fbpx
วิกิพีเดีย

พะยูน

พะยูน
ช่วงเวลาที่มีชีวิตอยู่: อีโอซีนยุคต้น–ปัจจุบัน
คู่พะยูนแม่ลูก
ขณะใช้ปากดุนพื้นทรายหาอาหาร
สถานะการอนุรักษ์

ไม่มั่นคง (IUCN 3.1)
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Animalia
ไฟลัม: Chordata
ชั้น: Mammalia
อันดับ: Sirenia
วงศ์: Dugongidae
Gray, 1821
วงศ์ย่อย: Dugonginae
Simpson, 1932
สกุล: Dugong
Lacépède, 1799
สปีชีส์: D.  dugon
ชื่อทวินาม
Dugong dugon
Müller, 1776
แผนที่แสดงที่อยู่อาศัยของพะยูน
ชื่อพ้อง
  • Trichecus dugon Müller, 1776
  • Trichechus dugung Erxleben, 1777
  • Halicore australis (Retzius, 1794) Owen, 1875
  • Halicore dugong (Gmelin, 1788) Illiger, 1811
  • Dugong indicus (Boddaert, 1785) Lacépède, 1799
  • Halicore cetacea (Illiger, 1815) Heuglin, 1877
  • Halicore syren (Brookes, 1828)
  • Halicore hemprichii Ehrenberg, 1833 (1832)
  • Halicore lottum Ehrenberg, 1833
  • Halicore tabernaculi Rüppell, 1834
  • Halicore malayana (Owen, 1875)
  • Halicore halicore Hilmy, 1949
  • Dugong dugong tabernaculi Gohar, 1957
  • Dugong dugung Jones, 1959

พะยูน เป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่งตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 เป็นสัตว์น้ำชนิดแรกของประเทศไทยที่ได้รับการกำหนดให้เป็นสัตว์ป่าสงวน เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่อาศัยอยู่ในทะเลเขตอบอุ่น มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Dugong dugon อยู่ในอันดับพะยูน (Sirenia)

วิวัฒนาการ

มีการศึกษาพะยูนในทางวิทยาศาสตร์เป็นครั้งแรกใน ค.ศ. 1776 โดยได้ตัวอย่างต้นแบบจากที่จับได้จากน่านน้ำแหลมกู๊ดโฮปถึงฟิลิปปินส์ เนื่องจากมีรูปร่างคล้ายโลมาและวาฬ เดิมจึงถูกจัดรวมอยู่ในอันดับเดียวกันคือ Cetacea แต่จากการศึกษาลักษณะโครงสร้างโดยละเอียดพบว่ามีความแตกต่างกันมาก กล่าวคือ มีขนาดเล็กกว่า หัวกลม รูจมูกแยกจากกัน ปากเล็ก มีฟันหน้าและฟันกรามพัฒนาดี ไม่เป็นฟันยอดแหลมธรรมดาอย่างวาฬ และมีเส้นขนที่ริมฝีปากตลอดชีวิต ใน ค.ศ. 1816 อ็องรี มารี ดูว์ครอแต เดอ แบล็งวีล นักวิทยาศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้แยกความแตกต่างระหว่างพะยูนกับโลมาและวาฬออกจากกัน และจัดพะยูนเข้าไว้ในกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีกีบในอันดับ Sirenia โดยนับว่าพะยูนมีบรรพบุรุษร่วมกันกับช้างมาก่อน

นอกจากนี้ การศึกษาซากโบราณของพะยูนในสกุล Eotheroides ในประเทศอียิปต์ ยังพบว่ามีลักษณะบางอย่างเหมือนและใกล้เคียงกันกับ Moeritherium ซึ่งเป็นต้นตระกูลของช้างยุคอีโอซีนตอนต้นหรือเมื่อประมาณ 40 ล้านปีมาแล้ว Eotheroides เป็นสัตว์มี 4 ขา มีฟันครบและอาศัยอยู่ในน้ำ ต่อมามีวิวัฒนาการเพื่อให้อาศัยอยู่ในน้ำได้ดีขึ้น โดยขาหลังจะลดขนาดลงและหายไปในที่สุด ส่วนขาหน้าจะเปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะคล้ายใบพายเพื่อให้เหมาะสมกับการว่ายน้ำ จากนั้นก็มีวิวัฒนาการมาเรื่อย ๆ จนกลายมาเป็นพะยูนในปัจจุบัน

ลักษณะและพฤติกรรม

พะยูนมีรูปร่างคล้ายแมวน้ำขนาดใหญ่ที่อ้วนกลมเทอะทะ ครีบมีลักษะคล้ายใบพายซึ่งมีวิวัฒนาการมาจากขาหน้าใช้สำหรับพยุงตัวและขุดหาอาหาร ไม่มีครีบหลัง ไม่มีใบหู ตามีขนาดเล็ก ริมฝีปากมีเส้นขนอยู่โดยรอบ ตัวผู้บางตัวเมื่อเข้าสู่วัยรุ่นจะมีฟันคู่หนึ่งงอกออกจากปากคล้ายงาช้าง ใช้สำหรับต่อสู้เพื่อแย่งคู่กับใช้ขุดหาอาหาร ในตัวเมียมีนมอยู่ 2 เต้า ขนาดเท่านิ้วก้อย ยาวประมาณ 2 เซนติเมตร อยู่ถัดลงมาจากขาคู่หน้า สำหรับเลี้ยงลูกอ่อน มีลำตัวและหางคล้ายโลมา สีสันของลำตัวด้านหลังเป็นสีเทาดำ หายใจทางปอด จึงต้องหายใจบริเวณผิวน้ำ 1–2 นาที อายุ 9–10 ปี สามารถสืบพันธุ์ได้ เวลาท้อง 9–14 เดือน ปกติมีลูกได้ 1 ตัว ไม่เกิน 2 ตัว แรกเกิดยาว 1 เมตร หนัก 15–20 กิโลกรัม ใช้เวลาตั้งท้องประมาณ 1 ปี กินนมและหญ้าทะเลประมาณ 2–3 สัปดาห์ หย่านมประมาณ 8 เดือน อายุประมาณ 70 ปี โดยแม่พะยูนจะดูแลลูกไปจนโต ขนาดเมื่อโตเต็มที่ประมาณ 2 เมตร ถึง 3 เมตร น้ำหนักเต็มที่ได้ถึง 300 กิโลกรัม

พะยูนสามารถกลั้นหายใจใต้น้ำได้นานราว 20 นาที เมื่อจะนอนหลับพักผ่อน พะยูนจะทิ้งตัวลงในแนวดิ่ง และนอนอยู่นิ่ง ๆ กับพื้นทะเลราว 20 นาที ก่อนจะขึ้นมาหายใจอีกครั้งหนึ่ง

อาหารของพะยูน ได้แก่ หญ้าทะเลที่ขึ้นตามแถบชายฝั่งและน้ำตื้น โดยพะยูนมักจะหากินในเวลากลางวัน และใช้เวลานานถึง 8 ชั่วโมงต่อวัน พฤติกรรมการหากินจะคล้ายกับหมู โดยจะใช้ครีบอกและปากดุนพื้นทรายไถไปเรื่อย ๆ จนบางครั้งจะเห็นทางยาวตามชายหาด จากพฤติกรรมเช่นนี้ พะยูนจึงได้ชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "หมูน้ำ" หรือ "หมูดุด" ในแถบจังหวัดจันทบุรี บางตัวที่เชื่องกับมนุษย์อาจเกาะกินตะไคร่บริเวณใต้ท้องเรือได้

การกระจายพันธุ์และการอนุรักษ์

พะยูนพบได้ในทะเลเขตอบอุ่นอย่างกว้างขวางตั้งแต่ชายฝั่งของแอฟริกาตะวันออก มหาสมุทรอินเดีย ทะเลอันดามัน อ่าวไทย ทะเลจีนใต้ ทะเลฟิลิปปิน ทะเลซูลู ทะเลเซเลบีส เกาะชวา จนถึงโอเชียเนีย โดยปกติแล้วมักจะไม่อาศัยอยู่น้ำที่ขุ่น

สำหรับสถานะของพะยูนในประเทศไทยอยู่ในภาวะวิกฤต เนื่องจากถูกคุกคามอย่างหนักในเรื่องถิ่นที่อยู่อาศัย ทำให้พฤติกรรมการหากินเปลี่ยนไปกลายเป็นมักจะหากินเพียงลำพังตัวเดียว ปัจจุบันในประเทศไทยเหลืออยู่เพียงที่เดียว คือ บริเวณหาดเจ้าไหมและรอบ ๆ เกาะลิบง จังหวัดตรัง เท่านั้น และอาจเป็นไปได้ว่ายังมีเหลืออยู่แถบทะเลจังหวัดระยอง แต่ยังไม่มีรายงานที่มีข้อมูลยืนยันถึงเรื่องนี้เพียงพอ

ในวันที่ 23 เมษายน พ.ศ. 2549 มีชาวประมงจับพะยูนตัวหนึ่งได้ที่อ่าวคุ้งกระเบน จังหวัดจันทบุรี หลังจากการหายตัวไปนานของพะยูนในแถบนี้นานถึง 34 ปี (ตัวสุดท้ายที่จับได้ในบริเวณนี้คือเมื่อ พ.ศ. 2515) พะยูนตัวดังกล่าวมีความยาว 2 เมตร น้ำหนักประมาณ 200 กิโลกรัม

ใน พ.ศ. 2554 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ทำพิธีลงนามบันทึกความเข้าใจว่าด้วยการอนุรักษ์และการจัดการพะยูนและแหล่งที่อยู่อาศัยของพะยูน โดยครอบคลุมพื้นที่อาศัยของพะยูนทั้งหมด ระหว่างกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กับโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ/อนุสัญญาว่าด้วยชนิดพันธุ์ที่มีการเคลื่อนย้ายถิ่น โดยที่ประเทศไทยนับเป็นประเทศที่ 20 ที่ลงนามในบันทึกความเข้าใจนี้

มีรายงานว่า ประเทศที่มีประชากรพะยูนที่หลงเหลืออยู่มากที่สุดคือออสเตรเลีย มีอยู่ประมาณ 20,000 ตัว โดยสถานที่ที่พบมากที่สุดคืออ่าวชาร์กทางภาคตะวันตกของประเทศ มีประมาณ 10,000 ตัว คิดเป็นร้อยละ 12.5 ของประชากรพะยูนทั่วโลก เพราะเป็นสถานที่อุดมไปด้วยหญ้าทะเล ขณะที่ในประเทศไทย สถานที่ที่เป็นแหล่งอาศัยแหล่งสุดท้ายของพะยูน คือ ทะเลจังหวัดตรัง โดยพบที่รอบ ๆ เกาะลิบง มากที่สุด คาดว่ามีราว 210 ตัว ซึ่งเป็นข้อมูลจากการสำรวจในเดือนมกราคม พ.ศ. 2557 โดยเฉพาะที่เกาะลิบงนั้นเป็นที่อาศัยของจำนวนประชากรพะยูนในประเทศมากถึงร้อยละ 60–70 ซึ่งปัจจุบันถูกคุกคามอย่างหนัก โดยมีการล่าเอาเนื้อ กระดูก และเขี้ยวไปขายตามความเชื่อทางไสยศาสตร์ มีการคำนวณว่าหากพะยูนในน่านน้ำไทยตายปีละ 5 ตัว พะยูนจะหมดไปภายใน 60 ปี และเหลือ 169 ตัว ในการสำรวจเมื่อปี พ.ศ. 2560

ความเชื่อ

พะยูนเป็นสัตว์ที่ทำให้นักเดินเรือในยุคกลางเชื่อว่าคือ นางเงือก เนื่องจากแม่พะยูนเวลาให้นมลูกมักจะกอดอยู่กับอกและตั้งฉากกับท้องทะเล ทำให้แลเห็นในระยะไกลคล้ายผู้หญิงอยู่ในน้ำ พะยูนมีชื่อเรียกในภาษามลายูว่า ดูยุง หรือ ดูยง (duyung) แปลว่า "หญิงสาว" หรือ "ผู้หญิงแห่งท้องทะเล" มีนิทานพื้นบ้านเล่าว่า พะยูนเดิมเป็นผู้หญิงที่ตั้งครรภ์และอยากกินหญ้าทะเล ผู้เป็นสามีจึงไปนำหญ้าทะเลมาให้ แต่ว่ายังไม่พอใจจึงลงไปกินหญ้าทะเลเองในน้ำ เมื่อน้ำทะเลขึ้น ก็กลายเป็นพะยูนไป และได้ให้สัญญากับสามีว่า หากต้องการพบให้ปักเสาไม้ลงไปหนึ่งเสา และจะมาที่เสานี้ตามที่เรียก

มีความเชื่อว่า ทั้งเนื้อ กระดูก และเขี้ยวพะยูน มีคุณสมบัติทางเมตตามหานิยม เขี้ยวพะยูนมีชื่อเรียกเฉพาะในแวดวงการค้าในตลาดมืดว่า "งาช้างน้ำ" ทั้งเขี้ยวและกระดูกพะยูนมีราคาซื้อขายที่แพงมาก โดยมักนำไปทำเป็นหัวแหวน เหมือนกับหนามปลากระเบน นอกจากนี้แล้วยังเชื่อว่าน้ำตาพะยูนและเขี้ยวพะยูนมีอำนาจทำให้เพศตรงข้ามลุ่มหลงคล้ายน้ำมันพรายซึ่งเป็นความเชื่อที่ผิดและไม่ควรทำตามอย่างยิ่ง เพราะไม่สามารถเป็นจริงได้

ในปัจจุบันยังพบผู้ลักลอบ ตัดเขี้ยวพะยูนเพื่อนำไปทำพิธีกรรมทางไสยศาสตร์ โดยไม่คำนึงถึงการเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ของสัตว์ดังกล่าว

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Marsh, H. (2008). Dugong dugon. In: IUCN 2008. IUCN Red List of Threatened Species. Downloaded on 29 December 2008.
  2. http://eprints.cmfri.org.in/655/1/Bulletin_No_26.pdf R.V. Nair, R.S. Lal Mohan, K. Satyanarayana Rao. The Dugong. Dugong dugon. „Bulletin”. 26, ss. 1-47, 1975. Central Marine Fisheries Research Institute Cochin (ang.)]
  3. Dugong dugon in Mammal Species of the World. Wilson, D. E. & Reeder, D. M. (eds.) (2005). Mammal Species of the World. A Taxonomic and Geographic Reference. Third edition. ISBN 0801882214
  4. Myers, P. 2002. Dugongidae. University of Michigan Museum of Zoology. Retrieved on 10 March 2007.
  5. "สารคดี BBC : อัศจรรย์แดนจิงโจ้ ตอนที่ 5 คลิป 2/2". ช่อง 7. 4 November 2014. สืบค้นเมื่อ 4 November 2014.
  6. จุดประกาย, แกะรอยดุหยงทะเลใต้ โดย ชัยณรงค์ กิตินารถอินทราณี. กรุงเทพธุรกิจปีที่ 29 ฉบับที่ 10441: วันจันทร์ที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2560
  7. "Dugong & Din". by: Animal Planet.
  8. "พะยูนไทยเหลือแค่240ตัวตายปีละ15ตัว". กรุงเทพธุรกิจ. 30 June 2011. สืบค้นเมื่อ 3 September 2014.
  9. Riley, Laura and William (2005). Nature's Strongholds: The World's Great Wildlife Reserves. Princeton, New Jersey: Princeton University Press. pp. 595–596. ISBN 0-691-12219-9. สืบค้นเมื่อ 12 July 2011.
  10. "เปิดปม : ล่าพะยูน". ไทยพีบีเอส. 1 September 2014. สืบค้นเมื่อ 3 September 2014.
  11. Winger, Jennifer. 2000. What's in a Name: Manatees and Dugongs. Smithsonian National Zoological Park. Retrieved on 22 July 2007.
  12. ยืดหยัด ใจสมุทร. ตรัง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์มติชน, 2539. 161 หน้า. ISBN 974-7115-60-3
  13. "ตัดปมล่า "ตัดเขี้ยว" พะยูนแม่ลูก-มีแผลลึกคาดสมอเรือกระแทก". Thai PBS. 2020-12-18.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ข้อมูลและวิดีโออนุรักษ์พะยูน
  • โครงการอนุรักษ์พะยูน
  • นักวิชาการผ่าพิสูจน์ซากพะยูนตายที่ระยอง
  • ไทยจับมือญี่ปุ่นศึกษาพฤติกรรมพะยูน
  • พยูนหวนคืนถิ่นอ่าวไทยในรอบ 34 ปี พื้นที่ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอ่าวคุ้งกระเบน

พะย, วงเวลาท, ตอย, โอซ, นย, คต, จจ, นค, แม, กขณะใช, ปากด, นพ, นทรายหาอาหารสถานะการอน, กษ, ไม, นคง, iucn, การจำแนกช, นทางว, ทยาศาสตร, อาณาจ, กร, animaliaไฟล, chordataช, mammaliaอ, นด, sireniaวงศ, dugongidae, gray, 1821วงศ, อย, dugonginae, simpson, 1932สก, dugon. phayunchwngewlathimichiwitxyu xioxsinyukhtn pccubnkhuphayunaemlukkhnaichpakdunphunthrayhaxaharsthanakarxnurksimmnkhng IUCN 3 1 1 karcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Animaliaiflm Chordatachn Mammaliaxndb Sireniawngs Dugongidae Gray 1821wngsyxy Dugonginae Simpson 1932skul Dugong Lacepede 1799spichis D dugonchuxthwinamDugong dugonMuller 1776aephnthiaesdngthixyuxasykhxngphayunchuxphxngTrichecus dugon Muller 1776 Trichechus dugung Erxleben 1777 Halicore australis Retzius 1794 Owen 1875 Halicore dugong Gmelin 1788 Illiger 1811 Dugong indicus Boddaert 1785 Lacepede 1799 Halicore cetacea Illiger 1815 Heuglin 1877 Halicore syren Brookes 1828 Halicore hemprichii Ehrenberg 1833 1832 Halicore lottum Ehrenberg 1833 Halicore tabernaculi Ruppell 1834 Halicore malayana Owen 1875 Halicore halicore Hilmy 1949 Dugong dugong tabernaculi Gohar 1957 Dugong dugung Jones 1959 2 3 phayun epnstwpasngwnchnidhnungtamphrarachbyytisngwnaelakhumkhrxngstwpa ph s 2535 epnstwnachnidaerkkhxngpraethsithythiidrbkarkahndihepnstwpasngwn epnstweliynglukdwynmthixasyxyuinthaelekhtxbxun michuxwithyasastrwa Dugong dugon xyuinxndbphayun Sirenia enuxha 1 wiwthnakar 2 lksnaaelaphvtikrrm 3 karkracayphnthuaelakarxnurks 4 khwamechux 5 duephim 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunwiwthnakar aekikhmikarsuksaphayuninthangwithyasastrepnkhrngaerkin kh s 1776 odyidtwxyangtnaebbcakthicbidcaknannaaehlmkudohpthungfilippins enuxngcakmiruprangkhlayolmaaelawal edimcungthukcdrwmxyuinxndbediywknkhux Cetacea aetcakkarsuksalksnaokhrngsrangodylaexiydphbwamikhwamaetktangknmak klawkhux mikhnadelkkwa hwklm rucmukaeykcakkn pakelk mifnhnaaelafnkramphthnadi imepnfnyxdaehlmthrrmdaxyangwal 4 aelamiesnkhnthirimfipaktlxdchiwit in kh s 1816 xxngri mari duwkhrxaet edx aeblngwil nkwithyasastrchawfrngessidaeykkhwamaetktangrahwangphayunkbolmaaelawalxxkcakkn aelacdphayunekhaiwinklumstweliynglukdwynmthimikibinxndb Sirenia odynbwaphayunmibrrphburusrwmknkbchangmakxnnxkcakni karsuksasakobrankhxngphayuninskul Eotheroides inpraethsxiyipt yngphbwamilksnabangxyangehmuxnaelaiklekhiyngknkb Moeritherium sungepntntrakulkhxngchangyukhxioxsintxntnhruxemuxpraman 40 lanpimaaelw Eotheroides epnstwmi 4 kha mifnkhrbaelaxasyxyuinna txmamiwiwthnakarephuxihxasyxyuinnaiddikhun odykhahlngcaldkhnadlngaelahayipinthisud swnkhahnacaepliynaeplngipmilksnakhlayibphayephuxihehmaasmkbkarwayna caknnkmiwiwthnakarmaeruxy cnklaymaepnphayuninpccubnlksnaaelaphvtikrrm aekikhphayunmiruprangkhlayaemwnakhnadihythixwnklmethxatha khribmilksakhlayibphaysungmiwiwthnakarmacakkhahnaichsahrbphyungtwaelakhudhaxahar immikhribhlng immiibhu tamikhnadelk rimfipakmiesnkhnxyuodyrxb twphubangtwemuxekhasuwyruncamifnkhuhnungngxkxxkcakpakkhlayngachang ichsahrbtxsuephuxaeyngkhukbichkhudhaxahar intwemiyminmxyu 2 eta khnadethaniwkxy yawpraman 2 esntiemtr xyuthdlngmacakkhakhuhna sahrbeliynglukxxn milatwaelahangkhlayolma sisnkhxnglatwdanhlngepnsiethada hayicthangpxd cungtxnghayicbriewnphiwna 1 2 nathi xayu 9 10 pi samarthsubphnthuid ewlathxng 9 14 eduxn pktimilukid 1 tw imekin 2 tw aerkekidyaw 1 emtr hnk 15 20 kiolkrm ichewlatngthxngpraman 1 pi kinnmaelahyathaelpraman 2 3 spdah hyanmpraman 8 eduxn xayupraman 70 pi odyaemphayuncaduaellukipcnot khnademuxotetmthipraman 2 emtr thung 3 emtr nahnketmthiidthung 300 kiolkrmphayunsamarthklnhayicitnaidnanraw 20 nathi emuxcanxnhlbphkphxn phayuncathingtwlnginaenwding aelanxnxyuning kbphunthaelraw 20 nathi kxncakhunmahayicxikkhrnghnungxaharkhxngphayun idaek hyathaelthikhuntamaethbchayfngaelanatun odyphayunmkcahakininewlaklangwn aelaichewlananthung 8 chwomngtxwn 5 phvtikrrmkarhakincakhlaykbhmu odycaichkhribxkaelapakdunphunthrayithiperuxy cnbangkhrngcaehnthangyawtamchayhad cakphvtikrrmechnni phayuncungidchuxeriykxikchuxhnungwa hmuna hrux hmudud inaethbcnghwdcnthburi 6 bangtwthiechuxngkbmnusyxacekaakintaikhrbriewnitthxngeruxid 7 karkracayphnthuaelakarxnurks aekikhphayunphbidinthaelekhtxbxunxyangkwangkhwangtngaetchayfngkhxngaexfrikatawnxxk mhasmuthrxinediy thaelxndamn xawithy thaelcinit thaelfilippin thaelsulu thaeleselbis ekaachwa cnthungoxechiyeniy odypktiaelwmkcaimxasyxyunathikhunsahrbsthanakhxngphayuninpraethsithyxyuinphawawikvt enuxngcakthukkhukkhamxyanghnkineruxngthinthixyuxasy thaihphvtikrrmkarhakinepliynipklayepnmkcahakinephiynglaphngtwediyw pccubninpraethsithyehluxxyuephiyngthiediyw khux briewnhadecaihmaelarxb ekaalibng cnghwdtrng ethann aelaxacepnipidwayngmiehluxxyuaethbthaelcnghwdrayxng aetyngimmiraynganthimikhxmulyunynthungeruxngniephiyngphxinwnthi 23 emsayn ph s 2549 michawpramngcbphayuntwhnungidthixawkhungkraebn cnghwdcnthburi hlngcakkarhaytwipnankhxngphayuninaethbninanthung 34 pi twsudthaythicbidinbriewnnikhuxemux ph s 2515 phayuntwdngklawmikhwamyaw 2 emtr nahnkpraman 200 kiolkrmin ph s 2554 krathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxmidthaphithilngnambnthukkhwamekhaicwadwykarxnurksaelakarcdkarphayunaelaaehlngthixyuxasykhxngphayun odykhrxbkhlumphunthixasykhxngphayunthnghmd rahwangkrmthrphyakrthangthaelaelachayfng krathrwngthrphyakrthrrmchatiaelasingaewdlxm kbokhrngkarsingaewdlxmaehngshprachachati xnusyyawadwychnidphnthuthimikarekhluxnyaythin odythipraethsithynbepnpraethsthi 20 thilngnaminbnthukkhwamekhaicnimiraynganwa praethsthimiprachakrphayunthihlngehluxxyumakthisudkhuxxxsetreliy mixyupraman 20 000 tw 8 odysthanthithiphbmakthisudkhuxxawcharkthangphakhtawntkkhxngpraeths mipraman 10 000 tw khidepnrxyla 12 5 khxngprachakrphayunthwolk ephraaepnsthanthixudmipdwyhyathael 9 5 khnathiinpraethsithy sthanthithiepnaehlngxasyaehlngsudthaykhxngphayun khux thaelcnghwdtrng odyphbthirxb ekaalibng makthisud khadwamiraw 210 tw sungepnkhxmulcakkarsarwcineduxnmkrakhm ph s 2557 odyechphaathiekaalibngnnepnthixasykhxngcanwnprachakrphayuninpraethsmakthungrxyla 60 70 sungpccubnthukkhukkhamxyanghnk odymikarlaexaenux kraduk aelaekhiywipkhaytamkhwamechuxthangisysastr mikarkhanwnwahakphayuninnannaithytaypila 5 tw phayuncahmdipphayin 60 pi 10 aelaehlux 169 tw inkarsarwcemuxpi ph s 2560 6 khwamechux aekikhphayunepnstwthithaihnkedineruxinyukhklangechuxwakhux nangenguxk enuxngcakaemphayunewlaihnmlukmkcakxdxyukbxkaelatngchakkbthxngthael thaihaelehninrayaiklkhlayphuhyingxyuinna phayunmichuxeriykinphasamlayuwa duyung hrux duyng duyung aeplwa hyingsaw 6 hrux phuhyingaehngthxngthael 11 minithanphunbanelawa phayunedimepnphuhyingthitngkhrrphaelaxyakkinhyathael phuepnsamicungipnahyathaelmaih aetwayngimphxiccunglngipkinhyathaelexnginna emuxnathaelkhun kklayepnphayunip aelaidihsyyakbsamiwa haktxngkarphbihpkesaimlngiphnungesa aelacamathiesanitamthieriyk 10 mikhwamechuxwa thngenux kraduk aelaekhiywphayun mikhunsmbtithangemttamhaniym ekhiywphayunmichuxeriykechphaainaewdwngkarkhaintladmudwa ngachangna thngekhiywaelakradukphayunmirakhasuxkhaythiaephngmak odymknaipthaepnhwaehwn ehmuxnkbhnamplakraebn 10 nxkcakniaelwyngechuxwanataphayunaelaekhiywphayunmixanacthaihephstrngkhamlumhlngkhlaynamnphraysungepnkhwamechuxthiphidaelaimkhwrthatamxyangying ephraaimsamarthepncringid 12 inpccubnyngphbphulklxb tdekhiywphayunephuxnaipthaphithikrrmthangisysastr odyimkhanungthungkaresiyngtxkarsuyphnthukhxngstwdngklaw 13 duephim aekikhmanathixangxing aekikh Marsh H 2008 Dugong dugon In IUCN 2008 IUCN Red List of Threatened Species Downloaded on 29 December 2008 http eprints cmfri org in 655 1 Bulletin No 26 pdf R V Nair R S Lal Mohan K Satyanarayana Rao The Dugong Dugong dugon Bulletin 26 ss 1 47 1975 Central Marine Fisheries Research Institute Cochin ang Dugong dugon in Mammal Species of the World Wilson D E amp Reeder D M eds 2005 Mammal Species of the World A Taxonomic and Geographic Reference Third edition ISBN 0801882214 Myers P 2002 Dugongidae University of Michigan Museum of Zoology Retrieved on 10 March 2007 5 0 5 1 sarkhdi BBC xscrryaedncingoc txnthi 5 khlip 2 2 chxng 7 4 November 2014 subkhnemux 4 November 2014 6 0 6 1 6 2 cudprakay aekarxyduhyngthaelit ody chynrngkh kitinarthxinthrani krungethphthurkicpithi 29 chbbthi 10441 wncnthrthi 24 emsayn ph s 2560 Dugong amp Din by Animal Planet phayunithyehluxaekh240twtaypila15tw krungethphthurkic 30 June 2011 subkhnemux 3 September 2014 Riley Laura and William 2005 Nature s Strongholds The World s Great Wildlife Reserves Princeton New Jersey Princeton University Press pp 595 596 ISBN 0 691 12219 9 subkhnemux 12 July 2011 10 0 10 1 10 2 epidpm laphayun ithyphibiexs 1 September 2014 subkhnemux 3 September 2014 Winger Jennifer 2000 What s in a Name Manatees and Dugongs Smithsonian National Zoological Park Retrieved on 22 July 2007 yudhyd icsmuthr trng krungethph sankphimphmtichn 2539 161 hna ISBN 974 7115 60 3 tdpmla tdekhiyw phayunaemluk miaephllukkhadsmxeruxkraaethk Thai PBS 2020 12 18 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb phayunkhxmulaelawidioxxnurksphayun okhrngkarxnurksphayun nkwichakarphaphisucnsakphayuntaythirayxng ithycbmuxyipunsuksaphvtikrrmphayun phyunhwnkhunthinxawithyinrxb 34 pi phunthisunysuksakarphthnaxawkhungkraebnekhathungcak https th wikipedia org w index php title phayun amp oldid 9345701, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม