fbpx
วิกิพีเดีย

สำเนียงสงขลา

ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงสงขลา เป็นภาษาไทยถิ่นใต้กลุ่มหนึ่งที่พูดกันมากในจังหวัดสงขลา (แต่ส่วนใหญ่ของหาดใหญ่ใช้ภาษาไทยกลาง) บางส่วนของจังหวัดปัตตานี และจังหวัดยะลา ถือเป็นภาษาไทยถิ่นใต้ที่มีเอกลักษณ์พิเศษ โดยมีลักษณะที่เด่นคือ หางเสียงจะไม่ขาดห้วน แต่จะค่อยๆเบาเสียงลง ซึ่งลักษณะดังกล่าวช่วยให้ภาษาสงขลาฟังแล้วไม่หยาบกระด้างอย่างสำเนียงใต้ถิ่นอื่น นอกจากนี้ ยังมีคำที่ใช้บ่อยในสำเนียงนี้คือ คำว่า เบอะ หรือ กะเบอะ ซึ่งมีความหมายในภาษาไทยมาตรฐานว่า เพราะว่า, ก็เพราะว่า เรียกเงินว่า เบี้ย ในขณะที่ถิ่นอื่นนิยมเรียกว่า ตางค์ และคำที่นิยมใช้อีกคำหนึ่ง คือ ไม่หอน ซึ่งมีความหมายว่า ไม่เคย เช่น ฉานไม่หอนไป เป็นต้น

กลุ่มของสำเนียง

ภาษาไทยถิ่นใต้สำเนียงสงขลาแยกออกเป็น 2 กลุ่ม คือ

สำเนียงสงขลากลุ่มอยู่เหนือน้ำ (โหม่เหนือ)

คือ ภาษาที่ชาวคลองหอยโข่ง สะเดา นาทวี จะนะ เทพา และสะบ้าย้อย พูดจาสื่อสารกัน ภาษาสงขลากลุ่มนี้จะมีเอกลักษณ์ เรื่องภาษาสำเนียงที่มีเอกลักษณ์เฉพาะ เช่น

  • "ยิงหมีนะ" วลีนี้มีความหมายใกล้เคียงกับ "ยังดีนะ" หรือเกือบไปแล้วไหมละ ของภาษาไทยกรุงเทพฯ ประโยคตัวอย่างเช่น “ยิงหมีนะตาย ถ้ากูมาไม่ทัน" หมายความว่า เกือบตายไปแล้ว ยังดีนะที่กูมาทัน
  • คนสงขลากลุ่ม "โหม่เหนือ" (โดยเฉพาะคนคลองหอยโข่ง ดั้งเดิม) จะเรียกมะละกอว่า "กล้วยหลาหรือแตงต้น" ในขณะที่ปักษ์ใต้ทั่วไป จะเรียกมะละกอว่า "ลอกอ"
  • คนสงขลากลุ่ม "โหม่เหนือ" (โดยเฉพาะคนคลองหอยโข่ง สะเดา นาทวี) มักจะพูดคำว่า "หน้อ" ต่อท้ายประโยค และมีหางเสียงที่ยาวไม่ขาดห้วน ถือเป็นสำเนียงสงขลา ที่มีความนุ่มนวลกว่าสำเนียงสงขลากลุ่ม "โหม่บก"
  • คนสงขลากลุ่ม "โหม่เหนือ" (โดยเฉพาะคนคลองหอยโข่งสมัยก่อน) จะใช้คำว่า "ได่" ในความหมาย "ทำไม" ในขณะที่คนปักษ์ใต้ทั่วไปจะใช้คำว่า "ไส่" ตัวอย่างเช่นประโยคต่อไปนี้ที่ แม่เฒ่าชาวคลองหอยโข่ง ถามลูกหลาน ที่ไปเยี่ยมถึงบ้านว่า "มาได่หะโหลก" ซึ่งมีความหมายว่า "มาทำไมละลูก"

สำเนียงสงขลากลุ่มอยู่ริมทะเล (โหม่บก)

โดยเฉพาะชาวสงขลาที่อยู่ในเขตอำเภอสิงหนคร อำเภอสทิงพระ และอำเภอระโนด แม้ส่วนใหญ่จะมีสำเนียงใกล้เคียงกับชาวสงขลาเหนือน้ำ (โหม่เหนือ) แต่ก็มีความแตกต่างที่เห็นได้ชัด คือ

  • การออกเสียง ร ที่ทางคนสงขลาริมทะเล ออกเสียงไม่ได้ทั้งเสียงพยัญชนะนำ และอักษรควบแต่จะใช้ ล แทน เช่น "รัก" จะออกเสียงว่า ลัก จึงมีผลให้ "ฉันรักเธอ" ของคนสิงหนครกลายเป็น "ชั้นหลักเธอ" (เขียนตามเสียงวรรณยุกต์)
  • ในส่วนของ "โหม่เหนือ" (คนคลองหอยโข่ง สะเดา) แม้จะออกเสียง ร ที่เป็นพยัญชนะนำได้ แต่จะออกเสียงอักษรควบ ร ไม่ได้เช่นเดียวกันกับคนสงขลาริมทะเล ตัวอย่างเช่น
    • เปรียบเทียบ - คนสงขลา (ทั้งจังหวัด) จะออกเสียงเป็น "เปลียบเทียบ"
    • แปรงฟัน - คนสงขลา (ทั้งจังหวัด) จะออกเสียงเป็น "แปลงฟัน"

อ้างอิง

  • http://plugmet.orgfree.com/sk_dialect_4-1.htm
  • วิชานิรุกติศาสตร์ เรื่องภาษาถิ่น (ฉบับที่ 1-2) นางสาวซ่อนกลิ่น พิเศษสกลกิจ ผู้บรรยาย หน้า 780 - 802
  • สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ พ.ศ. 2529 สถาบันทักษิณคดีศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  1. หมายเหตุเบื้องต้น กรณีศึกษาภาษาสงขลา บันทึกขนำริมทุ่งปลักเหม็ด

สำเน, ยงสงขลา, ภาษาไทยถ, นใต, เป, นภาษาไทยถ, นใต, กล, มหน, งท, ดก, นมากในจ, งหว, ดสงขลา, แต, วนใหญ, ของหาดใหญ, ใช, ภาษาไทยกลาง, บางส, วนของจ, งหว, ดป, ตตาน, และจ, งหว, ดยะลา, อเป, นภาษาไทยถ, นใต, เอกล, กษณ, เศษ, โดยม, กษณะท, เด, นค, หางเส, ยงจะไม, ขาดห, วน, แต. phasaithythinitsaeniyngsngkhla epnphasaithythinitklumhnungthiphudknmakincnghwdsngkhla aetswnihykhxnghadihyichphasaithyklang bangswnkhxngcnghwdpttani aelacnghwdyala thuxepnphasaithythinitthimiexklksnphiess odymilksnathiednkhux hangesiyngcaimkhadhwn aetcakhxyebaesiynglng sunglksnadngklawchwyihphasasngkhlafngaelwimhyabkradangxyangsaeniyngitthinxun nxkcakni yngmikhathiichbxyinsaeniyngnikhux khawa ebxa hrux kaebxa sungmikhwamhmayinphasaithymatrthanwa ephraawa kephraawa eriykenginwa ebiy inkhnathithinxunniymeriykwa tangkh aelakhathiniymichxikkhahnung khux imhxn sungmikhwamhmaywa imekhy echn chanimhxnip epntn 1 enuxha 1 klumkhxngsaeniyng 1 1 saeniyngsngkhlaklumxyuehnuxna ohmehnux 1 2 saeniyngsngkhlaklumxyurimthael ohmbk 2 xangxingklumkhxngsaeniyng aekikhphasaithythinitsaeniyngsngkhlaaeykxxkepn 2 klum khux saeniyngsngkhlaklumxyuehnuxna ohmehnux aekikh khux phasathichawkhlxnghxyokhng saeda nathwi cana ethpha aelasabayxy phudcasuxsarkn phasasngkhlaklumnicamiexklksn eruxngphasasaeniyngthimiexklksnechphaa echn yinghmina wlinimikhwamhmayiklekhiyngkb yngdina hruxekuxbipaelwihmla khxngphasaithykrungethph praoykhtwxyangechn yinghminatay thakumaimthn hmaykhwamwa ekuxbtayipaelw yngdinathikumathn khnsngkhlaklum ohmehnux odyechphaakhnkhlxnghxyokhng dngedim caeriykmalakxwa klwyhlahruxaetngtn inkhnathipksitthwip caeriykmalakxwa lxkx khnsngkhlaklum ohmehnux odyechphaakhnkhlxnghxyokhng saeda nathwi mkcaphudkhawa hnx txthaypraoykh aelamihangesiyngthiyawimkhadhwn thuxepnsaeniyngsngkhla thimikhwamnumnwlkwasaeniyngsngkhlaklum ohmbk khnsngkhlaklum ohmehnux odyechphaakhnkhlxnghxyokhngsmykxn caichkhawa id inkhwamhmay thaim inkhnathikhnpksitthwipcaichkhawa is twxyangechnpraoykhtxipnithi aemethachawkhlxnghxyokhng thamlukhlan thiipeyiymthungbanwa maidhaohlk sungmikhwamhmaywa mathaimlaluk saeniyngsngkhlaklumxyurimthael ohmbk aekikh odyechphaachawsngkhlathixyuinekhtxaephxsinghnkhr xaephxsthingphra aelaxaephxraond aemswnihycamisaeniyngiklekhiyngkbchawsngkhlaehnuxna ohmehnux aetkmikhwamaetktangthiehnidchd khux karxxkesiyng r thithangkhnsngkhlarimthael xxkesiyngimidthngesiyngphyychnana aelaxksrkhwbaetcaich l aethn echn rk caxxkesiyngwa lk cungmiphlih chnrkethx khxngkhnsinghnkhrklayepn chnhlkethx ekhiyntamesiyngwrrnyukt inswnkhxng ohmehnux khnkhlxnghxyokhng saeda aemcaxxkesiyng r thiepnphyychnanaid aetcaxxkesiyngxksrkhwb r imidechnediywknkbkhnsngkhlarimthael twxyangechn epriybethiyb khnsngkhla thngcnghwd caxxkesiyngepn epliybethiyb aeprngfn khnsngkhla thngcnghwd caxxkesiyngepn aeplngfn xangxing aekikhhttp plugmet orgfree com sk dialect 4 1 htm wichaniruktisastr eruxngphasathin chbbthi 1 2 nangsawsxnklin phiesssklkic phubrryay hna 780 802 saranukrmwthnthrrmphakhit ph s 2529 sthabnthksinkhdisuksa mhawithyalysrinkhrinthrwiorth hmayehtuebuxngtn krnisuksaphasasngkhla bnthukkhnarimthungplkehmdekhathungcak https th wikipedia org w index php title saeniyngsngkhla amp oldid 9042319, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม