fbpx
วิกิพีเดีย

ระบบสืบพันธุ์ของมนุษย์


อวัยวะสำคัญของระบบสืบพันธุ์ของมนุษย์ อาทิ อวัยวะเพศภายนอก (องคชาตและช่องสังวาส) และอวัยวะภายในจำนวนมากได้แก่ต่อมเพศซึ่งผลิตเซลล์สืบพันธุ์ (อัณฑะและรังไข่) โรคในระบบสืบพันธุ์ของมนุษย์ซึ่งมักจะเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์นั้นพบได้บ่อยและแพร่กระจายอย่างกว้างขวาง

แผนภาพแสดงระบบสืบพันธุ์เพศหญิงของมนุษย์
แผนภาพแสดงระบบสืบพันธุ์เพศชายของมนุษย์

โดยทั่วไป สัตว์มีแกนสันหลังชนิดอื่นๆ มีระบบสืบพันธุ์ที่ประกอบด้วยต่อมเพศ ท่อและรูเปิดคล้ายคลึงกับมนุษย์ แต่ก็มีความหลากหลายทางกายภาพอันเกิดจากการปรับตัวในสัตว์มีแกนสันหลังทุกกลุ่ม

ระบบสืบพันธุ์ของมนุษย์

การสืบพันธุ์ของมนุษย์เกิดขึ้นแบบปฏิสนธิภายในโดยการร่วมเพศ ในกระบวนการดังกล่าวองคชาตของเพศชายจะสอดใส่ในช่องคลอดของเพศหญิงจนกระทั่งเพศชายหลั่งน้ำอสุจิซึ่งประกอบด้วยอสุจิประมาณ 70 ล้านตัวเข้าไปในช่องคลอดของเพศหญิง อสุจิซึ่งเป็นเซลล์สืบพันธุ์เพศชายจำนวนมากจะเคลื่อนที่ผ่านช่องคลอดและปากมดลูกเข้าไปในมดลูกหรือท่อนำไข่เพื่อปฏิสนธิกับไข่ หลังการปฏิสนธิและฝังตัวจะเกิดการตั้งครรภ์ของทารกในครรภ์ขึ้นภายในมดลูกของเพศหญิงซึ่งใช้เวลาประมาณ 9 เดือน การตั้งครรภ์จะสิ้นสุดลงเมื่อทารกคลอด การคลอดนั้นต้องอาศัยการบีบตัวของกล้ามเนื้อมดลูก การเปิดออกของปากมดลูก แล้วทารกจึงจะผ่านออกมาทางช่องคลอดได้ ทารกนั้นจะไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้และต้องอาศัยการดูแลจากผู้ปกครองเป็นเวลาหลายปี หนึ่งในการดูแลดังกล่าวคือการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ซึ่งต้องอาศัยต่อมน้ำนมที่อยู่ภายในเต้านมของเพศหญิง

ในมนุษย์มีการเจริญและพัฒนาของระบบสืบพันธุ์อย่างมากมาย นอกเหนือจากการเปลี่ยนแปลงในเกือบทุกอวัยวะในระบบสืบพันธุ์แล้วนั้น ยังพบการเปลี่ยนแปลงอีกในลักษณะเฉพาะทางเพศขั้นทุติยภูมิ (secondary sexual characteristics)

ระบบสืบพันธุ์เพศชาย

 
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย 1. อัณฑะ, 2. เอพิดิไดมิส, 3. คอร์ปัส คาร์เวอร์โนซา, 4. หนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย, 5. เส้นสองสลึง, 6. รูเปิดท่อปัสสาวะ , 7. ส่วนหัวอวัยวะเพศ, 8. คอร์ปัส สปองจิโอซัม, 9. องคชาต, 10. ถุงอัณฑะ

ระบบสืบพันธุ์เพศชายประกอบด้วยอวัยวะที่อยู่ภายนอกร่างกายและรอบๆ บริเวณเชิงกรานซึ่งทำหน้าที่ในกระบวนการสืบพันธุ์ หน้าที่หลักโดยตรงของระบบสืบพันธุ์เพศชายคือการสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศชายหรือสเปอร์มาโทซัว (spermatozoa) เพื่อใช้ผสมพันธุ์กับไข่

อวัยวะสืบพันธุ์เพศชายแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มแรกคือการสร้างและเก็บตัวอสุจิ การสร้างตัวอสุจิเกิดขึ้นภายในอัณฑะที่อยู่ภายในถุงอัณฑะซึ่งช่วยควบคุมอุณหภูมิให้เหมาะสม อสุจิที่ยังไม่เจริญเต็มที่จะเคลื่อนที่ไปยังเอพิดิไดมิส (epididymis) เพื่อพัฒนาและกักเก็บ อวัยวะในกลุ่มที่สองคือต่อมสร้างของเหลวในการหลั่งน้ำอสุจิซึ่งได้แก่ถุงน้ำอสุจิ (seminal vesicles), ต่อมลูกหมาก (prostate) และหลอดนำอสุจิ (vas deferens) และในกลุ่มสุดท้ายคืออวัยวะที่ใช้ในการร่วมเพศและหลั่งน้ำอสุจิในเพศหญิงได้แก่องคชาต ท่อปัสสาวะ หลอดนำอสุจิ และต่อมคาวเปอร์

ลักษณะเฉพาะทางเพศขั้นทุติยภูมิในเพศชายได้แก่ การมีร่างกายสูงใหญ่ โครงร่างกายมีกล้ามเนื้อมากขึ้น เสียงห้าวทุ้ม มีขนตามใบหน้าและลำตัว ไหล่กว้างขึ้น การเจริญของลูกกระเดือกฮอร์โมนที่สำคัญในเพศชายคือแอนโดรเจนและโดยเฉพาะอย่างยิ่งเทสโทสเตอโรน

ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง

 
อวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงภายนอก 1. ขนหัวหน่าว, 2.หนังหุ้มคลิตอริส, 3. คลิตอริส, 4. แคมใหญ่, 5. แคมเล็ก (ปิดช่องคลอด), 6. ฝีเย็บ

ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงประกอบด้วยอวัยวะซึ่งส่วนใหญ่อยู่ภายในร่างกายและรอบๆ บริเวณเชิงกรานซึ่งทำหน้าที่ในกระบวนการสืบพันธุ์ ระบบสืบพันธุ์เพศหญิงประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ได้แก่ ช่องคลอดทำหน้าที่รองรับอสุจิจากเพศชาย, มดลูกซึ่งช่วยรองรับทารกในครรภ์ และรังไข่ทำหน้าที่ผลิตไข่ เต้านมก็เป็นอวัยวะสืบพันธุ์ที่สำคัญอย่างหนึ่งในระยะการดูแลทารก

ช่องคลอดจะเปิดออกภายนอกที่โยนีซึ่งประกอบด้วยแคม คลิตอริส และท่อปัสสาวะ ในระหว่างการมีเพศสัมพันธ์บริเวณเหล่านี้จะหล่อลื่นด้วยเมือกซึ่งคัดหลังจากต่อมบาร์โธลีน (Bartholin's glands) ช่องคลอดต่อเนื่องกับมดลูกโดยมีปากมดลูกอยู่ระหว่างกลาง ในขณะที่มดลูกต่อเนื่องกับรังไข่ผ่านทางท่อนำไข่ ในทุกๆ ช่วงรอบประมาณ 28 วันรังไข่จะปล่อยไข่ออกมาผ่านท่อนำไข่เข้าไปยังมดลูก เยื่อบุมดลูกซึ่งดาดอยู่ด้านในมดลูกและไข่ที่ไม่ได้รับการผสมกับอสุจิจะไหลออกและถูกกำจัดออกไปทุกรอบเดือน ซึ่งเราเรียกกระบวนการนี้ว่า การมีประจำเดือน (menstruation)

ลักษณะเฉพาะทางเพศขั้นทุติยภูมิในเพศหญิงได้แก่ การมีร่างกายเล็กกว่าเพศชาย ร่างกายมีร้อยละของไขมันสูง สะโพกกว้างขึ้น การเจริญของต่อมน้ำนมและเต้านมขยายขนาด ฮอร์โมนเพศที่สำคัญในเพศหญิงคือเอสโตรเจนและโพรเจสเตอโรน

อ้างอิง

  1. STD's Today National Prevention Network, Center for Disease Control, United States Government, retrieving 2007
  2. Sexual Reproduction in Humans. 2006. John W. Kimball. Kimball's Biology Pages, and online textbook.
  3. Hormones of the Reproductive System 2006. John W. Kimball. Kimball's Biology Pages, and online textbook.

ระบบส, บพ, นธ, ของมน, ษย, อว, ยวะสำค, ญของ, อาท, อว, ยวะเพศภายนอก, องคชาตและช, องส, งวาส, และอว, ยวะภายในจำนวนมากได, แก, อมเพศซ, งผล, ตเซลล, บพ, นธ, ณฑะและร, งไข, โรคในซ, งม, กจะเป, นโรคต, ดต, อทางเพศส, มพ, นธ, นพบได, อยและแพร, กระจายอย, างกว, างขวาง, แผนภาพแส. xwywasakhykhxngrabbsubphnthukhxngmnusy xathi xwywaephsphaynxk xngkhchataelachxngsngwas aelaxwywaphayincanwnmakidaektxmephssungphlitesllsubphnthu xnthaaelarngikh orkhinrabbsubphnthukhxngmnusysungmkcaepnorkhtidtxthangephssmphnthnnphbidbxyaelaaephrkracayxyangkwangkhwang 1 aephnphaphaesdngrabbsubphnthuephshyingkhxngmnusy aephnphaphaesdngrabbsubphnthuephschaykhxngmnusy odythwip stwmiaeknsnhlngchnidxun mirabbsubphnthuthiprakxbdwytxmephs thxaelaruepidkhlaykhlungkbmnusy aetkmikhwamhlakhlaythangkayphaphxnekidcakkarprbtwinstwmiaeknsnhlngthukklum enuxha 1 rabbsubphnthukhxngmnusy 1 1 rabbsubphnthuephschay 1 2 rabbsubphnthuephshying 2 xangxingrabbsubphnthukhxngmnusy aekikhkarsubphnthukhxngmnusyekidkhunaebbptisnthiphayinodykarrwmephs inkrabwnkardngklawxngkhchatkhxngephschaycasxdisinchxngkhlxdkhxngephshyingcnkrathngephschayhlngnaxsucisungprakxbdwyxsucipraman 70 lantwekhaipinchxngkhlxdkhxngephshying xsucisungepnesllsubphnthuephschaycanwnmakcaekhluxnthiphanchxngkhlxdaelapakmdlukekhaipinmdlukhruxthxnaikhephuxptisnthikbikh hlngkarptisnthiaelafngtwcaekidkartngkhrrphkhxngtharkinkhrrphkhunphayinmdlukkhxngephshyingsungichewlapraman 9 eduxn kartngkhrrphcasinsudlngemuxtharkkhlxd karkhlxdnntxngxasykarbibtwkhxngklamenuxmdluk karepidxxkkhxngpakmdluk aelwtharkcungcaphanxxkmathangchxngkhlxdid tharknncaimsamarthchwyehluxtwexngidaelatxngxasykarduaelcakphupkkhrxngepnewlahlaypi hnunginkarduaeldngklawkhuxkareliynglukdwynmaemsungtxngxasytxmnanmthixyuphayinetanmkhxngephshying 2 inmnusymikarecriyaelaphthnakhxngrabbsubphnthuxyangmakmay nxkehnuxcakkarepliynaeplnginekuxbthukxwywainrabbsubphnthuaelwnn yngphbkarepliynaeplngxikinlksnaechphaathangephskhnthutiyphumi secondary sexual characteristics rabbsubphnthuephschay aekikh xwywasubphnthuephschay 1 xntha 2 exphidiidmis 3 khxrps kharewxronsa 4 hnnghumplayxwywaephschay 5 esnsxngslung 6 ruepidthxpssawa 7 swnhwxwywaephs 8 khxrps spxngcioxsm 9 xngkhchat 10 thungxntha rabbsubphnthuephschayprakxbdwyxwywathixyuphaynxkrangkayaelarxb briewnechingkransungthahnathiinkrabwnkarsubphnthu hnathihlkodytrngkhxngrabbsubphnthuephschaykhuxkarsrangesllsubphnthuephschayhruxsepxrmaothsw spermatozoa ephuxichphsmphnthukbikhxwywasubphnthuephschayaebngxxkidepn 3 klum klumaerkkhuxkarsrangaelaekbtwxsuci karsrangtwxsuciekidkhunphayinxnthathixyuphayinthungxnthasungchwykhwbkhumxunhphumiihehmaasm xsucithiyngimecriyetmthicaekhluxnthiipyngexphidiidmis epididymis ephuxphthnaaelakkekb xwywainklumthisxngkhuxtxmsrangkhxngehlwinkarhlngnaxsucisungidaekthungnaxsuci seminal vesicles txmlukhmak prostate aelahlxdnaxsuci vas deferens aelainklumsudthaykhuxxwywathiichinkarrwmephsaelahlngnaxsuciinephshyingidaekxngkhchat thxpssawa hlxdnaxsuci aelatxmkhawepxrlksnaechphaathangephskhnthutiyphumiinephschayidaek karmirangkaysungihy okhrngrangkaymiklamenuxmakkhun esiynghawthum mikhntamibhnaaelalatw ihlkwangkhun karecriykhxnglukkraeduxkhxromnthisakhyinephschaykhuxaexnodrecnaelaodyechphaaxyangyingethsothsetxorn 3 rabbsubphnthuephshying aekikh xwywasubphnthuephshyingphaynxk 1 khnhwhnaw 2 hnnghumkhlitxris 3 khlitxris 4 aekhmihy 5 aekhmelk pidchxngkhlxd 6 fieyb rabbsubphnthuephshyingprakxbdwyxwywasungswnihyxyuphayinrangkayaelarxb briewnechingkransungthahnathiinkrabwnkarsubphnthu rabbsubphnthuephshyingprakxbdwy 3 swnhlk idaek chxngkhlxdthahnathirxngrbxsucicakephschay mdluksungchwyrxngrbtharkinkhrrph aelarngikhthahnathiphlitikh etanmkepnxwywasubphnthuthisakhyxyanghnunginrayakarduaeltharkchxngkhlxdcaepidxxkphaynxkthioynisungprakxbdwyaekhm khlitxris aelathxpssawa inrahwangkarmiephssmphnthbriewnehlanicahlxlundwyemuxksungkhdhlngcaktxmbarothlin Bartholin s glands chxngkhlxdtxenuxngkbmdlukodymipakmdlukxyurahwangklang inkhnathimdluktxenuxngkbrngikhphanthangthxnaikh inthuk chwngrxbpraman 28 wnrngikhcaplxyikhxxkmaphanthxnaikhekhaipyngmdluk eyuxbumdluksungdadxyudaninmdlukaelaikhthiimidrbkarphsmkbxsucicaihlxxkaelathukkacdxxkipthukrxbeduxn sungeraeriykkrabwnkarniwa karmipracaeduxn menstruation lksnaechphaathangephskhnthutiyphumiinephshyingidaek karmirangkayelkkwaephschay rangkaymirxylakhxngikhmnsung saophkkwangkhun karecriykhxngtxmnanmaelaetanmkhyaykhnad hxromnephsthisakhyinephshyingkhuxexsotrecnaelaophrecsetxorn 3 xangxing aekikh STD s Today National Prevention Network Center for Disease Control United States Government retrieving 2007 Sexual Reproduction in Humans 2006 John W Kimball Kimball s Biology Pages and online textbook 3 0 3 1 Hormones of the Reproductive System 2006 John W Kimball Kimball s Biology Pages and online textbook bthkhwamekiywkbkaywiphakhsastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi okhrngkarwikikaywiphakhsastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title rabbsubphnthukhxngmnusy amp oldid 8468983, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม