fbpx
วิกิพีเดีย

อิเล็กตรอน

อิเล็กตรอน (อังกฤษ: electron) (สัญลักษณ์ e-) เป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเป็นลบ ไม่มีใครรู้จักส่วนประกอบหรือโครงสร้างพื้นฐานของมัน; ในคำกล่าวอื่น ๆ เช่น คาดกันโดยทั่วไปว่ามันจะเป็นอนุภาคที่เป็นมูลฐาน อิเล็กตรอนมีมวลที่เป็นประมาณ 1/18636 เท่าของโปรตอน โมเมนตัมเชิงมุมภายใน (สปิน) ของอิเล็กตรอนเป็นค่าครึ่งจำนวนเต็มในหน่วยของ ħ ซึ่งหมายความว่ามันเป็น เฟอร์มิออน (fermion) ปฏิยานุภาคของอิเล็กตรอนเรียกว่าโพซิตรอน มันเป็นเหมือนกันกับอิเล็กตรอนยกเว้นแต่ว่าจะมีค่าประจุไฟฟ้าและอื่น ๆ ที่มีลักษณะตรงกันข้าม เมื่ออิเล็กตรอนชนกันกับโพซิตรอน อนุภาคทั้งสองอาจกระจัดกระจายออกจากกันและกัน หรือถูกประลัย (annihilate)โดยสิ้นเชิง การผลิตคู่ (หรือมากกว่านั้น) เกิดขึ้นจากโฟตอนรังสีแกมมา อิเล็กตรอน ซึ่งถือเป็นรุ่นแรกของตระกูลอนุภาคเลปตอน (lepton) มีส่วนร่วมในแรงโน้มถ่วง มีปฏิสัมพันธ์กับแรงแม่เหล็กไฟฟ้าและอันตรกิริยาอย่างอ่อน อิเล็กตรอนเช่นเดียวกับสสารทั้งหมด มีคุณสมบัติทางกลศาสตร์ควอนตัมของทั้งคู่อนุภาคและคลื่น วิ่งอยู่รอบๆ นิวเคลียสตามระดับพลังงานของอะตอมนั้นๆ โดยส่วนมากของอะตอม จำนวน อิเล็กตรอน ในอะตอมที่เป็นกลางทางไฟฟ้าจะมีเท่ากับจำนวน โปรตอน เช่น ไฮโดรเจนมีโปรตอน 1 ตัว และอิเล็กตรอน 1 ตัว ฮีเลียมมีโปรตอน 2 ตัว และอิเล็กตรอน 2 ตัว

อิเล็กตรอน
อะตอมของไฮโดรเจนจะโคจรที่ระดับพลังงานแตกต่างกัน พื้นที่ที่สว่างกว่าเป็นพื้นที่ที่คุณมีแนวโน้มมากที่สุดที่จะพบอิเล็กตรอนหนึ่งตัว ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง
ส่วนประกอบอนุภาคมูลฐาน
สถิติ (อนุภาค)Fermionic
ชั่วรุ่นที่ 1
อันตรกิริยาพื้นฐานแรงโน้มถ่วง, แม่เหล็กไฟฟ้า, อย่างอ่อน
ปฏิยานุภาคโพซิตรอน (หรือเรียกว่าปฏิกิริยาอิเล็กตรอน)
ทฤษฎีโดยRichard Laming (1838–1851),
G. Johnstone Stoney (1874) และอื่น ๆ
ค้นพบโดยJ. J. Thomson (1897)
มวล9.10938356(11)×10−31 kg
5.48579909070(16)×10−4 u
[1822.8884845(14)]−1 u
0.5109989461(31) MeV/c2
อายุเฉลี่ยstable ( > 6.6×1028 yr)
ประจุไฟฟ้า−1 e
−1.602176565(35)×10−19 C
−4.80320451(10)×10−10 esu
Magnetic moment−1.00115965218076(27) μB
สปิน1/2
ลำอิเล็กตรอนภายใต้สนามแม่เหล็ก
การทดลองกับหลอดรังสีของครูก (Crookes tube) ครั้งแรกแสดงให้เห็นถึงธรรมชาติของอนุภาคอิเล็กตรอน หลอดแก้วภาชนะบรรจุขณะกำลังเรืองแสงจากลำอิเล็กตรอนสีเขียว

นักปรัชญาธรรมชาติชาวอังกฤษชื่อ ริชาร์ด เลมมิ่ง (Richard Laming) ได้ตั้งสมมติฐานแรกที่เป็นแนวคิดของการแบ่งแยกปริมาณของประจุไฟฟ้าเพื่อที่จะอธิบายคุณสมบัติทางเคมีของอะตอมไว้ในปี ค.ศ. 1838;

คุณสมบัติ

อิเล็กตรอนนั้นจัดได้ว่าเป็นอนุภาคมูลฐานชนิดหนึ่ง อิเล็กตรอนอยู่ในตระกูลเลปตอน (lepton) ที่เป็นอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเท่ากับ −1.602176565(35)×10−19 คูลอมบ์ มีมวลประมาณ 9.10938291(40)×10−31 กิโลกรัม อิเล็กตรอนมีค่าสปิน s = 1/2 ทำให้เป็นเฟอร์มิออนชนิดหนึ่ง อิเล็กตรอนเป็นปฏิยานุภาค (anti-matter) ของโพซิตรอน

ประวัติ

ชาวกรีกโบราณ หรือกรีซโบราณ (ancient Greeks) สังเกตเห็นว่าก้อนอำพันสีเหลืองสามารถดึงดูดวัตถุขนาดเล็กได้เมื่อถูกลูบไล้ด้วยขนสัตว์ นอกเหนือจากปรากฏการณ์ฟ้าแลบและฟ้าผ่า, ปรากฏการณ์นี้เป็นหนึ่งในประสบการณ์ที่เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ที่ถูกบันทึกไว้เกี่ยวกับไฟฟ้า ในตำรากว่า 1600 เล่มที่มีชื่อว่า De Magnete นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อ วิลเลียม กิลเบิร์ต ได้บัญญัติคำศัพท์ในภาษาละตินใหม่ (New Latin) ว่า electricus เพื่ออ้างถึงคุณสมบัติในการดึงดูดวัตถุขนาดเล็กหลังจากที่ถูกถูกับยาง ทั้งคำ electric (ไฟฟ้า) และ electricity (กระแสไฟฟ้า) มาจากคำในภาษาละตินว่า ēlectrum ซึ่งมาจากคำภาษากรีกสำหรับเรียกแทนวัตถุอำพันว่า ήλεκτρον (ēlektron)

ต้นทศวรรษที่ 1700, แฟรนซิส ฮาร์คบี (Francis Hauksbee) และ ซี. เอฟ. ดู เฟย์ (C. F. du Fay) นักเคมีชาวฝรั่งเศส ได้ค้นพบด้วยตนเองถึงสิ่งที่พวกเขาเชื่อว่าจะเป็นสองชนิดของการเสียดสีกันทางไฟฟ้า; อันหนึ่งคือการเสียดสีกับแก้ว, ส่วนอีกอันหนึ่ง ได้จากการเสียดสีกับเรซิ่น จากนี้ ดู เฟย์ ได้สร้างทฤษฎีเกี่ยวกับไฟฟ้าที่ประกอบด้วยของเหลวไฟฟ้าสองชนิดที่มีลักษณะคล้าย "แก้ว" และ "ยาง" ที่จะแยกตัวออกจากกันและกันด้วยการเสียดสีและที่เป็นกลางเมื่อนำมารวมกัน ทศวรรษต่อมา เบนจามิน แฟรงคลิน เสนอว่าการผลิตไฟฟ้าไม่ได้มาจากประเภทที่แตกต่างกันของของเหลวไฟฟ้าเท่านั้น, แต่ของเหลวไฟฟ้าเดียวกันนี้ยังสามารถผลิตไฟฟ้าขึ้นมาได้ภายใต้ความดันที่แตกต่างกัน เขาได้ตั้งชื่อตามที่เรียกกันในศัพท์สมัยใหม่ว่า ประจุ ที่มีทั้งบวกและลบ ตามลำดับ แฟรงคลินคิดว่าอนุภาคสื่อพาหะการนำไฟฟ้านั้นมีประจุไฟฟ้าที่เป็นบวก แต่เขาก็ระบุไม่ได้อย่างถูกต้องกับสถานการณ์ที่เป็นส่วนเกินของสื่อพาหะตัวนำประจุไฟฟ้าและสถานการณ์ที่ซึ่งเป็นการสูญเสียหรือขาดดุลของสื่อพาหะตัวนำประจุไฟฟ้า

ระหว่างปี 1838 และปี 1851, นักปรัชญาธรรมชาติชาวอังกฤษนามว่า ริชาร์ด เลมมิ่ง (Richard Laming) ได้พัฒนาแนวความคิดที่ว่าอะตอมประกอบไปด้วยแกนกลางของสสารที่ล้อมรอบไปด้วยหน่วยของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า จากนั้นต่อมา เริ่มต้นในปี 1846 นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันชื่อ วิลเลียม เวเบอร์ (William Weber) ได้นำเสนอทฤษฎีของไฟฟ้าที่ประกอบไปด้วยของเหลวที่มีประจุบวกและประจุลบและการมีปฏิสัมพันธ์กันของประจุทั้งสองนี้ถูกควบคุมโดยกฏกำลังสองผกผัน (inverse square law) หลังจากที่ได้ศึกษาปรากฏการณ์ของอิเล็กโทรลิซิส (electrolysis) ในปี 1874 นักฟิสิกส์ชาวไอริชชื่อ จอร์จ จอห์นสโตน สโตนี (George Johnstone Stoney) ได้เสนอแนะบอกว่า มีตัวตนของ "ปริมาณที่แน่นอนของกระแสไฟฟ้าแบบเดี่ยว ๆ" ที่เป็นประจุไฟฟ้าของโมโนเวเลนซ์ ไอออน (monovalent ion) ดำรงตัวอยู่ เขาสามารถที่จะประมาณค่าของประจุ e นี้ในเบื้องต้นได้โดยวิธีการของกฎอิเล็กโทรลิซิสของฟาราเดย์ (Faraday's laws of electrolysis)

การค้นพบ

 
ลำแสงของอิเล็กตรอนถูกหักเหเป็นวงกลมโดยสนามแม่เหล็ก

นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษชื่อ โยฮัน วิลเฮล์ม เฮ็ดทอร์ฟ (Johann Wilhelm Hittorf) ได้ศึกษาการนำไฟฟ้าในก๊าซบริสุทธิ์: ในปี ค.ศ. 1869 เขาค้นพบการเรืองแสงที่เพิ่มขึ้นที่ออกมาจากหลอดรังสีแคโทดในขณะที่ลดความดันของก๊าซที่อยู่ภายในลง ในปี 1876 นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันชื่อ เออเก็น โกลด์สไตน์ (Eugen Goldstein) ได้แสดงให้เห็นว่ารังสีจากการเรืองแสงนี้ทอดเงาได้และเขาขนานนามว่า รังสีแคโทด ในช่วงทศวรรษที่ 1870 นักฟิสิกส์และนักเคมีชาวอังกฤษ เซอร์ วิลเลียม ครูกส์ (Sir William Crookes) ได้พัฒนาหลอดรังสีแคโทดที่มีสภาพความเป็นสุญญากาศสูงอยู่ภายในขึ้นเป็นครั้งแรก จากนั้นเขาก็แสดงให้เห็นว่ารังสีเรืองแสงที่ปรากฏภายในหลอดนั้นสามารถนำพาพลังงานไปได้และเคลื่อนที่ออกมาจากแคโทดไปยังแอโนด นอกจากนี้โดยการใช้สนามแม่เหล็กเขาก็สามารถที่จะหันเหทิศทางของรังสีนี้ได้จึงแสดงให้เห็นว่าลำแสงนี้ทำตัวราวกับว่ามันเป็นประจุลบ ในปี 1879 เขาเสนอว่าคุณสมบัติเหล่านี้สามารถอธิบายได้โดยสิ่งที่เขาเรียกว่า 'สสารแผ่รังสี' (radiant matter) เขาได้เสนอแนะว่านี่คือสถานะที่สี่ของสสารที่ประกอบด้วยโมเลกุลที่มีประจุลบที่ถูกฉายออกมาด้วยความเร็วสูงจากขั้วแคโทด

นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษที่เกิดในเยอรมันชื่อ อาร์เธอร์ ชูสเตอร์ (Arthur Schuster) ได้ขยายความการทดลองของครูกส์ต่อไปอีก โดยการวางแผ่นโลหะขนานไปกับลำรังสีแคโทดนี้และโดยการใช้ศักย์ไฟฟ้าต่อเข้าระหว่างแผ่นโลหะทั้งสองนั้น

กลศาสตร์ควอนตัม

ดูเพิ่มเติมที่: ประวัติศาสตร์ของกลศาสตร์ควอนตัม

ในปี 1924 วิทยานิพนธ์ในชื่อหัวข้อว่า Recherches sur la théorie des quanta (งานวิจัยเกี่ยวกับทฤษฎีควอนตัม), ของนักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศสชื่อว่า หลุยส์ เดอ บรอย ได้ตั้งสมมติฐานว่าสสารทั้งหลายมีคุณสมบัติของคลื่นที่เรียกว่า คลื่น เดอ บรอย (de Broglie wave) ที่มีความคล้ายคลึงกับแสง

เชิงอรรถ

หมายเหตุ

  1. ตัวหารของเศษส่วนนี้เป็นส่วนกลับของค่าทศนิยม (พร้อมกับความไม่แน่นอนมาตรฐานที่สัมพันธ์กันของมันที่เท่ากับ 4.2×10−13 u).
  2. ประจุของอิเล็กตรอนเป็นค่าลบของประจุพื้นฐาน ซึ่งมีค่าเป็นบวกสำหรับโปรตอน

อ้างอิง

  1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ prl50
  2. Farrar, W.V. (1969). "Richard Laming and the Coal-Gas Industry, with His Views on the Structure of Matter". Annals of Science. 25 (3): 243–254. doi:10.1080/00033796900200141.
  3. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ arabatzis
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ buchwald1
  5. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ thomson
  6. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ 2010 CODATA
  7. Agostini M. et al. (Borexino Coll.) (2015). "Test of Electric Charge Conservation with Borexino". Physical Review Letters. 115 (23): 231802. arXiv:1509.01223. doi:10.1103/PhysRevLett.115.231802.
  8. Born, Max; Blin-Stoyle, Roger John; Radcliffe, J. M. (1989). Atomic Physics. Courier Dover Publications. p. 26. ISBN 0486659844.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  9. Keithley, J.F. (1999). The Story of Electrical and Magnetic Measurements: From 500 B.C. to the 1940s. IEEE Press. pp. 15, 20. ISBN 0-7803-1193-0.
  10. "Benjamin Franklin (1706–1790)". Eric Weisstein's World of Biography. Wolfram Research. สืบค้นเมื่อ 2010-12-16.
  11. Myers, R.L. (2006). The Basics of Physics. Greenwood Publishing Group. p. 242. ISBN 0-313-32857-9.
  12. http://www.neutron.rmutphysics.com/chemistry-glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=1141&Itemid=166
  13. Barrow, J.D. (1983). "Natural Units Before Planck". Quarterly Journal of the Royal Astronomical Society. 24: 24–26. Bibcode:1983QJRAS..24...24B.
  14. Born, M.; Blin-Stoyle, R.J.; Radcliffe, J.M. (1989). Atomic Physics. Courier Dover. p. 26. ISBN 0-486-65984-4.
  15. Dahl (1997:55–58).
  16. DeKosky, R.K. (1983). "William Crookes and the quest for absolute vacuum in the 1870s". Annals of Science. 40 (1): 1–18. doi:10.1080/00033798300200101.
  17. Leicester, H.M. (1971). The Historical Background of Chemistry. Courier Dover. pp. 221–222. ISBN 0-486-61053-5.
  18. Dahl (1997:64–78).
  19. Zeeman, P.; Zeeman, P. (1907). "Sir William Crookes, F.R.S". Nature. 77 (1984): 1–3. Bibcode:1907Natur..77....1C. doi:10.1038/077001a0.

เล, กตรอน, งกฤษ, electron, ญล, กษณ, เป, นอน, ภาคท, ประจ, ไฟฟ, าเป, นลบ, ไม, ใครร, กส, วนประกอบหร, อโครงสร, างพ, นฐานของม, ในคำกล, าวอ, เช, คาดก, นโดยท, วไปว, าม, นจะเป, นอน, ภาคท, เป, นม, ลฐาน, มวลท, เป, นประมาณ, 18636, เท, าของโปรตอน, โมเมนต, มเช, งม, มภายใน,. xielktrxn xngkvs electron sylksn e epnxnuphakhthimipracuiffaepnlb immiikhrruckswnprakxbhruxokhrngsrangphunthankhxngmn inkhaklawxun echn khadknodythwipwamncaepnxnuphakhthiepnmulthan xielktrxnmimwlthiepnpraman 1 18636 ethakhxngoprtxn omemntmechingmumphayin spin khxngxielktrxnepnkhakhrungcanwnetminhnwykhxng ħ sunghmaykhwamwamnepn efxrmixxn fermion ptiyanuphakhkhxngxielktrxneriykwaophsitrxn mnepnehmuxnknkbxielktrxnykewnaetwacamikhapracuiffaaelaxun thimilksnatrngknkham emuxxielktrxnchnknkbophsitrxn xnuphakhthngsxngxackracdkracayxxkcakknaelakn hruxthukpraly annihilate odysineching karphlitkhu hruxmakkwann ekidkhuncakoftxnrngsiaekmma xielktrxn sungthuxepnrunaerkkhxngtrakulxnuphakhelptxn lepton miswnrwminaerngonmthwng miptismphnthkbaerngaemehlkiffaaelaxntrkiriyaxyangxxn xielktrxnechnediywkbssarthnghmd mikhunsmbtithangklsastrkhwxntmkhxngthngkhuxnuphakhaelakhlun wingxyurxb niwekhliystamradbphlngngankhxngxatxmnn odyswnmakkhxngxatxm canwn xielktrxn inxatxmthiepnklangthangiffacamiethakbcanwn oprtxn echn ihodrecnmioprtxn 1 tw aelaxielktrxn 1 tw hieliymmioprtxn 2 tw aelaxielktrxn 2 twxielktrxnxatxmkhxngihodrecncaokhcrthiradbphlngnganaetktangkn phunthithiswangkwaepnphunthithikhunmiaenwonmmakthisudthicaphbxielktrxnhnungtw n ewlaidewlahnungswnprakxbxnuphakhmulthan 1 sthiti xnuphakh Fermionicchwrunthi 1xntrkiriyaphunthanaerngonmthwng aemehlkiffa xyangxxnptiyanuphakhophsitrxn hruxeriykwaptikiriyaxielktrxn thvsdiodyRichard Laming 1838 1851 2 G Johnstone Stoney 1874 aelaxun 3 4 khnphbodyJ J Thomson 1897 5 mwl9 109383 56 11 10 31 kg 6 5 485799 090 70 16 10 4 u 6 1822 8884845 14 1 u note 1 0 510998 9461 31 MeV c2 6 xayuechliystable gt 6 6 1028 yr 7 pracuiffa 1 e note 2 1 602176 565 35 10 19 C 6 4 803204 51 10 10 10 esuMagnetic moment 1 001159 652 180 76 27 mB 6 spin1 2laxielktrxnphayitsnamaemehlk 8 karthdlxngkbhlxdrngsikhxngkhruk Crookes tube khrngaerkaesdngihehnthungthrrmchatikhxngxnuphakhxielktrxn hlxdaekwphachnabrrcukhnakalngeruxngaesngcaklaxielktrxnsiekhiyw nkprchyathrrmchatichawxngkvschux richard elmming Richard Laming idtngsmmtithanaerkthiepnaenwkhidkhxngkaraebngaeykprimankhxngpracuiffaephuxthicaxthibaykhunsmbtithangekhmikhxngxatxmiwinpi kh s 1838 enuxha 1 khunsmbti 2 prawti 2 1 karkhnphb 2 2 klsastrkhwxntm 3 echingxrrth 3 1 hmayehtu 3 2 xangxingkhunsmbti aekikhxielktrxnnncdidwaepnxnuphakhmulthanchnidhnung xielktrxnxyuintrakulelptxn lepton thiepnxnuphakhthimipracuiffaethakb 1 602176 565 35 10 19 khulxmb mimwlpraman 9 109382 91 40 10 31 kiolkrm xielktrxnmikhaspin s 1 2 thaihepnefxrmixxnchnidhnung xielktrxnepnptiyanuphakh anti matter khxngophsitrxnprawti aekikhchawkrikobran hruxkrisobran ancient Greeks sngektehnwakxnxaphnsiehluxngsamarthdungdudwtthukhnadelkidemuxthuklubildwykhnstw nxkehnuxcakpraktkarnfaaelbaelafapha praktkarnniepnhnunginprasbkarnthiekaaekthisudkhxngmnusythithukbnthukiwekiywkbiffa intarakwa 1600 elmthimichuxwa De Magnete nkwithyasastrchawxngkvschux wileliym kilebirt idbyytikhasphthinphasalatinihm New Latin wa electricus ephuxxangthungkhunsmbtiinkardungdudwtthukhnadelkhlngcakthithukthukbyang thngkha electric iffa aela electricity kraaesiffa macakkhainphasalatinwa electrum sungmacakkhaphasakriksahrberiykaethnwtthuxaphnwa hlektron elektron tnthswrrsthi 1700 aefrnsis harkhbi Francis Hauksbee aela si exf du efy C F du Fay nkekhmichawfrngess idkhnphbdwytnexngthungsingthiphwkekhaechuxwacaepnsxngchnidkhxngkaresiydsiknthangiffa xnhnungkhuxkaresiydsikbaekw swnxikxnhnung idcakkaresiydsikbersin cakni du efy idsrangthvsdiekiywkbiffathiprakxbdwykhxngehlwiffasxngchnidthimilksnakhlay aekw aela yang thicaaeyktwxxkcakknaelakndwykaresiydsiaelathiepnklangemuxnamarwmkn 9 thswrrstxma ebncamin aefrngkhlin esnxwakarphlitiffaimidmacakpraephththiaetktangknkhxngkhxngehlwiffaethann aetkhxngehlwiffaediywknniyngsamarthphlitiffakhunmaidphayitkhwamdnthiaetktangkn ekhaidtngchuxtamthieriykkninsphthsmyihmwa pracu thimithngbwkaelalb tamladb 10 aefrngkhlinkhidwaxnuphakhsuxphahakarnaiffannmipracuiffathiepnbwk aetekhakrabuimidxyangthuktxngkbsthankarnthiepnswnekinkhxngsuxphahatwnapracuiffaaelasthankarnthisungepnkarsuyesiyhruxkhaddulkhxngsuxphahatwnapracuiffa 11 rahwangpi 1838 aelapi 1851 nkprchyathrrmchatichawxngkvsnamwa richard elmming Richard Laming idphthnaaenwkhwamkhidthiwaxatxmprakxbipdwyaeknklangkhxngssarthilxmrxbipdwyhnwykhxngxnuphakhthimipracuiffa 2 caknntxma erimtninpi 1846 nkfisikschaweyxrmnchux wileliym ewebxr William Weber idnaesnxthvsdikhxngiffathiprakxbipdwykhxngehlwthimipracubwkaelapraculbaelakarmiptismphnthknkhxngpracuthngsxngnithukkhwbkhumodyktkalngsxngphkphn inverse square law hlngcakthiidsuksapraktkarnkhxngxielkothrlisis electrolysis 12 inpi 1874 nkfisikschawixrichchux cxrc cxhnsotn sotni George Johnstone Stoney idesnxaenabxkwa mitwtnkhxng primanthiaennxnkhxngkraaesiffaaebbediyw thiepnpracuiffakhxngomonewelns ixxxn monovalent ion darngtwxyu ekhasamarththicapramankhakhxngpracu e niinebuxngtnidodywithikarkhxngkdxielkothrlisiskhxngfaraedy Faraday s laws of electrolysis 13 karkhnphb aekikh laaesngkhxngxielktrxnthukhkehepnwngklmodysnamaemehlk 14 nkfisikschawxngkvschux oyhn wilehlm ehdthxrf Johann Wilhelm Hittorf idsuksakarnaiffainkasbrisuththi inpi kh s 1869 ekhakhnphbkareruxngaesngthiephimkhunthixxkmacakhlxdrngsiaekhothdinkhnathildkhwamdnkhxngkasthixyuphayinlng inpi 1876 nkfisikschaweyxrmnchux exxekn okldsitn Eugen Goldstein idaesdngihehnwarngsicakkareruxngaesngnithxdengaidaelaekhakhnannamwa rngsiaekhothd 15 inchwngthswrrsthi 1870 nkfisiksaelankekhmichawxngkvs esxr wileliym khruks Sir William Crookes idphthnahlxdrngsiaekhothdthimisphaphkhwamepnsuyyakassungxyuphayinkhunepnkhrngaerk 16 caknnekhakaesdngihehnwarngsieruxngaesngthipraktphayinhlxdnnsamarthnaphaphlngnganipidaelaekhluxnthixxkmacakaekhothdipyngaexond nxkcakniodykarichsnamaemehlkekhaksamarththicahnehthisthangkhxngrngsiniidcungaesdngihehnwalaaesngnithatwrawkbwamnepnpraculb 17 18 inpi 1879 ekhaesnxwakhunsmbtiehlanisamarthxthibayidodysingthiekhaeriykwa ssaraephrngsi radiant matter ekhaidesnxaenawanikhuxsthanathisikhxngssarthiprakxbdwyomelkulthimipraculbthithukchayxxkmadwykhwamerwsungcakkhwaekhothd 19 nkfisikschawxngkvsthiekidineyxrmnchux xarethxr chusetxr Arthur Schuster idkhyaykhwamkarthdlxngkhxngkhrukstxipxik odykarwangaephnolhakhnanipkblarngsiaekhothdniaelaodykarichskyiffatxekharahwangaephnolhathngsxngnn klsastrkhwxntm aekikh duephimetimthi prawtisastrkhxngklsastrkhwxntm inpi 1924 withyaniphnthinchuxhwkhxwa Recherches sur la theorie des quanta nganwicyekiywkbthvsdikhwxntm khxngnkfisikschawfrngesschuxwa hluys edx brxy idtngsmmtithanwassarthnghlaymikhunsmbtikhxngkhlunthieriykwa khlun edx brxy de Broglie wave thimikhwamkhlaykhlungkbaesngechingxrrth aekikhhmayehtu aekikh twharkhxngessswnniepnswnklbkhxngkhathsniym phrxmkbkhwamimaennxnmatrthanthismphnthknkhxngmnthiethakb 4 2 10 13 u pracukhxngxielktrxnepnkhalbkhxngpracuphunthan sungmikhaepnbwksahrboprtxnxangxing aekikh xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux prl50 2 0 2 1 Farrar W V 1969 Richard Laming and the Coal Gas Industry with His Views on the Structure of Matter Annals of Science 25 3 243 254 doi 10 1080 00033796900200141 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux arabatzis xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux buchwald1 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux thomson 6 0 6 1 6 2 6 3 6 4 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux 2010 CODATA Agostini M et al Borexino Coll 2015 Test of Electric Charge Conservation with Borexino Physical Review Letters 115 23 231802 arXiv 1509 01223 doi 10 1103 PhysRevLett 115 231802 Born Max Blin Stoyle Roger John Radcliffe J M 1989 Atomic Physics Courier Dover Publications p 26 ISBN 0486659844 CS1 maint multiple names authors list link Keithley J F 1999 The Story of Electrical and Magnetic Measurements From 500 B C to the 1940s IEEE Press pp 15 20 ISBN 0 7803 1193 0 Benjamin Franklin 1706 1790 Eric Weisstein s World of Biography Wolfram Research subkhnemux 2010 12 16 Myers R L 2006 The Basics of Physics Greenwood Publishing Group p 242 ISBN 0 313 32857 9 http www neutron rmutphysics com chemistry glossary index php option com content amp task view amp id 1141 amp Itemid 166 Barrow J D 1983 Natural Units Before Planck Quarterly Journal of the Royal Astronomical Society 24 24 26 Bibcode 1983QJRAS 24 24B Born M Blin Stoyle R J Radcliffe J M 1989 Atomic Physics Courier Dover p 26 ISBN 0 486 65984 4 Dahl 1997 55 58 DeKosky R K 1983 William Crookes and the quest for absolute vacuum in the 1870s Annals of Science 40 1 1 18 doi 10 1080 00033798300200101 Leicester H M 1971 The Historical Background of Chemistry Courier Dover pp 221 222 ISBN 0 486 61053 5 Dahl 1997 64 78 Zeeman P Zeeman P 1907 Sir William Crookes F R S Nature 77 1984 1 3 Bibcode 1907Natur 77 1C doi 10 1038 077001a0 bthkhwamekiywkbwithyasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy withyasastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title xielktrxn amp oldid 9464033, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม