fbpx
วิกิพีเดีย

เคอร์เนล

เคอร์เนล (kernel อ่านว่า เคอร์เนิล เนื่องจากตัว e ไม่ออกเสียง) หมายถึง ส่วนประกอบหลักของระบบปฏิบัติการ ซึ่งคอยดูแลบริหารทรัพยากรของระบบ และติดต่อกับฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ เนื่องจากว่าเป็นส่วนประกอบพื้นฐานของระบบปฏิบัติการ เคอร์เนล นั้นเป็นฐานล่างสุดในการติดต่อกับทรัพยากรต่างๆ เช่น หน่วยความจำ หน่วยประมวลผลกลาง และ อุปกรณ์อินพุตและเอาต์พุต

เคอร์เนลเชื่อมต่อระหว่างฮาร์ดแวร์กับซอฟต์แวร์

ประเภทรูปแบบ เคอร์เนล

 
รูปภาพแสดงหลักการทำงานของโมโนลิทิก เคอร์เนล

โมโนลิทิก เคอร์เนล (Monolithic kernel)

โมโนลิทิก เคอร์เนล เป็นเคอร์เนลที่เน้นการทำงานแบบหนึ่งต่อหนึ่ง โดยจะเรียกชุดคำสั่งทั้งหมดทีเดียวในหนึ่งรอบ ทำให้การประมวลผลเร็วมาก แต่มีข้อเสียคือเมื่อเคอร์เนลล่มจะทำให้ระบบแฮงค์ในทันที (ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการออกแบบเคอร์เนล)

โมโนลิทิก เคอร์เนลมีอยู่ใน:

  • Linux kernel
  • Android OS
  • MS-DOS, Microsoft Windows 9x Series (Windows 95 Windows 98 เป็นต้น)
  • Agnix

ไมโครเคอร์เนล (Microkernel)

 
รูปภาพแสดงหลักการทำงานของไมโครเคอร์เนล

ไมโครเคอร์เนล เป็นเคอร์เนลที่แบ่งการทำงานในแต่ละภาคส่วนออกจากกัน ตัวอย่างเช่น แบ่งส่วนของซอฟต์แวร์ประยุกต์ ส่วนของอุปกรณ์ ส่วนจัดการไฟล์ ฯลฯ ในทางทฤษฎีไมโครเคอร์เนลมีความเสถียรสูงเนื่องจากแบ่งการทำงานทุกภาคส่วนออกจากกัน แต่มีข้อเสียคือเรียกประสิทธิภาพของระบบออกมาได้ไม่เต็มที่

ตัวอย่างของไมโครเคอร์เนล และ ระบบปฏิบัติการที่มีพื้นบน ไมโครเคอร์เนล:

  • AIX
  • AmigaOS
  • Amoeba
  • Chorus microkernel
  • EROS
  • Haiku
  • K42
  • LSE/OS
  • KeyKOS
  • The L4 microkernel family
  • Mach, used in GNU Hurd, NEXTSTEP, OPENSTEP, and Mac OS X
  • MERT
  • Minix
  • MorphOS
  • NewOS
  • QNX
  • Phoenix-RTOS
  • RadiOS
  • Spring operating system
  • VSTa
  • Symbian OS

เคอร์เนลแบบผสม (Hybrid kernel)

เคอร์เนลแบบผสม เป็นเคอร์เนลที่รวมความสามารถของไมโครเคอร์เนลและโมโนลิทิกเคอร์เนลเข้าด้วยกันเพื่อเลียนแบบประสิทธิภาพและเสถียรภาพของโมโนลิทิกเคอร์เนลและไมโครเคอร์เนล

อ้างอิง

  1. สะกด kernel ว่า เคอร์เนล ตามศัพท์บัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน
  • Andrew Tanenbaum, Operating Systems - Design and Implementation (Third edition) ;
  • Andrew Tanenbaum, Modern Operating Systems (Second edition) ;
  • Daniel P. Bovet, Marco Cesati, The Linux Kernel;
  • David A. Peterson, Nitin Indurkhya, Patterson, Computer Organization and Design, Morgan Koffman (ISBN 1-55860-428-6) ;
  • B.S. Chalk, Computer Organisation and Architecture, Macmillan P. (ISBN 0-333-64551-0).

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Kernel คืออะไร - แหล่งข้อมูลความรู้ภาษาไทย

เคอร, เนล, kernel, านว, เคอร, เน, เน, องจากต, ไม, ออกเส, ยง, หมายถ, วนประกอบหล, กของระบบปฏ, การ, งคอยด, แลบร, หารทร, พยากรของระบบ, และต, ดต, อก, บฮาร, ดแวร, และ, ซอฟต, แวร, เน, องจากว, าเป, นส, วนประกอบพ, นฐานของระบบปฏ, การ, นเป, นฐานล, างส, ดในการต, ดต, อก, บ. ekhxrenl 1 kernel xanwa ekhxrenil enuxngcaktw e imxxkesiyng hmaythung swnprakxbhlkkhxngrabbptibtikar sungkhxyduaelbriharthrphyakrkhxngrabb aelatidtxkbhardaewraela sxftaewr enuxngcakwaepnswnprakxbphunthankhxngrabbptibtikar ekhxrenl nnepnthanlangsudinkartidtxkbthrphyakrtang echn hnwykhwamca hnwypramwlphlklang aela xupkrnxinphutaelaexatphutekhxrenlechuxmtxrahwanghardaewrkbsxftaewr enuxha 1 praephthrupaebb ekhxrenl 1 1 omonlithik ekhxrenl Monolithic kernel 1 2 imokhrekhxrenl Microkernel 1 3 ekhxrenlaebbphsm Hybrid kernel 2 xangxing 3 aehlngkhxmulxunpraephthrupaebb ekhxrenl aekikh rupphaphaesdnghlkkarthangankhxngomonlithik ekhxrenl omonlithik ekhxrenl Monolithic kernel aekikh omonlithik ekhxrenl epnekhxrenlthiennkarthanganaebbhnungtxhnung odycaeriykchudkhasngthnghmdthiediywinhnungrxb thaihkarpramwlphlerwmak aetmikhxesiykhuxemuxekhxrenllmcathaihrabbaehngkhinthnthi thngnikhunxyukbkarxxkaebbekhxrenl omonlithik ekhxrenlmixyuin Linux kernel Android OS MS DOS Microsoft Windows 9x Series Windows 95 Windows 98 epntn Agniximokhrekhxrenl Microkernel aekikh rupphaphaesdnghlkkarthangankhxngimokhrekhxrenl imokhrekhxrenl epnekhxrenlthiaebngkarthanganinaetlaphakhswnxxkcakkn twxyangechn aebngswnkhxngsxftaewrprayukt swnkhxngxupkrn swncdkarifl l inthangthvsdiimokhrekhxrenlmikhwamesthiyrsungenuxngcakaebngkarthanganthukphakhswnxxkcakkn aetmikhxesiykhuxeriykprasiththiphaphkhxngrabbxxkmaidimetmthitwxyangkhxngimokhrekhxrenl aela rabbptibtikarthimiphunbn imokhrekhxrenl AIX AmigaOS Amoeba Chorus microkernel EROS Haiku K42 LSE OS KeyKOS The L4 microkernel family Mach used in GNU Hurd NEXTSTEP OPENSTEP and Mac OS X MERT Minix MorphOS NewOS QNX Phoenix RTOS RadiOS Spring operating system VSTa Symbian OSekhxrenlaebbphsm Hybrid kernel aekikh ekhxrenlaebbphsm epnekhxrenlthirwmkhwamsamarthkhxngimokhrekhxrenlaelaomonlithikekhxrenlekhadwyknephuxeliynaebbprasiththiphaphaelaesthiyrphaphkhxngomonlithikekhxrenlaelaimokhrekhxrenl BeOS kernel DragonFly BSD Haiku kernel NetWare kernel Plan 9 kernel ReactOS kernel NT kernel Windows NT kernel Windows 2000 Windows XP Windows 2003 and Windows Vista XNU kernel ichin Mac OS X xangxing aekikh sakd kernel wa ekhxrenl tamsphthbyytikhxngrachbnthitysthan Andrew Tanenbaum Operating Systems Design and Implementation Third edition Andrew Tanenbaum Modern Operating Systems Second edition Daniel P Bovet Marco Cesati The Linux Kernel David A Peterson Nitin Indurkhya Patterson Computer Organization and Design Morgan Koffman ISBN 1 55860 428 6 B S Chalk Computer Organisation and Architecture Macmillan P ISBN 0 333 64551 0 aehlngkhxmulxun aekikhKernel khuxxair aehlngkhxmulkhwamruphasaithyekhathungcak https th wikipedia org w index php title ekhxrenl amp oldid 8525207, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม