fbpx
วิกิพีเดีย

อักษรไคดา

อักษรไคดา (ญี่ปุ่น: カイダー字 โรมาจิ: Kaidā ji; โยนางูนิ: カイダーディー) หรือ อักษรไคดะ (ญี่ปุ่น: カイダ字 โรมาจิ: Kaida ji; โยนางูนิ: カイダディ) เป็นชุดอักษรภาพที่เคยใช้ในหมู่เกาะยาเอยามะซึ่งตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศญี่ปุ่น

อักษรไคดา

ชื่อ ไคดา เป็นคำในภาษาโยนางูนิ เนื่องจากมีการศึกษาอักษรภาพชุดดังกล่าวบนเกาะโยนางูนิเป็นส่วนใหญ่ นอกจากนี้ยังพบการใช้ชุดอักษรนี้ในบริเวณส่วนอื่นของหมู่เกาะยาเอยามะด้วย โดยเฉพาะบนเกาะทาเกโตมิ ซึ่งถูกใช้เป็นประกาศการเสียภาษีที่เกี่ยวข้องกับการเรียกเก็บภาษีรัชชูปการ (poll tax) บนหมู่เกาะยาเอยามะที่ขณะนั้นถูกแคว้นซัตสึมะที่ตั้งอยู่ทางตอนใต้ของเกาะคีวชูปกครองอยู่

ศัพทมูลวิทยา

 
ตัวอย่างอักษรไคดาของซาซาโมริในปี 1893

ซูโด โทชิอิชิ (須藤利一) ตั้งสมมติฐานว่าคำว่า "ไคดา" ของภาษาโยนางูนินี้มาจากคำว่า "คาริยะ" (仮屋) ในภาษาญี่ปุ่นมาตรฐาน ที่แปลว่า "ข้าราชการ" ที่หมายถึงกลุ่มข้าราชการที่มาจากแคว้นซัตสึมะ ซึ่งภาษายาเอยามะได้ยืมไปใช้เรียกขุนนางดังปรากฏในสำเนียงอิชิงะกิปัจจุบันว่า คารยา (Karja) ส่วนในภาษาญี่ปุ่นมาตรฐานจะมีเสียง /j/ ขณะที่ภาษาโยนางูนิกลายเป็นเสียง /d/ และเสียง /r/ จะปรับลงหากมีสระ จากคำว่า "คาริยะ" จึงกลายเป็นคำว่า "ไคดา" จากทฤษฎีนี้จะแสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวเนื่องกันระหว่างระบบภาษีกับการใช้ชุดอักษรภาพดังกล่าว

ประวัติ

หลังจากที่แคว้นซัตสึมะมีชัยเหนืออาณาจักรรีวกีว หลังจากนั้นจึงมีการสำรวจดินแดนโอกินาวะในปี ค.ศ. 1609 และหมู่เกาะยาเอยามะในปี ค.ศ 1611 หลังจากนั้นแคว้นซัตสึมะจึงได้มีการบังคับให้อาณาจักรรีวกีวส่งบรรณาการไปให้แก่แคว้น และเริ่มมีการตั้งภาษีรัชชูปการขึ้นในหมู่เกาะยาเอยามะในปี ค.ศ. 1640 โดยต้องส่งภาษีนั้นไปยังเมืองอิชิงากิ ที่ ๆ จะมีการคำนวณสิ่งของโดยใช้วิธีที่เรียกว่า วาราซัง (ภาษายาเอยามะเรียกว่า บาราซัน) ซึ่งใช้ฟางมัดเป็นปมสำหรับนับหรือคำนวณตัวเลขเช่นเดียวกับกีปูของชาวอินคา ภาษีที่ถูกส่งมาตามจำนวนที่กำหนดไว้ในแต่ละครัวเรือนจะถูกบันทึกไว้บนแผ่นไม้ที่เรียกว่า อิตาฟูดะ หรือ ฮังซัตสึ (板札) ซึ่งจะถูกเขียนด้วยอักษรภาพไคดาเพื่อแจงแก่ชาวบ้านในหมู่เกาะอันห่างไกลที่ยังไม่รู้หนังสือ

จากการศึกษาของซูโด โทชิอิชิพบมุขปาฐะของชาวโยนางูนิกล่าวว่า บรรพบุรุษที่นับขึ้นไป 9 รุ่นของตระกูลเคดางูซูกุ (Kedagusuku) ที่ชื่อมาเซะ (Mase) เป็นผู้สอนอักษรภาพไคดาและวาราซังออกสู่สาธารณะ ซึ่งซูโดคาดว่า หากเกิดขึ้นจริงก็น่าจะเกิดขึ้นช่วงหลังศตวรรษที่ 17 ส่วนใน ยาเอยามะเรกิชิ (Yaeyama rekishi) ซึ่งเป็นเอกสารช่วงศตวรรษที่ 19 ได้อ้างถึงโอฮามะ เซกิ (Ōhama Seiki) ว่าเป็นบุคคลที่ปรับปรุงอักษรภาพที่ใช้เขียนลงอิตาฟูดะให้สมบูรณ์ยิ่งกว่าก่อน ซึ่งจากอักษรภาพในอิตาฟูดะช่วงก่อนศตวรรษที่ 19 นั้นยังพบข้อบกพร่องอยู่

อิเกะมะ เรโซ (池間栄三) ว่าทั้งอักษรภาพไคดาและวาราซังมีประสิทธิภาพพอที่จะสามารถใช้เป็นข้อมูลของทางการได้ จนกระทั่งมีการยกเลิกภาษีรัชชูปการในปี ค.ศ. 1903 กอปรกับพระราโชบายของรัฐบาลเมจิที่ส่งเสริมการศึกษาทั่วประเทศเพื่อลดอัตราการไม่รู้หนังสือ การใช้อักษรไคดาจึงยุติลง กระนั้นยังพบการใช้อักษรไคดาในศิลปะพื้นบ้าน เสื้อยืด และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ เชิงพาณิชย์บนเกาะโยนางูนิและทาเกโตมิ หากแต่มิได้รับการอนุรักษ์ในเชิงวัฒนธรรมเพื่อรักษาระบบการเขียนนี้อย่างใด

ลักษณะ

อักษรไคดา ประกอบด้วย

  • สินค้าพื้นฐาน ได้แก่ ข้าว, ข้าวฟ่าง, ถั่ว, วัว, แกะ, แพะ, ปลา และสิ่งทอ
  • การนับ ได้แก่ ข้าวหนึ่งถุง (), ข้าวหนึ่งกระบวย (), ข้าวหนึ่งกล่อง () และข้าวครึ่งถุง
  • สัญลักษณ์ที่ใช้แสดงครัวเรือน เรียกว่า ดาฮัง (dāhan)

ส่วนการนับเลขมีลักษณะใกล้เคียงกับเลขซูชูมะ (sūchūma) ของหมู่เกาะโอกินาวะและมิยาโกะ ซึ่งคาดว่าน่าจะมีรากฐานจากตัวเลขซูโจว

งานวิจัย

บุคคลแรกที่ทำการศึกษาอักษรภาพไคดาคือกิซูเกะ ซาซาโมริ (Gisuke Sasamori) ซึ่งได้ทำการคัดลอกสำเนาอักษรภาพไคดาจากตำราสั้น ๆ จากหลาย ๆ เล่มลงในหนังสือ การสำรวจหมู่เกาะทะเลใต้ (ญี่ปุ่น: 南島探検 โรมาจิ: Nantō Tanken) ที่ตีพิมพ์จากบันทึกส่วนตัวของเขาขณะใช้แรงงานหนักบนเกาะโอกินาวะเมื่อปี ค.ศ. 1893 ส่วนยาซูซาดะ ทาชิโระ (Yasusada Tashiro) ได้ทำการสะสมการนับเลขระบบต่าง ๆ ในหมู่เกาะโอกินาวะและมิยาโกะ ก่อนบริจาคให้พิพิธภัณฑ์โตเกียวในปี ค.ศ. 1887 ซึ่งบทความการนับเลขแบบซูชูมะของเบซิล แชมเบอร์เลน (Basil Chamberlain) ชาวสหราชอาณาจักร เมื่อปี ค.ศ. 1898 คาดว่ามีการอ้างอิงมาจากของสะสมของทาชิโระด้วย

ในปี ค.ศ. 1915 คิอิชิ ยามูโระ (矢袋喜一) นักคณิตศาสตร์ ได้ทำการรวบรวมตัวอย่างอักษรไคดา, วาราซัง และภาษาถิ่นที่ใช้นับตัวเลข ตีพิมพ์ในหนังสือ คณิตศาสตร์รีวกีวโบราณ (琉球古来の数学) ของเขา แม้ว่ายามูโระจะไม่ได้เข้ามายังเกาะโยนางูนิด้วยตนเอง แต่ในงานเขียนของเขาได้ระบุว่าอักษรภาพไคดายังคงถูกใช้จนถึงช่วงปี ค.ศ. 1880 ส่วนทาดาโอะ คาวามูระ (Tadao Kawamura) นักมานุษยวิทยา ที่ทำการศึกษาด้านมานุษยวิทยาบนหมู่เกาะได้ตั้งข้อสังเกตว่า "ก่อนหน้านี้ไม่นานนัก พวกเขายังใช้ [อักษรไคดา] อยู่" และเขาแสดงให้เห็นว่ามีการใช้อักษรไคดาในการส่งบรรจุหีบห่อ และการศึกษาของซูโด โทชิอิชิ (須藤利一) แสดงให้เห็นการใช้อักษรไคดาสำหรับการทำธุรกรรม และเขาได้นำเสนอด้านนิรุกติศาสตร์ของอักษรภาพนี้ด้วย

อ้างอิง

  1. Uesedo Tōru 上勢頭亨 (August 1976). Taketomi-jima shi minwa min'yō hen 竹富島誌 民話・民俗篇 (ภาษาญี่ปุ่น). ISBN 978-4-588-33433-7.
  2. Sudō Toshiichi 須藤利一 (April 1982) [1944]. Nantō oboegaki 南島覚書 (ภาษาญี่ปุ่น). ISBN 978-4804205083.
  3. Yaeyama rekishi 八重山歴史 (ภาษาญี่ปุ่น). Yaeyama rekishi henshū iinkai 八重山歴史編集委員会. 1954.
  4. Ikema Eizō 池間栄三 (1972) [1959]. Yonaguni no rekishi 与那国の歴史 (ภาษาญี่ปุ่น). ASIN B000J9EK8K.
  5. Hagio Toshiaki 萩尾俊章 (2009). "Yonaguni no kaidā-ji o meguru ichi kōsatsu" 与那国島のカイダー字をめぐる一考察 [A consideration for the "Kaidaa-Ji" (Kaidaa character) in Yonaguni Island]. ใน Okinawa kenritsu hakubutsukan bijutsukan 沖縄県立博物館・美術館 (Okinawa Prefectural Museum and Art Museum) (บ.ก.). [Survey Reports on Natural History, History and Culture of Yonagunijima Island] (PDF) (ภาษาญี่ปุ่น). pp. 49–64. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2016-09-16. สืบค้นเมื่อ 2016-12-04.
  6. Basil Hall Chamberlain (1898). "A Quinary System of Notation employed in Luchu on the Wooden Tallies termed Shō-Chū-Ma". The Journal of the Anthropological Institute of Great Britain and Ireland. London. 27: 383–395. eISSN 2397-2564. ISSN 0959-5295.
  7. Kawamura Tadao 河村只雄 (March 1999) [1939]. Nanpō bunka no tankyū 南方文化の探究 (ภาษาญี่ปุ่น). ISBN 978-4061593701.

กษรไคดา, カイダー字, โรมาจ, kaidā, โยนาง, カイダーディー, หร, กษรไคดะ, カイダ字, โรมาจ, kaida, โยนาง, カイダディ, เป, นช, ดอ, กษรภาพท, เคยใช, ในหม, เกาะยาเอยามะซ, งต, งอย, ทางตะว, นตกเฉ, ยงใต, ของประเทศญ, ไคดา, เป, นคำในภาษาโยนาง, เน, องจากม, การศ, กษาอ, กษรภาพช, ดด, งกล, าวบนเกาะ. xksrikhda yipun カイダー字 ormaci Kaida ji oynanguni カイダーディー hrux xksrikhda yipun カイダ字 ormaci Kaida ji oynanguni カイダディ epnchudxksrphaphthiekhyichinhmuekaayaexyamasungtngxyuthangtawntkechiyngitkhxngpraethsyipunxksrikhda chux ikhda epnkhainphasaoynanguni enuxngcakmikarsuksaxksrphaphchuddngklawbnekaaoynanguniepnswnihy nxkcakniyngphbkarichchudxksrniinbriewnswnxunkhxnghmuekaayaexyamadwy odyechphaabnekaathaekotmi 1 sungthukichepnprakaskaresiyphasithiekiywkhxngkbkareriykekbphasirchchupkar poll tax bnhmuekaayaexyamathikhnannthukaekhwnstsumathitngxyuthangtxnitkhxngekaakhiwchupkkhrxngxyu enuxha 1 sphthmulwithya 2 prawti 3 lksna 4 nganwicy 5 xangxingsphthmulwithya aekikh twxyangxksrikhdakhxngsasaomriinpi 1893 suod othchixichi 須藤利一 tngsmmtithanwakhawa ikhda khxngphasaoynanguninimacakkhawa khariya 仮屋 inphasayipunmatrthan thiaeplwa kharachkar thihmaythungklumkharachkarthimacakaekhwnstsuma sungphasayaexyamaidyumipicheriykkhunnangdngpraktinsaeniyngxichingakipccubnwa kharya Karja swninphasayipunmatrthancamiesiyng j khnathiphasaoynanguniklayepnesiyng d aelaesiyng r caprblnghakmisra cakkhawa khariya cungklayepnkhawa ikhda cakthvsdinicaaesdngihehnthungkhwamekiywenuxngknrahwangrabbphasikbkarichchudxksrphaphdngklaw 2 prawti aekikh hmuekaayaexyama hlngcakthiaekhwnstsumamichyehnuxxanackrriwkiw hlngcaknncungmikarsarwcdinaednoxkinawainpi kh s 1609 aelahmuekaayaexyamainpi kh s 1611 hlngcaknnaekhwnstsumacungidmikarbngkhbihxanackrriwkiwsngbrrnakaripihaekaekhwn aelaerimmikartngphasirchchupkarkhuninhmuekaayaexyamainpi kh s 1640 odytxngsngphasinnipyngemuxngxichingaki thi camikarkhanwnsingkhxngodyichwithithieriykwa warasng phasayaexyamaeriykwa barasn sungichfangmdepnpmsahrbnbhruxkhanwntwelkhechnediywkbkipukhxngchawxinkha phasithithuksngmatamcanwnthikahndiwinaetlakhrweruxncathukbnthukiwbnaephnimthieriykwa xitafuda hrux hngstsu 板札 sungcathukekhiyndwyxksrphaphikhdaephuxaecngaekchawbaninhmuekaaxnhangiklthiyngimruhnngsuxcakkarsuksakhxngsuod othchixichiphbmukhpathakhxngchawoynanguniklawwa brrphburusthinbkhunip 9 runkhxngtrakulekhdangusuku Kedagusuku thichuxmaesa Mase epnphusxnxksrphaphikhdaaelawarasngxxksusatharna sungsuodkhadwa hakekidkhuncringknacaekidkhunchwnghlngstwrrsthi 17 2 swnin yaexyamaerkichi Yaeyama rekishi sungepnexksarchwngstwrrsthi 19 idxangthungoxhama eski Ōhama Seiki waepnbukhkhlthiprbprungxksrphaphthiichekhiynlngxitafudaihsmburnyingkwakxn sungcakxksrphaphinxitafudachwngkxnstwrrsthi 19 nnyngphbkhxbkphrxngxyu 3 xiekama eros 池間栄三 wathngxksrphaphikhdaaelawarasngmiprasiththiphaphphxthicasamarthichepnkhxmulkhxngthangkarid cnkrathngmikarykelikphasirchchupkarinpi kh s 1903 kxprkbphraraochbaykhxngrthbalemcithisngesrimkarsuksathwpraethsephuxldxtrakarimruhnngsux karichxksrikhdacungyutilng 4 krannyngphbkarichxksrikhdainsilpaphunban esuxyud aelaphlitphnthxun echingphanichybnekaaoynanguniaelathaekotmi hakaetmiidrbkarxnurksinechingwthnthrrmephuxrksarabbkarekhiynnixyangidlksna aekikhxksrikhda prakxbdwy sinkhaphunthan idaek khaw khawfang thw ww aeka aepha pla aelasingthx karnb idaek khawhnungthung 俵 khawhnungkrabwy 斗 khawhnungklxng 升 aelakhawkhrungthung sylksnthiichaesdngkhrweruxn eriykwa dahng dahan swnkarnbelkhmilksnaiklekhiyngkbelkhsuchuma suchuma khxnghmuekaaoxkinawaaelamiyaoka sungkhadwanacamirakthancaktwelkhsuocw 5 nganwicy aekikhbukhkhlaerkthithakarsuksaxksrphaphikhdakhuxkisueka sasaomri Gisuke Sasamori sungidthakarkhdlxksaenaxksrphaphikhdacaktarasn cakhlay elmlnginhnngsux karsarwchmuekaathaelit yipun 南島探検 ormaci Nantō Tanken thitiphimphcakbnthukswntwkhxngekhakhnaichaerngnganhnkbnekaaoxkinawaemuxpi kh s 1893 swnyasusada thachiora Yasusada Tashiro idthakarsasmkarnbelkhrabbtang inhmuekaaoxkinawaaelamiyaoka kxnbricakhihphiphithphnthotekiywinpi kh s 1887 sungbthkhwamkarnbelkhaebbsuchumakhxngebsil aechmebxreln Basil Chamberlain chawshrachxanackr emuxpi kh s 1898 6 khadwamikarxangxingmacakkhxngsasmkhxngthachioradwy 5 inpi kh s 1915 khixichi yamuora 矢袋喜一 nkkhnitsastr idthakarrwbrwmtwxyangxksrikhda warasng aelaphasathinthiichnbtwelkh tiphimphinhnngsux khnitsastrriwkiwobran 琉球古来の数学 khxngekha aemwayamuoracaimidekhamayngekaaoynangunidwytnexng aetinnganekhiynkhxngekhaidrabuwaxksrphaphikhdayngkhngthukichcnthungchwngpi kh s 1880 swnthadaoxa khawamura Tadao Kawamura nkmanusywithya thithakarsuksadanmanusywithyabnhmuekaaidtngkhxsngektwa kxnhnaniimnannk phwkekhayngich xksrikhda xyu aelaekhaaesdngihehnwamikarichxksrikhdainkarsngbrrcuhibhx 7 aelakarsuksakhxngsuod othchixichi 須藤利一 aesdngihehnkarichxksrikhdasahrbkarthathurkrrm aelaekhaidnaesnxdanniruktisastrkhxngxksrphaphnidwy 2 xangxing aekikh Uesedo Tōru 上勢頭亨 August 1976 Taketomi jima shi minwa min yō hen 竹富島誌 民話 民俗篇 phasayipun ISBN 978 4 588 33433 7 2 0 2 1 2 2 Sudō Toshiichi 須藤利一 April 1982 1944 Nantō oboegaki 南島覚書 phasayipun ISBN 978 4804205083 Yaeyama rekishi 八重山歴史 phasayipun Yaeyama rekishi henshu iinkai 八重山歴史編集委員会 1954 Ikema Eizō 池間栄三 1972 1959 Yonaguni no rekishi 与那国の歴史 phasayipun ASIN B000J9EK8K 5 0 5 1 Hagio Toshiaki 萩尾俊章 2009 Yonaguni no kaida ji o meguru ichi kōsatsu 与那国島のカイダー字をめぐる一考察 A consideration for the Kaidaa Ji Kaidaa character in Yonaguni Island in Okinawa kenritsu hakubutsukan bijutsukan 沖縄県立博物館 美術館 Okinawa Prefectural Museum and Art Museum b k Yonaguni jima sōgō chōsa hōkokusho 与那国島総合調査報告書 Survey Reports on Natural History History and Culture of Yonagunijima Island PDF phasayipun pp 49 64 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2016 09 16 subkhnemux 2016 12 04 Basil Hall Chamberlain 1898 A Quinary System of Notation employed in Luchu on the Wooden Tallies termed Shō Chu Ma The Journal of the Anthropological Institute of Great Britain and Ireland London 27 383 395 eISSN 2397 2564 ISSN 0959 5295 Kawamura Tadao 河村只雄 March 1999 1939 Nanpō bunka no tankyu 南方文化の探究 phasayipun ISBN 978 4061593701 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xksrikhda amp oldid 9545018, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม