fbpx
วิกิพีเดีย

เงาะ

เงาะ
ลูกเงาะ
สถานะการอนุรักษ์
การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ชั้น: Magnoliopsida
อันดับ: Sapindales
วงศ์: Sapindaceae
สกุล: Nephelium
สปีชีส์: N.  lappaceum
ชื่อทวินาม
Nephelium lappaceum
L.

เงาะ (ชื่อวิทยาศาสตร์: Nephelium lappaceum Linn.) เป็นไม้ผลเมืองร้อนขนาดกลางในวงศ์ Sapindaceae เป็นผลไม้พื้นเมืองของประเทศมาเลเซีย และประเทศอื่น ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยทั่วไปเงาะเป็นไม้ผลที่เจริญเติบโตได้ดี ในบริเวณที่มีความชื้นค่อนข้างสูง เงาะในประเทศไทย จึงนิยมปลูกในบริเวณภาค ตะวันออกและภาคใต้ อาทิ พันธุ์สีทอง พันธุ์น้ำตาลกรวด พันธุ์สีชมพู พันธุ์โรงเรียน และพันธุ์เจ๊ะมง เป็นต้น แต่พันธุ์เงาะที่นิยมปลูกเป็นการค้า มีแค่ 3 พันธุ์ คือ พันธุ์โรงเรียน พันธุ์สีทอง และพันธุ์สีชมพู ส่วนพันธุ์อื่น ๆ จะมีปลูกกันบ้างประปรายและโดยมากมักใช้เพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือใช้ประโยชน์ เพื่อการศึกษาทางวิชาการ ในอดีตประเทศที่ผลิตและส่งออกรายใหญ่ได้แก่ ไทย มาเลเซีย และอินโดนีเซีย แต่ปัจจุบันพบว่าประเทศผู้ผลิตใหม่ เช่น ออสเตรเลีย และฮอนดูรัส ได้เข้ามามีส่วนแบ่งในตลาดเพิ่มมากขึ้น

ลักษณะทั่วไป

เงาะเป็นไม้ผลยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ชอบอากาศร้อนชื้น อุณหภูมิที่เหมาะสม อยู่ในช่วง 25 – 30° C ความชื้นสัมพัทธ์สูงประมาณ 75 – 85 % ดินปลูกที่เหมาะสมควรมีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง (ค่า pH) ของดินประมาณ 5.5 – 6.5 และที่สำคัญควรเลือกแหล่งปลูกที่มีน้ำเพียงพอตลอดปี เงาะเป็นไม้ผลที่มีระบบรากหาอาหารลึกประมาณ 60 – 90 เซนติเมตรจากผิวดินจึงต้องการสภาพแล้งก่อนออกดอกติดต่อกัน ประมาณ 21 – 30 วัน เมื่อต้นเงาะผ่านสภาพแล้งและมีการจัดการน้ำอย่างเหมาะสมเงาะจะออกดอก ช่วงพัฒนาการของดอก (ผลิตดอก – ดอกแรกเริ่มบาน) ประมาณ 10 – 12 วัน ดอกเงาะจะทยอยบานจากโคนช่อไปหาปลายช่อ ใช้เวลาประมาณ 25 – 30 วัน จึงจะบานหมดช่อ ดอกเงาะมี 2 ชนิด คือ ดอกตัวผู้และดอกสมบูรณ์เพศ ต้นที่มีดอกตัวผู้จะไม่ติดผล ส่วนต้นที่มีดอกสมบูรณ์เพศนั้นเกสรตัวผู้ไม่ค่อยแข็งแรง ต้องปลูกต้นตัวผู้แซมในสวนเพื่อเพิ่มละอองเกสรหรือฉีดพ่นฮอร์โมนพืชเพื่อช่วยให้เกสรตัวผู้แข็งแรงขึ้น

ประโยชน์

เงาะมีสารที่มีชื่อว่า แทนนิน ซึงแทนนินนี้สามารถใช้ฟอกหนัง ย้อมผ้า บำบัดน้ำเสีย ยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ป้องกันแมลง ทำเป็นปุ๋ย ทำเป็นกาว และทำยารักษาโรค แต่มีโทษคือ แทนนินมีฤทธิ์ในการยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ในกระเพาะอาหาร หากกินเข้าไปมากจะทำให้รู้สึกท้องอืด หรือท้องผูก มีอาการเหมือนกับการดื่มน้ำชา เปลือกผลของเงาะมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ

การปลูก

วิธีการปลูกต้นกล้า

ทำได้ทั้งการขุดหลุมปลูกซึ่งเหมาะกับพื้นที่ที่ยังไม่มีการวางระบบน้ำไว้ก่อนปลูก วิธีนี้ดินในหลุมจะช่วยเก็บความชื้นได้ดีขึ้น และสามารถปลูกโดยวิธีไม่ต้องขุดหลุม (ปลูกแบบนั่งแท่นหรือยกโคก) เหมาะกับพื้นที่ฝนตกชุก วิธีการนี้ระบายน้ำดีน้ำไม่ขังโคนต้น แต่ต้องมีการวางระบบน้ำไว้ก่อนปลูก ซึ่งต้นเงาะจะเจริญเติบโตเร็วกว่าการขุดหลุม ทั้งนี้จุดเน้นที่สำคัญในการปลูก คือ ควรใช้ต้นกล้าที่มีระบบรากดี ไม่ขดงอในถุง แต่ถ้าจะใช้ต้นกล้าขนาดใหญ่ก็ให้ตัดดินและรากที่ขดหรือพันตรงก้นถุงออก

ระยะปลูก

จำนวนการปลูกประมาณ 25 - 40 ต้นต่อไร ในระยะปลูก 6 – 8 X 6 – 8 เมตร ถ้าใช้ระยะปลูกชิด 6 X 6 เมตร จะตัดแต่งกิ่งเพื่อควบคุมทรงพุ่มอย่างใกล้ชิดไม่ให้ทรงพุ่มชนและบังแสงกัน สำหรับสวนที่ใช้เครื่องจักรกลแทนแรงงาน ควรเว้นระยะระหว่างแถวให้ห่างพอที่เครื่องจักรกลจะเข้าไปทำงาน แต่ให้ระยะระหว่างต้นชิดขึ้น ปลูกในเดือนเมษายน

การดูแลรักษา

ให้น้ำสม่ำเสมอช่วงเจริญทางใบ งดน้ำช่วงปลายฝน ต้นเงาะที่มีใบแก่และสมบูรณ์ทั้งต้นและผ่านสภาพแล้งติดต่อกันนาน 21 – 30 วัน จะแสดงอาการขาดน้ำ (ใบห่อ) ให้กระตุ้นการออกดอกโดยการให้น้ำในปริมาณมากเต็มที่ จากนั้นให้หยุดดูอาการ 7 – 10 วัน เมื่อพบว่าตายอดเริ่มพัฒนาเป็นตาดอก ก็เริ่มให้น้ำอีกครั้งปริมาณเท่าเดิมเพื่อเร่งการพัฒนาของตาดอก แต่ถ้าหลังจากให้น้ำครั้งที่ 1 แล้ว พบว่าตา ยอดเปลี่ยนสีเป็นสีน้ำตาลอมเขียว แสดงว่าให้น้ำมากเกินไปตายอดพัฒนาเป็นตาใบแทนที่จะเป็นตาดอก ต้องหยุดน้ำและปล่อยให้เงาะกระทบแล้งอีกครั้งจนเห็นว่าสีเขียวน้ำตาลของตายอดเปลี่ยนเป็นน้ำตาลทองของตาดอก ก็เริ่มให้น้ำในอัตรา ½ ของครั้งแรก จากนั้นเมื่อแทงช่อดอกและติดผลแล้วควรให้น้ำอย่างสม่ำเสมอ ประมาณ เพื่อเร่งพัฒนาการของดอก และเร่งพัฒนาการของผลให้ขึ้นลูกได้เร็วและผลโต

คุณค่าทางโภชนาการ

เงาะเป็นผลไม้อีกชนิดที่มีขายกันอยู่ทั่วไป เป็นผลไม้รสหวานและ อมเปรี้ยวรับประทานเงาะสดสามารถแก้อาการท้องร่วงชนิดรุนแรง ได้ผลดี นอกจากนี้ผลเงาะนำมาต้ม นำน้ำที่ได้มาเป็นยาแก้อักเสบ ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย รักษาอาการอักเสบในช่องปาก และโรคบิดท้องร่วง มีข้อควรระวัง คือเม็ดในของเงาะมีพิษแม้ว่าจะเอาไปคั่วจนสุกแล้ว แต่ถ้ารับประทานมากเกินไปจะมีอาการปวดท้อง เวียนศีรษะ มีไข้ คลื่นไส้ อาเจียน ดังนั้นไม่ควรจะรับประทานเม็ด

อ้างอิง

  1. Morton JF (1987). ""Rambutan", in Fruits of Warm Climates". Center for New Crops & Plant Products, Purdue University Department of Horticulture and Landscape Architecture, W. Lafayette, IN. pp. 262–265.
  2. H. D. Tindall (1 January 1994). Rambutan Cultivation. UN FAO. ISBN 978-92-5-103325-8.
  3. "The Rambutan Information Website". Panoramic Fruit Farm, Puerto Rico. สืบค้นเมื่อ 25 June 2011.
  4. อิทธิฤทธิ อึ้งวิเชียร. เงาะ. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
  5. กรมวิชาการเกษตร (2546). เอกสารวิชาการ ศัตรูเงาะ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  6. กรมส่งเสริมการเกษตร. เงาะ. [online]. เข้าถึงได้จาก http://www.doae.go.th/plant/rambutan.htm
  7. อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ ประภัสสร รักถาวร เมทิกา ลีบุญญานนท์ และพจมาน พิศเพียงจันทน์. 2553. สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพ การต้านอนุมูลอิสระ และการต้านเชื้อแบคทีเรียก่อสิวของสารสกัดจากเปลือกผลไม้. เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48 3-5 ก.พ. 2553 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หน้า 364-373
  8. http://web.archive.org/20071116102523/www.geocities.com/psplant/pomo02
  9. องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. เงาะ [online] เข้าถึงได้จาก http://www.mof.or.th/fruit-ngaw.htm

อื่น ๆ

เงาะ, กสถานะการอน, กษ, least, concernการจำแนกช, นทางว, ทยาศาสตร, อาณาจ, กร, plantaeหมวด, magnoliophytaช, magnoliopsidaอ, นด, sapindalesวงศ, sapindaceaeสก, nepheliumสป, lappaceumช, อทว, นามnephelium, lappaceuml, อว, ทยาศาสตร, nephelium, lappaceum, linn, เป, นไม. engaalukengaasthanakarxnurksLeast Concernkarcaaenkchnthangwithyasastrxanackr Plantaehmwd Magnoliophytachn Magnoliopsidaxndb Sapindaleswngs Sapindaceaeskul Nepheliumspichis N lappaceumchuxthwinamNephelium lappaceumL engaa chuxwithyasastr Nephelium lappaceum Linn epnimphlemuxngrxnkhnadklanginwngs Sapindaceae epnphlimphunemuxngkhxngpraethsmaelesiy 1 2 aelapraethsxun inexechiytawnxxkechiyngit 3 odythwipengaaepnimphlthiecriyetibotiddi inbriewnthimikhwamchunkhxnkhangsung engaainpraethsithy cungniymplukinbriewnphakh tawnxxkaelaphakhit xathi phnthusithxng phnthunatalkrwd phnthusichmphu phnthuorngeriyn aelaphnthuecamng epntn aetphnthuengaathiniymplukepnkarkha miaekh 3 phnthu khux phnthuorngeriyn phnthusithxng aelaphnthusichmphu swnphnthuxun camiplukknbangpraprayaelaodymakmkichephuxbriophkhinkhrweruxn hruxichpraoychn ephuxkarsuksathangwichakar 4 inxditpraethsthiphlitaelasngxxkrayihyidaek ithy maelesiy aelaxinodniesiy aetpccubnphbwapraethsphuphlitihm echn xxsetreliy aelahxndurs idekhamamiswnaebngintlad 5 ephimmakkhun enuxha 1 lksnathwip 2 praoychn 3 karpluk 3 1 withikarpluktnkla 3 2 rayapluk 3 3 karduaelrksa 4 khunkhathangophchnakar 5 xangxing 6 xun lksnathwip aekikhengaaepnimphlyuntnkhnadklangthungkhnadihy chxbxakasrxnchun xunhphumithiehmaasm xyuinchwng 25 30 C khwamchunsmphththsungpraman 75 85 dinplukthiehmaasmkhwrmikhakhwamepnkrdepndang kha pH khxngdinpraman 5 5 6 5 aelathisakhykhwreluxkaehlngplukthiminaephiyngphxtlxdpi engaaepnimphlthimirabbrakhaxaharlukpraman 60 90 esntiemtrcakphiwdincungtxngkarsphaphaelngkxnxxkdxktidtxkn praman 21 30 wn emuxtnengaaphansphaphaelngaelamikarcdkarnaxyangehmaasmengaacaxxkdxk chwngphthnakarkhxngdxk phlitdxk dxkaerkerimban praman 10 12 wn dxkengaacathyxybancakokhnchxiphaplaychx ichewlapraman 25 30 wn cungcabanhmdchx dxkengaami 2 chnid khux dxktwphuaeladxksmburnephs tnthimidxktwphucaimtidphl swntnthimidxksmburnephsnneksrtwphuimkhxyaekhngaerng txngpluktntwphuaesminswnephuxephimlaxxngeksrhruxchidphnhxromnphuchephuxchwyiheksrtwphuaekhngaerngkhun 6 praoychn aekikhengaamisarthimichuxwa aethnnin sungaethnninnisamarthichfxkhnng yxmpha babdnaesiy ybyngkarecriyetibotkhxngculinthriy pxngknaemlng thaepnpuy thaepnkaw aelathayarksaorkh aetmiothskhux aethnninmivththiinkarybyngkarthangankhxngexnisminkraephaaxahar hakkinekhaipmakcathaihrusukthxngxud hruxthxngphuk mixakarehmuxnkbkardumnacha epluxkphlkhxngengaamivththitanxnumulxisra 7 karpluk aekikhwithikarpluktnkla aekikh thaidthngkarkhudhlumpluksungehmaakbphunthithiyngimmikarwangrabbnaiwkxnpluk withinidininhlumcachwyekbkhwamchuniddikhun aelasamarthplukodywithiimtxngkhudhlum plukaebbnngaethnhruxykokhk ehmaakbphunthifntkchuk withikarnirabaynadinaimkhngokhntn aettxngmikarwangrabbnaiwkxnpluk sungtnengaacaecriyetiboterwkwakarkhudhlum thngnicudennthisakhyinkarpluk khux khwrichtnklathimirabbrakdi imkhdngxinthung aetthacaichtnklakhnadihykihtddinaelarakthikhdhruxphntrngknthungxxk rayapluk aekikh canwnkarplukpraman 25 40 tntxir inrayapluk 6 8 X 6 8 emtr thaichrayaplukchid 6 X 6 emtr catdaetngkingephuxkhwbkhumthrngphumxyangiklchidimihthrngphumchnaelabngaesngkn sahrbswnthiichekhruxngckrklaethnaerngngan khwrewnrayarahwangaethwihhangphxthiekhruxngckrklcaekhaipthangan aetihrayarahwangtnchidkhun plukineduxnemsayn karduaelrksa aekikh ihnasmaesmxchwngecriythangib ngdnachwngplayfn tnengaathimiibaekaelasmburnthngtnaelaphansphaphaelngtidtxknnan 21 30 wn caaesdngxakarkhadna ibhx ihkratunkarxxkdxkodykarihnainprimanmaketmthi caknnihhyudduxakar 7 10 wn emuxphbwatayxderimphthnaepntadxk kerimihnaxikkhrngprimanethaedimephuxerngkarphthnakhxngtadxk aetthahlngcakihnakhrngthi 1 aelw phbwata yxdepliynsiepnsinatalxmekhiyw aesdngwaihnamakekiniptayxdphthnaepntaibaethnthicaepntadxk txnghyudnaaelaplxyihengaakrathbaelngxikkhrngcnehnwasiekhiywnatalkhxngtayxdepliynepnnatalthxngkhxngtadxk kerimihnainxtra khxngkhrngaerk caknnemuxaethngchxdxkaelatidphlaelwkhwrihnaxyangsmaesmx praman ephuxerngphthnakarkhxngdxk aelaerngphthnakarkhxngphlihkhunlukiderwaelaphlot 8 khunkhathangophchnakar aekikhengaaepnphlimxikchnidthimikhayknxyuthwip epnphlimrshwanaela xmepriywrbprathanengaasdsamarthaekxakarthxngrwngchnidrunaerng idphldi nxkcakniphlengaanamatm nanathiidmaepnyaaekxkesb khaechuxaebkhthieriy rksaxakarxkesbinchxngpak aelaorkhbidthxngrwng mikhxkhwrrawng khuxemdinkhxngengaamiphisaemwacaexaipkhwcnsukaelw aettharbprathanmakekinipcamixakarpwdthxng ewiynsirsa miikh khlunis xaeciyn dngnnimkhwrcarbprathanemd 9 xangxing aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb engaa Morton JF 1987 Rambutan in Fruits of Warm Climates Center for New Crops amp Plant Products Purdue University Department of Horticulture and Landscape Architecture W Lafayette IN pp 262 265 H D Tindall 1 January 1994 Rambutan Cultivation UN FAO ISBN 978 92 5 103325 8 The Rambutan Information Website Panoramic Fruit Farm Puerto Rico subkhnemux 25 June 2011 xiththivththi xungwiechiyr engaa sthabnwicywithyasastraelaethkhonolyiaehngpraethsithy krmwichakarekstr 2546 exksarwichakar struengaa krathrwngekstraelashkrn krmsngesrimkarekstr engaa online ekhathungidcak http www doae go th plant rambutan htm xudmlksn sukhxtta praphssr rkthawr emthika libuyyannth aelaphcman phisephiyngcnthn 2553 sarxxkvththithangchiwphaph kartanxnumulxisra aelakartanechuxaebkhthieriykxsiwkhxngsarskdcakepluxkphlim eruxngetmkarprachumthangwichakarkhxngmhawithyalyekstrsastr khrngthi 48 3 5 k ph 2553 mhawithyalyekstrsastr hna 364 373 http web archive org 20071116102523 www geocities com psplant pomo02 xngkhkartladephuxekstrkr krathrwngekstraelashkrn engaa online ekhathungidcak http www mof or th fruit ngaw htmxun aekikhsngkhthxng saikekhathungcak https th wikipedia org w index php title engaa amp oldid 9481321, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม