fbpx
วิกิพีเดีย

อัตราเร็วของเสียง

อัตราเร็วของเสียง คือ ระยะทางที่เสียงเดินทางไปในตัวกลางใดๆ ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา โดยทั่วไปเสียงเดินทางในอากาศที่มีอุณหภูมิ 25°C (= 298,15 K) ได้ประมาณ 346 เมตร/วินาที และในอากาศที่อุณหภูมิ 20°C ได้ประมาณ 343 เมตร/วินาที อัตราเร็วที่เสียงเดินทางได้นั้นอาจมีค่ามากขึ้นหรือน้อยลงขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของตัวกลางเป็นหลัก และอาจได้รับอิทธิพลจากความชื้นบ้างเล็กน้อย แต่ไม่ขึ้นกับความดันอากาศ

เนื่องจากการเดินทางของเสียงอาศัยการสั่นของโมเลกุลของตัวกลาง ดังนั้นเสียงจะเดินทางได้เร็วขึ้นหากตัวกลางมีความหนาแน่นมาก ทำให้เสียงเดินทางได้เร็วในของแข็ง แต่เดินทางไม่ได้ในอวกาศ เพราะอวกาศเป็นสุญญากาศจึงไม่มีโมเลกุลของตัวกลางอยู่

การคำนวณอัตราเร็วของเสียง

อัตราเร็วของเสียง c โดยทั่วไปคำนวณหาได้จาก

 

โดย

C คือ สัมประสิทธิ์ของความแข็งเกร็ง (coefficient of stiffness)
  คือ ความหนาแน่น

ดังนั้น อัตราเร็วของเสียง จะเพิ่มขึ้นตามความแข็งเกร็งของวัสดุ และ ลดลงเมื่อความหนาแน่นเพิ่มขึ้น

อัตราเร็วของเสียงในของแข็ง

ของแข็งนั้นมีค่าความแข็งเกร็งไม่เป็นศูนย์ ทั้งต่อแรงบีบอัด หรือ การเปลี่ยนปริมาตร (volumetric deformation) และ แรงเฉือน (shear deformation) ดังนั้นจึงเป็นไปได้ที่จะกำเนิดคลื่นเสียงที่มีความเร็วต่างกัน ขึ้นกับรูปแบบของคลื่น

ในแท่งของแข็ง ซึ่งมีขนาดความหนา (หรือขนาดของตัวกลาง ในแนวตั้งฉากกับการเคลื่อนที่ของคลื่น) เล็กกว่าความยาวคลื่นมาก อัตราเร็วของเสียงหาได้จาก

 

โดย

E คือ มอดุลัสของยัง
  (rho) คือ ความหนาแน่น

ดังนั้น ในเหล็ก อัตราเร็วของเสียงจะมีค่าประมาณ 5100 m/s

ในแท่งของแข็งหนา หรือ ขนาดด้านข้างของตัวกลาง ใหญ่กว่าความยาวคลื่น เสียงจะเดินทางได้เร็วกว่า อัตราเร็วของเสียงสามารถหาได้จากการแทนค่ามอดุลัสของยัง ด้วย มอดุลัสคลื่นหน้าราบ (en:plane wave modulus) ซึ่งหาได้จาก มอดุลัสของยัง และ อัตราส่วนของปัวซง (en:Poisson's ratio)  

 

ดังนั้น อัตราเร็วของเสียง

 .


สำหรับคลื่นตามขวางนั้น มอดุลัสของยัง E จะถูกแทนด้วย ค่ามอดุลัสของแรงเฉือน (en:Shear modulus) G

 .

จะเห็นได้ว่า อัตราเร็วของเสียงในของแข็งขึ้นกับความหนาแน่น ของตัวกลางเท่านั้น โดยไม่ขึ้นกับอุณหภูมิ ของแข็ง เช่น เหล็ก สามารถนำคลื่นด้วยความเร็วที่สูงกว่าอากาศมาก

อัตราเร็วของเสียงในของเหลว

ของเหลวจะมีความแข็งเกร็งต่อแรงอัดเท่านั้น โดยไม่มีความแข็งเกร็งต่อแรงเฉือน ดังนั้นอัตราเร็วของเสียงในของเหลวหาได้โดย

 

โดย

K คือ มอดุลัสของการอัดแอเดียแบติก (adiabatic en:bulk modulus)

อัตราเร็วของเสียงในก๊าซ

ในก๊าซ ค่า K สามารถประมาณโดย

 

โดย

κ คือ ดัชนีแอเดียแบติก (en:adiabatic index) บางครั้งใช้สัญลักษณ์ γ
p คือ ความดัน

ดังนั้น อัตราเร็วของเสียงในก๊าซสามารถคำนวณได้โดย

 

ในกรณี ก๊าซในอุดมคติ (en:ideal gas) จะได้

  โดย

  • R (287.05 J/(kg·K) สำหรับอากาศ) คือ ค่าคงที่ของก๊าซ (en:gas constant) สำหรับอากาศ: ปกติในทางอากาศพลศาสตร์ ค่านี้หาจาก การหารค่าคงที่ของก๊าซสากล   (J/(mol·K)) ด้วย ค่ามวลโมล (en:molar mass) ของอากาศ
  • κ (kappa) คือ ค่า ดัชนีแอเดียแบติก (en:adiabatic index) (เท่ากับ 1.402 สำหรับอากาศ) บางครั้งเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ γ
  • T คือ ค่าอุณหภูมิสัมบูรณ์ (เคลวิน)

(นัวตัน นั้นค้นพบวิธีการหาค่าอัตราเร็วของเสียงก่อนพัฒนาการของ อุณหพลศาสตร์ และได้ใช้การคำนวณแบบอุณหภูมิเสมอ (en:isothermal) แทนที่จะเป็นแบบแอเดียแบติก (en:adiabatic) ซึ่งทำสูตรของนิตันนั้นขาดตัวคูณ κ)


ที่ สภาพบรรยากาศมาตรฐาน (standard atmosphere) :

T0 = 273.15 K (= 0 °C = 32 °F) ความเร็วเสียง 331.5 m/s (= 1087.6 ft/s = 1193 km/h = 741.5 mph = 643.9 นอต
T20 = 293.15 K (= 20 °C = 68 °F) ความเร็วเสียง 343.4 m/s (= 1126.6 ft/s = 1236 km/h = 768.2 mph = 667.1 นอต
T25 = 298.15 K (= 25 °C = 77 °F) ความเร็วเสียง 346.3 m/s (= 1136.2 ft/s = 1246 km/h = 774.7 mph = 672.7 นอต

ในกรณีของก๊าซในอุดมคติ อัตราเร็วของเสียง c ขึ้นกับอุณหภูมิเท่านั้น โดยไม่ขึ้นกับความดัน อากาศนั้นเกือบจะถือได้ว่าเป็นก๊าซในอุดมคติ อุณหภูมิของอากาศเปลี่ยนแปลงตามระดับความสูง เป็นผลให้อัตราเร็วของเสียงที่ระดับความสูงต่างๆ นั้นแตกต่างกัน

ระดับความสูง อุณหภูมิ ม./วิ กม./ชม. ไมล์/ชม. นอต
ระดับน้ำทะเล 15 °C (59 °F) 340 1225 761 661
11,000 ม.–20,000 ม. -57 °C (-70 °F) 295 1062 660 573
29,000 ม. -48 °C (-53 °F) 301 1083 673 585

ใน ตัวกลางที่ไม่มีการกระจาย (non-dispersive medium) – อัตราเร็วของเสียงไม่ขึ้นกับความถี่ ดังนั้นอัตราเร็วในการส่งถ่ายพลังงาน และ อัตราเร็วเร็วในการเคลื่อนที่ของเสียง นั้นมีค่าเท่ากัน ในย่านความถี่เสียงที่เราสามารถได้ยินนั้น อากาศมีคุณสมบัติเป็นตัวกลางที่ไม่มีการกระจาย โปรดสังเกตว่า CO2 ในอากาศนั้นเป็นตัวกลางที่มีการกระจาย และทำให้เกิดการกระจายสำหรับคลื่นเสียงความถี่สูง (28KHz)
ใน ตัวกลางที่มีการกระจาย (dispersive medium) – อัตราเร็วของเสียงจะขึ้นกับความถี่ องค์ประกอบที่แต่ละความถี่จะเดินทางด้วยความเร็วเฟส (phase velocity) ที่แตกต่างกัน ส่วนพลังงานของเสียงจะเดินทางด้วยความเร็วที่ความเร็วกลุ่ม (group velocity) ตัวอย่างของตัวกลางที่มีการกระจาย คือ น้ำ

อัตราเร็วของเสียงในอากาศ

อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงสามารถมีผลกระทบต่ออัตราเร็วของเสียงได้ถ้าอุณหภูมิของอากาศเพิ่มขึ้น ณ ความดันคงที่ อากาศย่อม ขยายตัวออกตามกฏของชาร์ลและจะมีความหนาแน่นลดลงทำให้อัตราเร็วของเสียงเพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิอัตราเร็วของเสียงในอากาศจะแปรผันโดยตรงกับอุณหภูมิ(อุณหภูมิเคลวิน)

อัตราเร็วของเสียงในอากาศโดยประมาณหาได้จาก:

 

โดยที่   คือ อุณหภูมิ ในหน่วย องศาเซลเซียส ความแม่นยำในการประมาณในช่วงของอุณหภูมิในช่วง -20°C ถึง 40°C จะมีค่าความผิดพลาดไม่เกิน 0.2% ในช่วงอุณหภูมิสูงกว่า หรือ ต่ำกว่านั้นอัตราเร็วของเสียงจะประมาณโดย

 
ผลของอุณหภูมิ
θ (°C) c (m/s) ρ (kg/m³) Z (N·s/m³)
−10 325.4 1.341 436.5
−5 328.5 1.316 432.4
0 331.5 1.293 428.3
+5 334.5 1.269 424.5
+10 337.5 1.247 420.7
+15 340.5 1.225 417.0
+20 343.4 1.204 413.5
+25 346.3 1.184 410.0
+30 349.2 1.164 406.6

เลขมัค คือ อัตราส่วนอัตราเร็วของวัตถุ ต่อ อัตราเร็วของเสียง ในอากาศ (หรือตัวกลางนั้น)

การเคลื่อนที่ของวัตถุใดๆด้วยอัตราเร็วเท่ากับเสียง ณ ตำแหน่งนั้น จะเรียกว่าอัตราเร็ว 1 มัค (Mach) ในทำนองเดียวกันถ้าเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็ว 2 เท่าของอัตราเร็วของเสียงวัตถุนั้นก็จะมีความเร็วเป็น 2 มัค

ตัวอย่างอัตราเร็วของเสียงในตัวกลางต่าง ๆ

ตารางด้านล่าง แสดงค่าอัตราเร็วของเสียงในตัวกลาง ที่อุณหภูมิ 20°C

ชนิดวัสดุ ความเร็ว (m/s)
อากาศ 343
น้ำ 1480
น้ำแข็ง 3200
แก้ว 5300
เหล็ก 5200
ตะกั่ว 1200
ไทเทเนียม 4950
พีวีซี (อ่อน) 80
พีวีซี (แข็ง) 1700
คอนกรีต 3100
ฮีเลียม 927

การใช้อัตรเร็วของเสียงวัดระยะทาง

1. ความหนาแน่นของตัวกลาง อัตราเร็วในตัวกลางที่มีความหนาแน่นมากกว่าจะมีค่ามากกว่าในตัวกลางที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า 2. อุณหภูมิอัตราเร็วเสียงจะแปรผันตรงกับรากที่2ของอุณหภูมิเคลวิน เพราะอุณหภูมิสูงขึ้นจะทำให้โมเลกุล มีพลังงานจลน์มากขึ้นการอัดตัวและขยายตัวเร็ว ทำให้เสียงเคลื่อนที่ได้เร็วขึ้น จึงได้ว่า V ∝√T และสำหรับในอากาศนั้น เราสามารถหาอัตราเร็วเสียงที่อุณหภูมิต่าง ๆ ได้โดยอาศัย

สมการ v = vo + 0.6 t หรือ v = 331 + 0.6 t เมื่อ Vo = อัตราเร็วเสียงที่อุณหภูมิ OoC = 331 m/s t = อุณหภูมิ (oC)

การใช้อัตราเร็วของเสียงวัดระยะทาง

การใช้คลื่นเสียงวัดระยะทาง ส่วนมากจะใช้ในน้ำ เนื่องจากอัตราเร็วของเสียงในน้ำมีค่าสูงกว่ายานพาหนะหรือวัตถุอื่นที่เคลื่อนที่ในน้ำมาก เช่นการวัดความลึกของทะเล หรือการใช้คลื่นโซนาร์เป็นเรดาร์ของชาวประมงในการสำรวจหาฝูงปลาเป็นต้น

อ้างอิง

  • ธรรมธร ไกรก่อกิจ (ZEN ACOUSTIC), "เสียงและความเร็วเสียง", สืบค้นวันที่ 19 ธันวาคม 2558

ตราเร, วของเส, ยง, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, ระยะทางท, เส, ยงเด, นทางไปในต, วกลางใดๆ, ได, ในหน, งหน, วยเวลา, โดยท, ว. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudxtraerwkhxngesiyng khux rayathangthiesiyngedinthangipintwklangid idinhnunghnwyewla odythwipesiyngedinthanginxakasthimixunhphumi 25 C 298 15 K idpraman 346 emtr winathi aelainxakasthixunhphumi 20 C idpraman 343 emtr winathi xtraerwthiesiyngedinthangidnnxacmikhamakkhunhruxnxylngkhunxyukbxunhphumikhxngtwklangepnhlk aelaxacidrbxiththiphlcakkhwamchunbangelknxy aetimkhunkbkhwamdnxakasenuxngcakkaredinthangkhxngesiyngxasykarsnkhxngomelkulkhxngtwklang dngnnesiyngcaedinthangiderwkhunhaktwklangmikhwamhnaaennmak thaihesiyngedinthangiderwinkhxngaekhng aetedinthangimidinxwkas ephraaxwkasepnsuyyakascungimmiomelkulkhxngtwklangxyu enuxha 1 karkhanwnxtraerwkhxngesiyng 1 1 xtraerwkhxngesiynginkhxngaekhng 1 2 xtraerwkhxngesiynginkhxngehlw 1 3 xtraerwkhxngesiynginkas 1 4 xtraerwkhxngesiynginxakas 2 twxyangxtraerwkhxngesiyngintwklangtang 3 karichxtrerwkhxngesiyngwdrayathang 4 karichxtraerwkhxngesiyngwdrayathang 5 xangxingkarkhanwnxtraerwkhxngesiyng aekikhxtraerwkhxngesiyng c odythwipkhanwnhaidcak c C r displaystyle c sqrt frac C rho ody C khux smprasiththikhxngkhwamaekhngekrng coefficient of stiffness r displaystyle rho khux khwamhnaaenndngnn xtraerwkhxngesiyng caephimkhuntamkhwamaekhngekrngkhxngwsdu aela ldlngemuxkhwamhnaaennephimkhun xtraerwkhxngesiynginkhxngaekhng aekikh khxngaekhngnnmikhakhwamaekhngekrngimepnsuny thngtxaerngbibxd hrux karepliynprimatr volumetric deformation aela aerngechuxn shear deformation dngnncungepnipidthicakaenidkhlunesiyngthimikhwamerwtangkn khunkbrupaebbkhxngkhluninaethngkhxngaekhng sungmikhnadkhwamhna hruxkhnadkhxngtwklang inaenwtngchakkbkarekhluxnthikhxngkhlun elkkwakhwamyawkhlunmak xtraerwkhxngesiynghaidcak c s o l i d t h i n l o n g i t u d i n a l E r displaystyle c mathrm solid thin longitudinal sqrt frac E rho ody E khux mxdulskhxngyng r displaystyle rho rho khux khwamhnaaenndngnn inehlk xtraerwkhxngesiyngcamikhapraman 5100 m sinaethngkhxngaekhnghna hrux khnaddankhangkhxngtwklang ihykwakhwamyawkhlun esiyngcaedinthangiderwkwa xtraerwkhxngesiyngsamarthhaidcakkaraethnkhamxdulskhxngyng dwy mxdulskhlunhnarab en plane wave modulus sunghaidcak mxdulskhxngyng aela xtraswnkhxngpwsng en Poisson s ratio n displaystyle nu M E 1 n 1 n 2 n 2 displaystyle M E frac 1 nu 1 nu 2 nu 2 dngnn xtraerwkhxngesiyng c s o l i d t h i c k l o n g i t u d i n a l E 1 n r 1 n 2 n 2 displaystyle c mathrm solid thick longitudinal sqrt E 1 nu over rho 1 nu 2 nu 2 sahrbkhluntamkhwangnn mxdulskhxngyng E cathukaethndwy khamxdulskhxngaerngechuxn en Shear modulus G c s o l i d t r a n s v e r s e G r displaystyle c mathrm solid transverse sqrt G over rho caehnidwa xtraerwkhxngesiynginkhxngaekhngkhunkbkhwamhnaaenn khxngtwklangethann odyimkhunkbxunhphumi khxngaekhng echn ehlk samarthnakhlundwykhwamerwthisungkwaxakasmak xtraerwkhxngesiynginkhxngehlw aekikh khxngehlwcamikhwamaekhngekrngtxaerngxdethann odyimmikhwamaekhngekrngtxaerngechuxn dngnnxtraerwkhxngesiynginkhxngehlwhaidody c f l u i d K r displaystyle c mathrm fluid sqrt frac K rho ody K khux mxdulskhxngkarxdaexediyaebtik adiabatic en bulk modulus xtraerwkhxngesiynginkas aekikh inkas kha K samarthpramanody K k p displaystyle K kappa cdot p ody k khux dchniaexediyaebtik en adiabatic index bangkhrngichsylksn g p khux khwamdndngnn xtraerwkhxngesiynginkassamarthkhanwnidody c g a s k p r displaystyle c mathrm gas sqrt kappa cdot p over rho inkrni kasinxudmkhti en ideal gas caidc i d e a l g a s k R T displaystyle c mathrm ideal gas sqrt kappa cdot R cdot T ody R 287 05 J kg K sahrbxakas khux khakhngthikhxngkas en gas constant sahrbxakas pktiinthangxakasphlsastr khanihacak karharkhakhngthikhxngkassakl R displaystyle R J mol K dwy khamwloml en molar mass khxngxakas k kappa khux kha dchniaexediyaebtik en adiabatic index ethakb 1 402 sahrbxakas bangkhrngekhiynaethndwysylksn g T khux khaxunhphumismburn ekhlwin nwtn nnkhnphbwithikarhakhaxtraerwkhxngesiyngkxnphthnakarkhxng xunhphlsastr aelaidichkarkhanwnaebbxunhphumiesmx en isothermal aethnthicaepnaebbaexediyaebtik en adiabatic sungthasutrkhxngnitnnnkhadtwkhun k thi sphaphbrryakasmatrthan standard atmosphere T0 273 15 K 0 C 32 F khwamerwesiyng 331 5 m s 1087 6 ft s 1193 km h 741 5 mph 643 9 nxt T20 293 15 K 20 C 68 F khwamerwesiyng 343 4 m s 1126 6 ft s 1236 km h 768 2 mph 667 1 nxt T25 298 15 K 25 C 77 F khwamerwesiyng 346 3 m s 1136 2 ft s 1246 km h 774 7 mph 672 7 nxtinkrnikhxngkasinxudmkhti xtraerwkhxngesiyng c khunkbxunhphumiethann odyimkhunkbkhwamdn xakasnnekuxbcathuxidwaepnkasinxudmkhti xunhphumikhxngxakasepliynaeplngtamradbkhwamsung epnphlihxtraerwkhxngesiyngthiradbkhwamsungtang nnaetktangkn radbkhwamsung xunhphumi m wi km chm iml chm nxtradbnathael 15 C 59 F 340 1225 761 66111 000 m 20 000 m 57 C 70 F 295 1062 660 57329 000 m 48 C 53 F 301 1083 673 585in twklangthiimmikarkracay non dispersive medium xtraerwkhxngesiyngimkhunkbkhwamthi dngnnxtraerwinkarsngthayphlngngan aela xtraerwerwinkarekhluxnthikhxngesiyng nnmikhaethakn inyankhwamthiesiyngthierasamarthidyinnn xakasmikhunsmbtiepntwklangthiimmikarkracay oprdsngektwa CO2 inxakasnnepntwklangthimikarkracay aelathaihekidkarkracaysahrbkhlunesiyngkhwamthisung 28KHz in twklangthimikarkracay dispersive medium xtraerwkhxngesiyngcakhunkbkhwamthi xngkhprakxbthiaetlakhwamthicaedinthangdwykhwamerwefs phase velocity thiaetktangkn swnphlngngankhxngesiyngcaedinthangdwykhwamerwthikhwamerwklum group velocity twxyangkhxngtwklangthimikarkracay khux na xtraerwkhxngesiynginxakas aekikh xunhphumiepliynaeplngsamarthmiphlkrathbtxxtraerwkhxngesiyngidthaxunhphumikhxngxakasephimkhun n khwamdnkhngthi xakasyxm khyaytwxxktamktkhxngcharlaelacamikhwamhnaaennldlngthaihxtraerwkhxngesiyngephimkhuntamxunhphumixtraerwkhxngesiynginxakascaaeprphnodytrngkbxunhphumi xunhphumiekhlwin xtraerwkhxngesiynginxakasodypramanhaidcak c a i r 331 0 606 8 m s displaystyle c mathrm air approx 331 0 606 cdot theta quad mathrm m s odythi 8 displaystyle theta khux xunhphumi inhnwy xngsaeslesiys khwamaemnyainkarpramaninchwngkhxngxunhphumiinchwng 20 C thung 40 C camikhakhwamphidphladimekin 0 2 inchwngxunhphumisungkwa hrux takwannxtraerwkhxngesiyngcapramanody c a i r 331 1 8 273 m s displaystyle c mathrm air approx 331 sqrt 1 theta over 273 quad mathrm m s phlkhxngxunhphumi8 C c m s r kg m Z N s m 10 325 4 1 341 436 5 5 328 5 1 316 432 40 331 5 1 293 428 3 5 334 5 1 269 424 5 10 337 5 1 247 420 7 15 340 5 1 225 417 0 20 343 4 1 204 413 5 25 346 3 1 184 410 0 30 349 2 1 164 406 6elkhmkh khux xtraswnxtraerwkhxngwtthu tx xtraerwkhxngesiyng inxakas hruxtwklangnn karekhluxnthikhxngwtthuiddwyxtraerwethakbesiyng n taaehnngnn caeriykwaxtraerw 1 mkh Mach inthanxngediywknthaekhluxnthidwyxtraerw 2 ethakhxngxtraerwkhxngesiyngwtthunnkcamikhwamerwepn 2 mkhtwxyangxtraerwkhxngesiyngintwklangtang aekikhtarangdanlang aesdngkhaxtraerwkhxngesiyngintwklang thixunhphumi 20 C chnidwsdu khwamerw m s xakas 343na 1480naaekhng 3200aekw 5300ehlk 5200takw 1200ithetheniym 4950phiwisi xxn 80phiwisi aekhng 1700khxnkrit 3100hieliym 927karichxtrerwkhxngesiyngwdrayathang aekikh1 khwamhnaaennkhxngtwklang xtraerwintwklangthimikhwamhnaaennmakkwacamikhamakkwaintwklangthimikhwamhnaaennnxykwa 2 xunhphumixtraerwesiyngcaaeprphntrngkbrakthi2khxngxunhphumiekhlwin ephraaxunhphumisungkhuncathaihomelkul miphlngnganclnmakkhunkarxdtwaelakhyaytwerw thaihesiyngekhluxnthiiderwkhun cungidwa V T aelasahrbinxakasnn erasamarthhaxtraerwesiyngthixunhphumitang idodyxasysmkar v vo 0 6 t hrux v 331 0 6 t emux Vo xtraerwesiyngthixunhphumi OoC 331 m s t xunhphumi oC karichxtraerwkhxngesiyngwdrayathang aekikhkarichkhlunesiyngwdrayathang swnmakcaichinna enuxngcakxtraerwkhxngesiynginnamikhasungkwayanphahnahruxwtthuxunthiekhluxnthiinnamak echnkarwdkhwamlukkhxngthael hruxkarichkhlunosnarepnerdarkhxngchawpramnginkarsarwchafungplaepntnxangxing aekikhthrrmthr ikrkxkic ZEN ACOUSTIC esiyngaelakhwamerwesiyng subkhnwnthi 19 thnwakhm 2558ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xtraerwkhxngesiyng amp oldid 9455230, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม