fbpx
วิกิพีเดีย

องศาเซลเซียส

สูตรการแปลงอุณหภูมิเคลวิน
จากเซลเซียส ไปเป็นเซลเซียส
องศาฟาเรนไฮต์ [°F] = [°C] × ​9⁄5 + 32 [°C] = ([°F] − 32) × ​5⁄9
เคลวิน [K] = [°C] + 273.15 [°C] = [K] − 273.15
แรงคิน [°R] = ([°C] + 273.15) × ​9⁄5 [°C] = ([°R] − 491.67) × ​5⁄9
องศาโรเมอร์ [°Ré] = [°C] × 4⁄5 [°C] = [°Ré] × 5⁄4

องศาเซลเซียส (อังกฤษ: degree Celsius, สัญลักษณ์ °C) หรือที่เคยเรียกว่า องศาเซนติเกรด (อังกฤษ: degree centigrade) เป็นหน่วยวัดอุณหภูมิหน่วยหนึ่งในระบบเอสไอ กำหนดให้จุดเยือกแข็งของน้ำคือ 0 °C และจุดเดือดคือ 100 °C โดยตั้งชื่อเพื่อเป็นเกียรติแก่แอนเดอร์ เซลเซียส ผู้ซึ่งสร้างระบบใกล้เคียงกับปัจจุบัน

ในปัจจุบันองศาเซลเซียสใช้กับแพร่หลายทั่วโลกในชีวิตประจำวัน จะยกเว้นก็มีสหรัฐและประเทศจาเมกาเท่านั้นที่นิยมใช้หน่วยองศาฟาเรนไฮต์ แต่ในประเทศดังกล่าว องศาเซลเซียสและเคลวินก็ใช้มากในด้านวิทยาศาสตร์

นิยาม

นิยามขององศาเซลเซียสนิยามจากหน่วยเคลวิน โดยที่ขนาดของสเกลหน่วยองศาเซลเซียสจะเท่ากับของเคลวิน กำหนดให้อุณหภูมิที่จุดศูนย์องศาสัมบูรณ์มีค่าเท่ากับ -273.15 °C

ประวัติ

 
ภาพวาดเทอร์โมมิเตอร์ของแอนเดอร์ เซลเซียสที่กลับจุดเดือดเป็น 0 องศา และจุดเยือกแข็งเป็น 100 องศา

หน่วยนี้ตั้งตามชื่อของแอนเดอร์ เซลเซียส (Anders Celsius มีชีวิตอยู่ระหว่าง ค.ศ. 1701–1744) นักดาราศาสตร์ชาวสวีเดน เขาเป็นคนแรกที่เสนอระบบที่ใกล้เคียงกับระบบนี้ในปี พ.ศ. 2285 (ค.ศ. 1742) โดยใช้ชื่อว่า เซนติเกรด ซึ่งมาจากภาษาละติน centum ที่แปลว่า 100 และ gradus ที่แปลว่าขั้น แต่แรกกำหนดให้อุณหภูมิจุดเดือดของน้ำคือ 100 องศา และจุดเยือกแข็งของน้ำคือ 0 องศาที่ระดับความดันบรรยากาศมาตรฐาน แต่ได้มีการสลับสเกลต่อมาหลังจากที่เซลเซียสเสียชีวิตไประยะหนึ่ง โดย Jean-Pierre Christin เป็นคนเสนอเรื่องนี้

ในปี พ.ศ. 2491 หน่วยนี้มีชื่อเรียกต่างกันสามแบบ ได้แก่

  • เซนติเกรด (centigrade)
  • องศาเซนเทสซิมัล (centesimal degree)
  • องศาเซลเซียส (Celsius degree)

แต่นับจากนั้นมา ชื่อที่ถูกเลือกเป็นทางการคือ องศาเซลเซียส จากการประชุม General Conference on Weights and Measures ครั้งที่ 9 โดยมีจุดประสงค์เพื่อระลึกถึงเซลเซียส และเป็นการตัดปัญหาความสับสนที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้คำนำหน้า centi- กับระบบเอสไอ และจากการที่นิยามเดิมไม่เหมาะสมที่จะใช้เป็นมาตรฐานอย่างเป็นทางการ เนื่องจากอุณหภูมิขึ้นกับนิยามของความดันบรรยากาศมาตรฐาน ซึ่งความดันบรรยากาศมาตรฐานนี้ก็ขึ้นกับอุณหภูมิอีกทีหนึ่ง จึงกำหนดนิยามใหม่ให้อุณหภูมิ 0.018°C ตรงกับจุดสามสถานะ (triple point) ของน้ำ และให้สเกลหนึ่งองศามีค่าเป็น 1/273.16 เท่าของผลต่างระหว่างอุณหภูมิที่จุดสามสถานะของน้ำกับจุดศูนย์องศาสัมบูรณ์ นิยามนี้ได้รับการยอมรับในการประชุม General Conference on Weights and Measures ครั้งที่ 10 เมื่อปี พ.ศ. 2497

องศาเซลเซ, ยส, ตรการแปลงอ, ณหภ, เคลว, จากเซลเซ, ยส, ไปเป, นเซลเซ, ยสองศาฟาเรนไฮต, 9เคลว, 15แรงค, 9องศาโรเมอร, งกฤษ, degree, celsius, ญล, กษณ, หร, อท, เคยเร, ยกว, องศาเซนต, เกรด, งกฤษ, degree, centigrade, เป, นหน, วยว, ดอ, ณหภ, หน, วยหน, งในระบบเอสไอ, กำหนดให, . sutrkaraeplngxunhphumiekhlwin cakeslesiys ipepneslesiysxngsafaerniht F C 9 5 32 C F 32 5 9ekhlwin K C 273 15 C K 273 15aerngkhin R C 273 15 9 5 C R 491 67 5 9xngsaoremxr Re C 4 5 C Re 5 4xngsaeslesiys xngkvs degree Celsius sylksn C hruxthiekhyeriykwa xngsaesntiekrd xngkvs degree centigrade epnhnwywdxunhphumihnwyhnunginrabbexsix kahndihcudeyuxkaekhngkhxngnakhux 0 C aelacudeduxdkhux 100 C odytngchuxephuxepnekiyrtiaekaexnedxr eslesiys phusungsrangrabbiklekhiyngkbpccubninpccubnxngsaeslesiysichkbaephrhlaythwolkinchiwitpracawn caykewnkmishrthaelapraethscaemkaethannthiniymichhnwyxngsafaerniht aetinpraethsdngklaw xngsaeslesiysaelaekhlwinkichmakindanwithyasastrniyam aekikhniyamkhxngxngsaeslesiysniyamcakhnwyekhlwin odythikhnadkhxngseklhnwyxngsaeslesiyscaethakbkhxngekhlwin kahndihxunhphumithicudsunyxngsasmburnmikhaethakb 273 15 Cprawti aekikh phaphwadethxrommietxrkhxngaexnedxr eslesiysthiklbcudeduxdepn 0 xngsa aelacudeyuxkaekhngepn 100 xngsa hnwynitngtamchuxkhxngaexnedxr eslesiys Anders Celsius michiwitxyurahwang kh s 1701 1744 nkdarasastrchawswiedn ekhaepnkhnaerkthiesnxrabbthiiklekhiyngkbrabbniinpi ph s 2285 kh s 1742 odyichchuxwa esntiekrd sungmacakphasalatin centum thiaeplwa 100 aela gradus thiaeplwakhn aetaerkkahndihxunhphumicudeduxdkhxngnakhux 100 xngsa aelacudeyuxkaekhngkhxngnakhux 0 xngsathiradbkhwamdnbrryakasmatrthan aetidmikarslbsekltxmahlngcakthieslesiysesiychiwitiprayahnung ody Jean Pierre Christin epnkhnesnxeruxngniinpi ph s 2491 hnwynimichuxeriyktangknsamaebb idaek esntiekrd centigrade xngsaesnethssiml centesimal degree xngsaeslesiys Celsius degree aetnbcaknnma chuxthithukeluxkepnthangkarkhux xngsaeslesiys cakkarprachum General Conference on Weights and Measures khrngthi 9 odymicudprasngkhephuxralukthungeslesiys aelaepnkartdpyhakhwamsbsnthixacekidkhuncakkarichkhanahna centi kbrabbexsix aelacakkarthiniyamedimimehmaasmthicaichepnmatrthanxyangepnthangkar enuxngcakxunhphumikhunkbniyamkhxngkhwamdnbrryakasmatrthan sungkhwamdnbrryakasmatrthannikkhunkbxunhphumixikthihnung cungkahndniyamihmihxunhphumi 0 018 C trngkbcudsamsthana triple point khxngna aelaihseklhnungxngsamikhaepn 1 273 16 ethakhxngphltangrahwangxunhphumithicudsamsthanakhxngnakbcudsunyxngsasmburn niyamniidrbkaryxmrbinkarprachum General Conference on Weights and Measures khrngthi 10 emuxpi ph s 2497ekhathungcak https th wikipedia org w index php title xngsaeslesiys amp oldid 9272826, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม