fbpx
วิกิพีเดีย

ฮีเลียม

ฮีเลียม (อังกฤษ: Helium) เป็นธาตุเคมีที่มีสัญลักษณ์ว่า He และมีเลขอะตอมเท่ากับ 2 ฮีเลียมเป็นแก๊สไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส ไม่เป็นพิษ เฉื่อย มีอะตอมเดี่ยวซึ่งถูกจัดให้อยู่ในหมู่แก๊สมีตระกูลบนตารางธาตุ จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของฮีเลียม มีค่าต่ำสุดกว่าบรรดาธาตุทั้งหมดในตารางธาตุ และมันจะปรากฏในอยู่รูปของแก๊สเท่านั้น ยกเว้นในสภาวะที่เย็นยิ่งยวด

ฮีเลียม
2He
-

He

Ne
ไฮโดรเจนฮีเลียมลิเทียม
ฮีเลียมในตารางธาตุ
ลักษณะปรากฏ
เป็นแก๊สไม่มีสี มันจะเรืองแสงสีส้มแดงขณะที่อยู่ในสนามไฟฟ้าแรงดันสูง


เส้นสเปคตรัมของฮีเลียม
คุณสมบัติทั่วไป
ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอม ฮีเลียม, He, 2
การออกเสียง /ˈhliəm/ hee-lee-əm
อนุกรมเคมี แก๊สมีตระกูล
หมู่ คาบและบล็อก 18 (แก๊สมีตระกูล), 1, s
มวลอะตอมมาตรฐาน 4.002602(2)
การจัดเรียงอิเล็กตรอน 1s2
2
ประวัติ
การตั้งชื่อ ตาม เฮลิออสเทพเจ้าแห่งดวงอาทิตย์ของชาวกรีก
การค้นพบ ปิแอร์ แจนส์เซน, นอร์แมน ล็อกเยอร์ (1868)
การแยกครั้งแรก วิลเลียม แรมเซย์, เพอร์ ทีโอดอร์ คลีฟ, อับราฮัม แลงเล็ต (1895)
คุณสมบัติกายภาพ
สถานะ แก๊ส
ความหนาแน่น (0 °C, 101.325 kPa)
0.1786 g/L
ความหนาแน่นของเหลวที่จุดหลอมเหลว 0.145 g·cm−3
ความหนาแน่นของเหลวที่จุดเดือด 0.125 g·cm−3
จุดหลอมเหลว (at 2.5 MPa) 0.95 K, −272.20 °C, −457.96 °F
จุดเดือด 4.222 K, −268.928 °C, −452.070 °F
จุดร่วมสาม 2.177 K, 5.043 kPa
จุดวิกฤต 5.1953 K, 0.22746 MPa
ความร้อนของการหลอมเหลว 0.0138 kJ·mol−1
ความร้อนของการกลายเป็นไอ 0.0829 kJ·mol−1
ความจุความร้อนโมลาร์ 5R/2 = 20.78 J·mol−1·K−1
ความดันไอ (defined by ITS-90)
P (Pa) 1 10 100 1 k 10 k 100 k
ที่ T (K)     1.23 1.67 2.48 4.21
คุณสมบัติอะตอม
สถานะออกซิเดชัน 0
อิเล็กโตรเนกาติวิตี ไม่มีข้อมูล (Pauling scale)
พลังงานไอออไนเซชัน ค่าที่ 1: 2372.3 kJ·mol−1
ค่าที่ 2: 5250.5 kJ·mol−1
รัศมีโควาเลนต์ 28 pm
รัศมีวานเดอร์วาลส์ 140 pm
จิปาถะ
โครงสร้างผลึก เฮกซะโกนัลปิดบรรจุ

ความเป็นแม่เหล็ก ไดอะแมกเนติก
สภาพนำความร้อน 0.1513 W·m−1·K−1
ความเร็วเสียง 972 m·s−1
เลขทะเบียน CAS 7440-59-7
ไอโซโทปเสถียรที่สุด
บทความหลัก: ไอโซโทปของฮีเลียม
ไอโซโทป NA ครึ่งชีวิต DM DE (MeV) DP
3He 0.000137%* He เสถียร โดยมี 1 นิวตรอน
4He 99.999863%* He เสถียร โดยมี 2 นิวตรอน
*Atmospheric value, abundance may differ elsewhere.
อ้างอิง
ฮีเลียม

ประวัติการค้นพบ

มีการค้นพบฮีเลียม เมื่อปี ค.ศ. 1868 ในบรรยากาศรอบดวงอาทิตย์ โดย โจเซฟ นอร์มัน ล็อกเยอร์ เขาได้ทำการทดลองโดยการส่องดวงอาทิตย์สังเกตเห็นเส้นสีเหลืองในสเปคตรัมของดวงอาทิตย์ ซึ่งไม่สอดคล้องกับธาตุใด ๆ ที่รู้จักกันบนโลก ล็อกเยอร์ ใช้คำศัพท์ภาษากรีกที่เรียกดวงอาทิตย์ (เฮลิออส : Helios) มาตั้งชื่อธาตุนี้ ว่า ฮีเลียม (Helium) นอกจากนี้ เซอร์ วิลเลียม แรมเซย์ ได้ค้นพบฮีเลียมบนโลก (ค.ศ. 1895) โดยเป็นส่วนประกอบที่อยู่ในแร่ยูเรนิไนท์ ซึ่งมีเส้นสเปกตรัมตรงกับที่สังเกตจากดวงอาทิตย์

ฮีเลียมที่มีอยู่ในเอกภพ มีมากเป็นอันดับสองรองจากไฮโดรเจน และมีปริมาณหนาแน่นในดาวฤกษ์ ซึ่งถูกสังเคราะห์ได้จากไฮโดรเจนนั่นเอง โดยอาศัยปฏิกิริยานิวเคลียร์ฟิวชั่น แม้ว่าฮีเลียมจะปรากฏในบรรยากาศของโลกเพียงหนึ่งส่วนใน 186,000 ส่วน (0.0005%) และมีปริมาณน้อยที่ปรากฏในแร่กัมมันตรังสี โลหะจากอุกกาบาต และน้ำพุแร่ แต่ฮีเลียมปริมาณสูงพบได้ในฐานะส่วนประกอบ (มากถึง 7.6%) ในก๊าซธรรมชาติในสหรัฐอเมริกา (โดยเฉพาะในรัฐเท็กซัส, นิวเม็กซิโก, แคนซัส, โอคลาโฮมา, แอริโซนา และยูทาห์) นอกจากนั้นพบใน อัลจีเรีย, แคนาดา, สหพันธรัฐรัสเซีย, โปแลนด์ และ กาตาร์

การนำไปใช้ประโยชน์

รายการอ้างอิง

  1. Standard Atomic Weights 2013. Commission on Isotopic Abundances and Atomic Weights
  2. Shuen-Chen Hwang, Robert D. Lein, Daniel A. Morgan (2005). "Noble Gases". Kirk Othmer Encyclopedia of Chemical Technology. Wiley. pp. 343–383. doi:10.1002/0471238961.0701190508230114.a01.
  3. Magnetic susceptibility of the elements and inorganic compounds, in Handbook of Chemistry and Physics 81st edition, CRC press.

เล, ยม, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออก, งกฤษ, helium, เป, นธาต, เคม, ญล, กษณ, และม, เลขอะตอมเท, าก, เป, นแก, สไม, ไม, กล, ไม, . bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkhieliym xngkvs Helium epnthatuekhmithimisylksnwa He aelamielkhxatxmethakb 2 hieliymepnaeksimmisi immiklin immirs imepnphis echuxy mixatxmediywsungthukcdihxyuinhmuaeksmitrakulbntarangthatu cudeduxdaelacudhlxmehlwkhxnghieliym mikhatasudkwabrrdathatuthnghmdintarangthatu aelamncapraktinxyurupkhxngaeksethann ykewninsphawathieynyingywdhieliym2He He Neihodrecn hieliym liethiymhieliymintarangthatulksnapraktepnaeksimmisi mncaeruxngaesngsismaedngkhnathixyuinsnamiffaaerngdnsungesnsepkhtrmkhxnghieliymkhunsmbtithwipchux sylksn aelaelkhxatxm hieliym He 2karxxkesiyng ˈ h iː l i e m hee lee emxnukrmekhmi aeksmitrakulhmu khabaelablxk 18 aeksmitrakul 1 smwlxatxmmatrthan 4 002602 1 2 karcderiyngxielktrxn 1s22prawtikartngchux tam ehlixxsethphecaaehngdwngxathitykhxngchawkrikkarkhnphb piaexr aecnsesn nxraemn lxkeyxr 1868 karaeykkhrngaerk wileliym aermesy ephxr thioxdxr khlif xbrahm aelngelt 1895 khunsmbtikayphaphsthana aekskhwamhnaaenn 0 C 101 325 kPa 0 1786 g Lkhwamhnaaennkhxngehlwthicudhlxmehlw 0 145 g cm 3khwamhnaaennkhxngehlwthicudeduxd 0 125 g cm 3cudhlxmehlw at 2 5 MPa 0 95 K 272 20 C 457 96 Fcudeduxd 4 222 K 268 928 C 452 070 Fcudrwmsam 2 177 K 5 043 kPacudwikvt 5 1953 K 0 22746 MPakhwamrxnkhxngkarhlxmehlw 0 0138 kJ mol 1khwamrxnkhxngkarklayepnix 0 0829 kJ mol 1khwamcukhwamrxnomlar 5R 2 20 78 2 J mol 1 K 1khwamdnix defined by ITS 90 P Pa 1 10 100 1 k 10 k 100 kthi T K 1 23 1 67 2 48 4 21khunsmbtixatxmsthanaxxksiedchn 0xielkotrenkatiwiti immikhxmul Pauling scale phlngnganixxxineschn khathi 1 2372 3 kJ mol 1khathi 2 5250 5 kJ mol 1rsmiokhwaelnt 28 pmrsmiwanedxrwals 140 pmcipathaokhrngsrangphluk ehksaoknlpidbrrcukhwamepnaemehlk idxaaemkentik 3 sphaphnakhwamrxn 0 1513 W m 1 K 1khwamerwesiyng 972 m s 1elkhthaebiyn CAS 7440 59 7ixosothpesthiyrthisudbthkhwamhlk ixosothpkhxnghieliymixosothp NA khrungchiwit DM DE MeV DP3He 0 000137 He esthiyr odymi 1 niwtrxn4He 99 999863 He esthiyr odymi 2 niwtrxn Atmospheric value abundance may differ elsewhere dkhkxangxingelnmiediy hieliymprawtikarkhnphb aekikhmikarkhnphbhieliym emuxpi kh s 1868 inbrryakasrxbdwngxathity ody ocesf nxrmn lxkeyxr ekhaidthakarthdlxngodykarsxngdwngxathitysngektehnesnsiehluxnginsepkhtrmkhxngdwngxathity sungimsxdkhlxngkbthatuid thiruckknbnolk lxkeyxr ichkhasphthphasakrikthieriykdwngxathity ehlixxs Helios matngchuxthatuni wa hieliym Helium nxkcakni esxr wileliym aermesy idkhnphbhieliymbnolk kh s 1895 odyepnswnprakxbthixyuinaeryuerniinth sungmiesnsepktrmtrngkbthisngektcakdwngxathityhieliymthimixyuinexkphph mimakepnxndbsxngrxngcakihodrecn aelamiprimanhnaaennindawvks sungthuksngekhraahidcakihodrecnnnexng odyxasyptikiriyaniwekhliyrfiwchn aemwahieliymcapraktinbrryakaskhxngolkephiynghnungswnin 186 000 swn 0 0005 aelamiprimannxythipraktinaerkmmntrngsi olhacakxukkabat aelanaphuaer aethieliymprimansungphbidinthanaswnprakxb makthung 7 6 inkasthrrmchatiinshrthxemrika odyechphaainrthethkss niwemksiok aekhnss oxkhlaohma aexriosna aelayuthah nxkcaknnphbin xlcieriy aekhnada shphnthrthrsesiy opaelnd aela katarkarnaipichpraoychn aekikhkashieliymmikhwamhnaaennthitamak cungnaipichbrrcuinbxllunaelaeruxehaaaethnkasihodrecnsungtidifid phayhlngcakkarraebidkhxngeruxehaahinednbwrkkhxngeyxrmni aelathrabsaehtuwamacakkarraebidkhxngkasihodrecn mikarnakashieliymipphsminxakassahrbnkdana ephuxpxngknkarekidorkhebnd Bends hieliymehlw sungmixunhphumi 269 xngsaeslesiys naipichekiywkbtwnayingywd Superconductor raykarxangxing aekikh Standard Atomic Weights 2013 Commission on Isotopic Abundances and Atomic Weights Shuen Chen Hwang Robert D Lein Daniel A Morgan 2005 Noble Gases Kirk Othmer Encyclopedia of Chemical Technology Wiley pp 343 383 doi 10 1002 0471238961 0701190508230114 a01 Magnetic susceptibility of the elements and inorganic compounds in Handbook of Chemistry and Physics 81st edition CRC press bthkhwamekiywkbekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy ekhmiekhathungcak https th wikipedia org w index php title hieliym amp oldid 9512684, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม