興宮主) พระราชธิดาของสมเด็จพระราชินีอันฮเย ตระกูลยู


ก่อนหน้า พระเจ้าโคจงแห่งโครยอ ถัดไป
พระเจ้าคังจง   จักรพรรดิแห่งโครยอ
(พ.ศ. 1740 - พ.ศ. 1747)
  พระเจ้าวอนจง

<references>

อ้างอิง

  1. Jae-un Kang, Jae-eun Kang, Suzanne Lee. The land of scholars: two thousand years of Korean Confucianism.
  2. http://www.koreanhistoryproject.org/Ket/C06/E0602.htm
  3. http://www.koreanhistoryproject.org/Ket/C06/E0604.htm

พระเจ, าโคจงแห, งโครยอ, เกาหล, 고종, นจา, 高宗, อาร, อาร, gojong, เอ, มอาร, kojong, 1192, 1259, เป, นจ, กรพรรด, องค, แห, งราชวงศ, โครยอ, 1213, 1259, พระเจ, าโคจงประส, ในร, ชกาลของพระเจ, ามยองจง, เป, นพระโอรสขององค, ชายร, ชทายาทและพระชายาตระก, ลย, ในค, 1197, พระเจ,. phraecaokhcngaehngokhryx ekahli 고종 hnca 高宗 xarxar Gojong exmxar Kojong kh s 1192 kh s 1259 epnckrphrrdixngkhthi 23 aehngrachwngsokhryx kh s 1213 1259 phraecaokhcngprasutiinrchkalkhxngphraecamyxngcng epnphraoxrskhxngxngkhchayrchthayathaelaphrachayatrakulyu inkh s 1197 phraecamyxngcngthrngthukchewchunghxnpldcakrachsmbti aelaenrethsphrarachwngsipekaakhnghwa cninkh s 1211 chewchunghxnidnaxditxngkhchayrchthayathklbkhunmaepnphraecakhngcng phrarachwngscungidniwtiphrarachwng phraecakhngcngxyuinrachsmbtiidsxngpikswrrkht phraoxrscungkhunkhrxngrachytxepnphraecaokhcngphraecaokhcngnnechnediywkbphrabidaaelaphraxyki khuxthrngepnephiyngkstriyhunechidsahrbphunaephdckarthharchewchunghxn emuxchewchunghxnesiychiwitinkh s 1219 butrchaychewxu 최우 崔瑀 kkawkhunmamixanactxcakbidakarrukranodymxngokl aekikhdubthkhwamhlkthi karrukranekahlikhxngmxngokl tnstwrrsthi 13 epnchwngewlaaehngkarkhyayxanackhxngmxngokl inkh s 1225 wxekhxitkhan Ogedei Khan sngthutmaeriykrxngbrrnakarcakokhryx aetthutmxngoklthuklxbsngharxyangprisna 1 wxekhxitkhancungaekaekhnekahliodykarsngaemthphsarit Sartai ykthphmxngoklmabukekahliinkh s 1231 rukkhamaemnayalumaxyangrwderwchewxuradmphlekahliippxngknidthiemuxngkhusxng 구성 龜城 aetthphmxngoklnnmikhwamrwderwsamarthyudemuxngaekhsxngidinkh s 1232 dwykhwamchwyehluxkhxnghngbkwxn 홍복원 洪福源 khunnangekahlithiipekhakbmxngokl rachsankekahlitxngyxmesiyenginthxngphaihm rwmthngmaaelathasihkbmxngoklepnkhachdechy aelawxekhxitkhanyngihphutrwckar darugachi canwn 72 khnxyukhwbkhumsthankarninokhryxaetchewxukidsngihnaphutrwckarthng 72 khnipsngharesiy aelwyayrachsankipthiekaakhnghwa srangpxmprakaraekhngaernglxmrxb sungaephnkaryayrachsankniepnthitxtankhxngphraecaokhcngaelakhunnangfayphleruxnthnghlay thiehnwaimkhwrcaipsurbkbmxngoklephuxpxngknkhwamesiyhaythixacekidkhunaekokhryx rachsankthiekaakhnghwannepnwngkhxngchewxumakkwathicaepnphrarachwngkhxngphraecaokhcng 2 xxekxedykhanehnwakaryayemuxnghlwngkhxngekahliepnkaretriymrbkbmxngokl cungsngthphmabukxiknaodyhngbkwxn khunnangekahlithiipekhaphwkmxngokl praktwaaemthphsaritthuklxbsngharodyphraphiksuchuxwakhimyunhuthphmxngoklyngkhngxyuinekahlitxma inkh s 1236 phraecaokhcngmiphrarachoxngkarihcdphimphphraitrpitkphasaekahli 팔만대장경 八萬大藏經 Tripitaka Koreana ekbiwthiwdaehxin 해인사 海印寺 khunmaephuxthdaethnkhxngedimthithukmxngoklthalayaelathrngechuxwakarthaechnnicathaihidbuyaelaokhryxcarxdphncakkarrukrankhxngmxngokl emuxwxekhxitkhanesiychiwitinkh s 1241 karrukrankhxngmxngoklcunghyudipinkh s 1251 mxngekxkhan Mongke Khan khankhnihmkhxngmxngokl ideriykrxngihphraecaokhcngyayklbmaprathbthiemuxngaekhsxng mxngekxkhansngcaaelrit Jalairtai ykthphmxngoklekhamabukokhryxxikkhrng cnphraecaokhcngtxngthrngyxmcann yayklbmaprathbthiaekhsxng aetchewhng 최항 崔沆 butrchaykhxngchewxuaelaphunathhartxcakbidayngkhngxyuthiekaakhnghwa mxngekkhanehnwaekahliyngimnxbnxmephraaphunaephdckarthharcungtxngkarnatwchewhngmalngoths caaelritbukekahlixikkhrnginkh s 1254 sungepnkhrngthirunaerngthisudmikhwamesiyhaymakthisud 3 thphmxngoklsngharchawekahliipcanwnmakepnphnkhnrwmthngephathalaybanemuxngaelawtthumikha ekahliklayepnaednmikhsyyikhnathirachsankichchiwitxyanghruhrahlbsxnxyuthiekaakhnghwainthisud kh s 1258 phraecaokhcngrwmknwangaephnkbkhimxincun 김인준 金仁俊 aelakhunnangfayphleruxnthnghlay ichihyukhyxng 유경 柳璥 thakarlxbsngharchewxi 최의 崔竩 phunaephdckarthharbutrchaykhxngchewhngipesiy aelaphraecaokhcngkthrngyxmcanntxmxngokl odyokhryxtkepnemuxngkhunkhxngmxngoklaelatxngsngxngkhchayokhryxthnghlayipxyukbmxngoklthiemuxngkharaokhrum Karakorum aelatxngxphieskkbecahyingmxngokl rwmthngphnwkmnthlsngsxng 쌍성 雙城 ihxanackrmxngoklpkkhrxngodytrng inkh s 1259 phraecaokhcngkthrngsngphraoxrsxngkhchayrchthayathwngcxn 왕전 王倎 phayhlngepn phraecawxncng ipepnxngkhpraknkbphwkmxngokl aetphraecaokhcngkswrrkhtinpiediywkn xngkhchaywngcxncungkhunkhrxngrachytxepnphraecawxncngphraecaokhcnginphayhlngidrbphranam phraecachunghxn 충헌왕 忠憲王 cakckrrphrrdihywnsuxcukubilkhan aetkyngmiphranamthiphrasusanxyuphrarachwngs aekikhphrarachbida phraecakhngcng 강종 康宗 phrarachmarda smedcphrarachiniwxndxk trakul yu 원덕왕후 유씨 元德王后 phramehsi smedcphrarachinixnhey trakul yu 안혜왕후 유씨 安惠王后 柳氏 phrarachthidakhxngphraecahuycngkbsmedcphrarachiniwxnphyxng trakul limphrarachoxrs xngkhchaywxncng 원종 元宗 phrarachoxrskhxngsmedcphrarachinixnhey trakulyu xngkhchayxnkhyxng 안경공 安慶公 phrarachoxrskhxngsmedcphrarachinixnhey trakulyuphrarachthida xngkhhyingsuhung 수흥궁주 壽興宮主 phrarachthidakhxngsmedcphrarachinixnhey trakulyu kxnhna phraecaokhcngaehngokhryx thdipphraecakhngcng ckrphrrdiaehngokhryx ph s 1740 ph s 1747 phraecawxncng lt references gt xangxing aekikh Jae un Kang Jae eun Kang Suzanne Lee The land of scholars two thousand years of Korean Confucianism http www koreanhistoryproject org Ket C06 E0602 htm http www koreanhistoryproject org Ket C06 E0604 htmekhathungcak https th wikipedia org w index php title phraecaokhcngaehngokhryx amp oldid 8988549, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม