fbpx
วิกิพีเดีย

แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547

แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547 เป็นแผ่นดินไหวใต้ทะเล เกิดขึ้นเมื่อเวลา 07.58 น. ตามเวลาในประเทศไทย (00:58 UTC) เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 (ค.ศ. 2004) ศูนย์กลางอยู่ลึกลงไปในมหาสมุทรอินเดีย ใกล้ด้านตะวันตกของตอนเหนือเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย แรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว ทำให้เกิดความเสียหายบนเกาะสุมาตรา และยังรับรู้ได้ในภาคใต้ของประเทศไทย

แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2547
ความเสียหายที่หาดป่าตอง จังหวัดภูเก็ต หลังคลื่นสึนามิพัดถล่ม
ข้อผิดพลาด Lua ใน มอดูล:Location_map บรรทัดที่ 522: Unable to find the specified location map definition: "Module:Location map/data/Indian Ocean" does not exist
เวลาสากลเชิงพิกัด2004-12-26 00:58:53
รหัสเหตุการณ์ ISC7453151
USGS-ANSSComCat
วันที่*26 ธันวาคม พ.ศ. 2547
[[Category:EQ articles using 'date' or 'time' 
(deprecated)]]
เวลา*00:58:50 UTC
(07:58:50 เวลาท้องถิ่น)
[[Category:EQ articles using 'origintime' 
(deprecated)]]
วันที่ท้องถิ่น26 ธันวาคม ค.ศ. 2004 (2004-12-26)
เวลาท้องถิ่น
ขนาด9.1-9.3 Mw
ความลึก30 กิโลเมตร (19 ไมล์)
ศูนย์กลางการสั่นสะเทือน3°18′58″N 95°51′14″E / 3.316°N 95.854°E / 3.316; 95.854พิกัดภูมิศาสตร์: 3°18′58″N 95°51′14″E / 3.316°N 95.854°E / 3.316; 95.854
ประเภทแผ่นดินไหวเมกะทรัสต์
แผ่นดินไหวใต้ทะเล
(เขตมุดตัว)
ประเทศที่ได้รับผลกระทบอินโดนีเซีย, ศรีลังกา, อินเดีย, ไทย, มัลดีฟส์, โซมาเลีย, พม่า, มาเลเซีย, แทนซาเนีย, เซเชลส์, บังคลาเทศ, แอฟริกาใต้, เยเมน, เคนยา, มาดากัสการ์
ความเสียหายทั้งหมดUS$15 พันล้าน
ระดับความรุนแรงที่รู้สึกได้IX (รุนแรง)
สึนามิ
  • 15 ถึง 30 m (50 ถึง 100 ft);
  • สูงสุด 51 m (167 ft)
ผู้ประสบภัยผู้เสียชีวิต 230,210 – 280,000+ ราย
เลิกใช้แล้ว ดูเอกสาร

แผ่นดินไหวเกิดจากการยุบตัวของเปลือกโลกใต้มหาสมุทรอินเดีย กระตุ้นให้เกิดคลื่นสึนามิสูงราว 30 เมตร เข้าท่วมทำลายบ้านเรือนตามแนวชายฝั่งโดยรอบมหาสมุทรอินเดีย ประมาณการว่ามีผู้เสียชีวิตจากแผ่นดินไหวครั้งนี้ใน 14 ประเทศมากกว่า 230,000 - 280,000คนหรือมากกว่า 280,000 คน นับเป็นหนึ่งในภัยพิบัติทางธรรมชาติครั้งร้ายแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ ประเทศที่ได้รับความเสียหายมากที่สุดได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย รองลงมาคือประเทศศรีลังกา ประเทศอินเดีย และประเทศไทย ตามลำดับ

ความรุนแรงของแผ่นดินไหวอยู่ระหว่างแมกนิจูด 9.1 ถึง 9.3 ตามมาตราโมเมนต์ ทำให้แผ่นดินไหวครั้งนี้นับเป็นแผ่นดินไหวที่มีความรุนแรงเป็นอันดับที่สามตามที่เคยวัดได้จากเครื่องวัดแผ่นดินไหว (Seismometer) นอกจากนี้ยังถือว่าเป็นแผ่นดินไหวที่มีคาบเวลายาวนานที่สุด โดยการสังเกตคาบเวลาอยู่ที่ประมาณ 8.3 ถึง 10 นาที ส่งผลให้แผ่นดินทั่วทั้งผืนโลกเคลื่อนตัวไปถึง 1 เซนติเมตร และยังเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดแผ่นดินไหวในจุดอื่น ๆ ของโลก

ลักษณะแผ่นดินไหว

แผ่นดินไหวถูกบันทึกครั้งแรกด้วยค่าความรุนแรงแมกนิจูด 8.8 ต่อมาในเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 จึงได้ปรับเพิ่มเป็นแมกนิจูด 9.0 โดยศูนย์เตือนภัยสึนามิมหาสมุทรแปซิฟิกได้ยอมรับค่าใหม่นี้ ส่วนสำนักธรณีวิทยาสหรัฐอเมริกา (United States Geological Survey) ยังคงยึดค่าเดิมที่ประมาณการไว้ที่แมกนิจูด 9.1 ด้านผลการศึกษาล่าสุดในปี พ.ศ. 2549 บ่งชี้ว่าความรุนแรงของแผ่นดินไหวมีค่าระหว่างแมกนิจูด 9.1–9.3 อย่างไรก็ตาม ดอกเตอร์ฮิโระโอะ คะนะโมริ (Hiroo Kanamori) แห่งสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนียแนะนำว่าแมกนิจูด 9.2 เหมาะสมที่จะใช้เป็นค่าตัวแทนสำหรับแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ครั้งนี้

จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวเกิดขึ้นใต้มหาสมุทรอินเดีย ลึกลงไป 30 km (19 mi) จากระดับน้ำทะเล ห่างจาก เกาะซิเมอลูเอ ไปทางทิศเหนือประมาณ 160 km (100 mi) ซึ่งตัวเกาะตั้งอยู่ห่างออกไปทางทิศตะวันตกของเกาะสุมาตรา โดยรอยเลื่อนซุนดาเมกะทรัสต์ (Sunda megathrust) ได้เลื่อนตัวแตกออกยาวถึง 1,300 km (810 mi) ทำให้เกิดแผ่นดินไหวและตามด้วยคลื่นสึนามิ ประชาชนในประเทศบังคลาเทศ อินเดีย มาเลเซีย พม่า ไทย สิงคโปร์ และมัลดีฟส์รับรู้ถึงแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว จากนั้นรอยเลื่อนย่อย (Splay fault) จึงขยับตาม ทำให้พื้นทะเลเกิดรอยแตกยาวในเวลาไม่กี่วินาที และเกิดน้ำทะเลยกตัวสูงและเพิ่มความเร็วแก่คลื่นให้มากขึ้น จากนั้นคลื่นสึนามิได้เข้าทำลายเมืองล็อกนา (Lhoknga) ใกล้กับเมืองบันดาอาเจะฮ์ จนราบเป็นหน้ากลอง

ด้านธรณีสัณฐาน อินโดนีเซียตอนเหนือและตะวันออกใกล้กับนิวกินีจะตั้งอยู่บนแนววงแหวนแห่งไฟแห่งแปซิฟิก ส่วนตอนใต้พาดไปทางตะวันตกของประเทศเป็นแนวแผ่นดินไหวเรียกว่า แนวแอลไพด์ ผ่านเกาะติมอร์ โฟลเร็ซ บาหลี ชวา และเกาะสุมาตรา

 
แผนภูมิวงกลม แสดงขนาดโมเมนต์แผ่นดินไหวที่วัดได้ทั้งหมดตั้งแต่ปี ค.ศ. 1906–2005 เปรียบเทียบกับแผ่นดินไหวขนาดใหญ่แต่ละครั้ง แผ่นดินไหวในมหาสมุทรอินเดียแสดงสีน้ำเงินเข้ม

แผ่นดินไหวใหญ่ครั้งนี้เกิดขึ้นในเขตมุดตัวของเปลือกโลก ซึ่งเป็นแหล่งกำเนิดแผ่นดินไหวขนาดเมกะทรัสต์อยู่เสมอ มีค่าโมเมนต์แผ่นดินไหวสูงในระดับศตวรรษ โดยหากรวมค่าโมเมนต์แผ่นดินไหวทั้งหมดที่เกิดขึ้นในรอบ 100 ปี ตั้งแต่ ค.ศ. 1906 จนถึง 2005 แผ่นดินไหวที่อินโดนีเซียครั้งนี้จะมีขนาดโมเมนต์แผ่นดินไหวถึง 1 ใน 8 ของแผ่นดินไหวทั้งหมดดังกล่าว นอกจากนี้ หากรวมกับเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่อะแลสกา ค.ศ. 1964 และที่ชิลี ค.ศ. 1960 จะมีขนาดโมเมนต์สูงถึงครึ่งหนึ่งของแผ่นดินไหวทั้งหมดดังกล่าว หากเทียบกับแผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นในซานฟรานซิสโกปี ค.ศ. 1906 กับแผ่นดินไหวครั้งนี้ ถือว่าครั้งนั้นมีขนาดเล็กมาก (หากแต่ครั้งนั้นเกิดความเสียหายไม่แพ้กัน)

นับตั้งแต่ ค.ศ. 1900 แผ่นดินไหวในครั้งนี้ถือว่ามีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 รองจากแผ่นดินไหวในชิลี ค.ศ. 1960 (แมกนิจูด 9.5) และแผ่นดินไหวในอะแลสกา ค.ศ. 1964 (แมกนิจูด 9.2) นอกจากนี้มีอีกเพียงสองครั้งที่มีขนาดแมกนิจูด 9.0 ได้แก่ แผ่นดินไหวที่คาบสมุทรคัมชัตคา ทางตะวันออกของรัสเซีย เมื่อ ค.ศ. 1952 และแผ่นดินไหวที่ญี่ปุ่น ค.ศ. 2011 เหตุการณ์แผ่นดินไหวดังกล่าวล้วนก่อให้เกิดคลื่นสึนามิในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกแทบทั้งสิ้น ถึงกระนั้นกลับมีจำนวนผู้เสียชีวิตไม่มากอย่างมีนัยสำคัญ โดยสาเหตุหลักคือ ชายฝั่งใกล้ศูนย์กลางแผ่นดินไหวมีประชากรอาศัยเบาบาง พื้นที่ที่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นอยู่ห่างไกลจากศูนย์กลางแผ่นดินไหวเหล่านั้นมาก รวมถึงความมีประสิทธิภาพของระบบสาธารณูปโภคและระบบเตือนภัย เช่น ในกรณีของประเทศญี่ปุ่น เป็นต้น

แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ (ขนาดเมกะทรัสต์) ครั้งอื่น เกิดขึ้นใน ค.ศ. 1868 ในประเทศเปรู (แผ่นเปลือกโลกนาสกาและแผ่นอเมริกาใต้) ค.ศ. 1827 ในโคลอมเบีย (แผ่นนาสกาและแผ่นอเมริกาใต้) ค.ศ. 1812 ในเวเนซูเอลา (แผ่นแคริบเบียนและแผ่นอเมริกาใต้) และแผ่นดินไหวคาสคาเดีย ค.ศ. 1700 ทางตะวันตกเฉียงเหนือของอเมริกา (แผ่นฮวนเดอฟูกาและแผ่นอเมริกาเหนือ) ทั้งหมดที่กล่าวมานี้คาดว่ามีความรุนแรงมากกว่าแมกนิจูด 9 แต่ไม่มีตัวเลขชัดเจนถึงขนาดที่แท้จริงในขณะนั้น

 
ภาพเคลื่อนไหวของคลื่นสึนามิสุมาตรา (ที่มา: องค์การสมุทรศาสตร์และบรรยากาศแห่งชาติสหรัฐอเมริกา

สรุปความเสียหายและจำนวนผู้เสียชีวิต

ประเทศที่ได้รับความเสียหาย ยืนยัน โดยประมาณ ได้รับบาดเจ็บ สูญหาย ไร้ที่อยู่อาศัย
ประเทศอินโดนีเซีย 130,736 167,799 37,063 500,000+
ประเทศศรีลังกา 35,322 35,322 21,411 516,150
ประเทศอินเดีย 12,405 18,045 5,640 647,599
ประเทศไทย 5,395 8,212 8,457 2,817 7,000
ประเทศโซมาเลีย 78 289 5,000
ประเทศพม่า 61 400–600 45 200 3,200
ประเทศมัลดีฟส์ 82 108 26 15,000+
ประเทศมาเลเซีย 68 75 299 6
ประเทศแทนซาเนีย 10 13
หมู่เกาะเซเชลส์ 3 3 57 200
ประเทศบังกลาเทศ 2 2
ประเทศแอฟริกาใต้ 2 2
ประเทศเยเมน 2 2
ประเทศเคนยา 1 1 2
ประเทศมาดากัสการ์ 1,000+
รวม ~184,167 ~230,273 ~125,000 ~45,752 ~1.69 ล้าน

ผลกระทบในประเทศไทย

 
แผนที่แสดงประเทศที่ได้รับผลกระทบจากคลื่นสึนามิ

ความเสียหายด้านชีวิตและทรัพย์สิน

ข้อมูล ณ วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2548 มีจำนวนผู้เสียชีวิต ผู้บาดเจ็บ และผู้สูญหาย ในประเทศไทย มีจำนวนทั้งหมด 5,309 คน ผู้สูญหายจำนวนทั้งหมด 3,370 คน ต่อมาได้มีการรับแจ้งจากญาติพี่น้องของผู้ประสบภัยภายหลังการเกิดเหตุ จำนวนดังกล่าวนี้ลดลงเพราะได้พบผู้ที่รับแจ้งว่าสูญหายบางคนแล้ว นอกจากนี้ยังมีการค้นพบศพผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้น รวมทั้งมีการตรวจสอบเอกลักษณ์ของศพที่เก็บรักษาไว้เพื่อให้ทราบว่าเป็นผู้ใด ในรายงานของกระทรวงมหาดไทยที่เสนอต่อคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2548 เหตุการณ์ในครั้งนี้ยังทำให้ คุณพุ่ม เจนเซน พระราชนัดดาใน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระโอรสใน ทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ถึงแก่อนิจกรรมด้วย นอกจากมีผู้เสียชีวิต ผู้บาดเจ็บ และผู้สูญหายเป็นจำนวนมากแล้ว ยังมีความเสียหายในด้านทรัพย์สิน ได้แก่ บ้านเรือนของราษฎร โรงแรม บังกะโล โฮมสเตย์ เกสต์เฮาส์ ร้านค้า ร้านอาหาร ทรัพย์สินส่วนตัวของนักท่องเที่ยว ยานพาหนะ ตลอดจนระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ อาทิ ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ถนน เป็นมูลค่ากว่าพันล้านบาท

ความเสียหายด้านเศรษฐกิจ

ด้านเศรษฐกิจที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โดยจังหวัดที่ได้รับผลกระทบมากที่สุด คือ จังหวัดภูเก็ต พังงา และกระบี่ ซึ่งเป็นจังหวัดที่มีจำนวนนักท่องเที่ยวเสียชีวิต และบาดเจ็บมากที่สุด มีแหล่งท่องเที่ยวได้รับความเสียหายมาก จำนวน 8 แห่ง คือ

 
ภาพเหตุการณ์ประชาชนกำลังวิ่งหนีคลื่นสึนามิเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ที่จังหวัดภูเก็ต
  • ชายทะเลเขาหลักในอุทยานแห่งชาติเขาหลัก ลำรู่ ตำบลคึกคัก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา (เป็นจุดที่นักท่องเที่ยวเสียชีวิตและบาดเจ็บมากที่สุด)
  • เกาะสิมิลัน อำเภอตะกั่วป่า จังหวัดพังงา
  • หาดราไวย์ ตำบลราไวย์ อำเภอเมืองฯ จังหวัดภูเก็ต
  • หาดกะรน ตำบลกะรน อำเภอเมืองฯ จังหวัดภูเก็ต
  • หาดกมลา ตำบลกมลา อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
  • หาดป่าตอง ตำบลป่าตอง อำเภอกะทู้ จังหวัดภูเก็ต
  • เกาะพีพี ตำบลอ่าวนาง อำเภอเมือง จังหวัดกระบี่
  • บ้านหาดทรายขาว อำเภอสุขสำราญ จังหวัดระนอง

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. . U.S. Geological Survey. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 17 August 2012. สืบค้นเมื่อ 26 August 2012.
  2. "Indian Ocean Tsunami – Economic Aspects". indianoceantsunami.web.unc.edu.
  3. "Astonishing Wave Heights Among the Findings of an International Tsunami Survey Team on Sumatra". U.S. Geological Survey. สืบค้นเมื่อ 16 June 2016.
  4. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Paris
  5. Paris, Raphaël; Cachão, Mário; Fournier, Jérôme; Voldoire, Olivier (1 April 2010). "Nannoliths abundance and distribution in tsunami deposits: example from the December 26, 2004 tsunami in Lhok Nga (northwest Sumatra, Indonesia)". Géomorphologie : Relief, Processus, Environnement. 16 (1): 109–118. doi:10.4000/geomorphologie.7865.
  6. Earthquakes with 50,000 or More Deaths
  7. "Asia-Pacific | Indonesia quake toll jumps again". BBC News. 2005-01-25.
  8. Paulson, Tom. "." Seattlepi.com. February 7, 2005.
  9. Walton, Marsha. "Scientists: Sumatra quake longest ever recorded." CNN. May 20, 2005
  10. West, Michael; Sanches, John J.; McNutt, Stephen R. "Periodically Triggered Seismicity at Mount Wrangell, Alaska, After the Sumatra Earthquake." Science. Vol. 308, No. 5725, 1144–1146. May 20, 2005.
  11. McKee, Maggie. "Power of tsunami earthquake heavily underestimated." New Scientist. 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2005.
  12. EERI Publication 2006–06, หน้า 14.
  13. Nalbant, S., Steacy, S., Sieh, K., Natawidjaja, D., and McCloskey, J. "Seismology: Earthquake risk on the Sunda trench." Nature. Vol. 435, No. 7043, 756–757. 9 June 2005. Retrieved 16 May 2009. Archived 18 May 2009.
  14. Lovholt, F., Bungum, H., Harbitz, C.B., Glimsal, S., Lindholm, C.D., and Pedersen, G. "Earthquake related tsunami hazard along the western coast of Thailand." Natural Hazards and Earth System Sciences. Vol. 6, No. 6, 979–997. 30 November 2006. Retrieved 16 May 2009. Archived 18 May 2009.
  15. Sibuet, J-C., Rangin, C., Le Pichon, X., Singh, S., Cattaneo, A., Graindorge, D., Klingelhoefer, F., Lin, J-Y., Malod, J., Maury, T., Schneider, J-L., Sultan, N., Umber, M., Yamaguchi, H., and the "Sumatra aftershocks" team, "26 December 2004 great Sumatra–Andaman earthquake: Co-seismic and post-seismic motions in northern Sumatra." Earth and Planetary Science Letters. Vol. 263, Issues. 1–2, 88–103. 15 November 2007. Retrieved 16 May 2009. Archived 18 May 2009.
  16. "." United States Geological Survey.
  17. ความเสียหายที่ประเทศไทยได้รับจากพิบัติภัยคลื่นสึนามิ

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ASEAN News Network Tsunami
  • Tsunami Volunteer Center
  • Piers Simon Appeal Charity

แผ, นด, นไหวและคล, นส, นาม, ในมหาสม, ทรอ, นเด, 2547, แผ, นด, นไหวในมหาสม, ทรอ, นเด, 2547, เป, นแผ, นด, นไหวใต, ทะเล, เก, ดข, นเม, อเวลา, ตามเวลาในประเทศไทย, เม, อว, นท, นวาคม, 2547, 2004, นย, กลางอย, กลงไปในมหาสม, ทรอ, นเด, ใกล, านตะว, นตกของตอนเหน, อเกาะส, มา. aephndinihwinmhasmuthrxinediy ph s 2547 epnaephndinihwitthael ekidkhunemuxewla 07 58 n tamewlainpraethsithy 00 58 UTC emuxwnthi 26 thnwakhm ph s 2547 kh s 2004 sunyklangxyuluklngipinmhasmuthrxinediy ikldantawntkkhxngtxnehnuxekaasumatra praethsxinodniesiy aerngsnsaethuxncakaephndinihw thaihekidkhwamesiyhaybnekaasumatra aelayngrbruidinphakhitkhxngpraethsithyaephndinihwinmhasmuthrxinediy ph s 2547khwamesiyhaythihadpatxng cnghwdphuekt hlngkhlunsunamiphdthlmkhxphidphlad Lua in mxdul Location map brrthdthi 522 Unable to find the specified location map definition Module Location map data Indian Ocean does not existewlasaklechingphikd2004 12 26 00 58 53rhsehtukarn ISC7453151USGS ANSSComCatwnthi 26 thnwakhm ph s 2547 Category EQ articles using date or time deprecated ewla 00 58 50 UTC 07 58 50 ewlathxngthin Category EQ articles using origintime deprecated wnthithxngthin26 thnwakhm kh s 2004 2004 12 26 1 ewlathxngthin07 28 53 UTC 61 207 58 53 UTC 708 58 53 UTC 8khnad9 1 9 3 Mwkhwamluk30 kiolemtr 19 iml sunyklangkarsnsaethuxn3 18 58 N 95 51 14 E 3 316 N 95 854 E 3 316 95 854 phikdphumisastr 3 18 58 N 95 51 14 E 3 316 N 95 854 E 3 316 95 854 1 praephthaephndinihwemkathrstaephndinihwitthael ekhtmudtw praethsthiidrbphlkrathbxinodniesiy srilngka xinediy ithy mldifs osmaeliy phma maelesiy aethnsaeniy esechls bngkhlaeths aexfrikait eyemn ekhnya madakskarkhwamesiyhaythnghmdUS 15 phnlan 2 radbkhwamrunaerngthirusukidIX runaerng 1 sunami15 thung 30 m 50 thung 100 ft 3 4 sungsud 51 m 167 ft 5 phuprasbphyphuesiychiwit 230 210 280 000 ray 6 7 elikichaelw duexksaraephndinihwekidcakkaryubtwkhxngepluxkolkitmhasmuthrxinediy kratunihekidkhlunsunamisungraw 30 emtr 8 ekhathwmthalaybaneruxntamaenwchayfngodyrxbmhasmuthrxinediy pramankarwamiphuesiychiwitcakaephndinihwkhrngniin 14 praethsmakkwa 230 000 280 000khnhruxmakkwa 280 000 khn nbepnhnunginphyphibtithangthrrmchatikhrngrayaerngthisudinprawtisastr praethsthiidrbkhwamesiyhaymakthisudidaek praethsxinodniesiy rxnglngmakhuxpraethssrilngka praethsxinediy aelapraethsithy tamladbkhwamrunaerngkhxngaephndinihwxyurahwangaemknicud 9 1 thung 9 3 tammatraomemnt thaihaephndinihwkhrngninbepnaephndinihwthimikhwamrunaerngepnxndbthisamtamthiekhywdidcakekhruxngwdaephndinihw Seismometer nxkcakniyngthuxwaepnaephndinihwthimikhabewlayawnanthisud odykarsngektkhabewlaxyuthipraman 8 3 thung 10 nathi sngphlihaephndinthwthngphunolkekhluxntwipthung 1 esntiemtr 9 aelayngepntwkratunihekidaephndinihwincudxun khxngolk 10 enuxha 1 lksnaaephndinihw 2 srupkhwamesiyhayaelacanwnphuesiychiwit 3 phlkrathbinpraethsithy 3 1 khwamesiyhaydanchiwitaelathrphysin 3 2 khwamesiyhaydanesrsthkic 4 duephim 5 xangxing 6 aehlngkhxmulxunlksnaaephndinihw aekikh cudehnuxsunyekidaephndinihwxyuiklkb ekaasiemxluex khxngxinodniesiy aephndinihwthukbnthukkhrngaerkdwykhakhwamrunaerngaemknicud 8 8 txmaineduxnkumphaphnth ph s 2548 cungidprbephimepnaemknicud 9 0 11 odysunyetuxnphysunamimhasmuthraepsifikidyxmrbkhaihmni swnsankthrniwithyashrthxemrika United States Geological Survey yngkhngyudkhaedimthipramankariwthiaemknicud 9 1 danphlkarsuksalasudinpi ph s 2549 bngchiwakhwamrunaerngkhxngaephndinihwmikharahwangaemknicud 9 1 9 3 xyangirktam dxketxrhioraoxa khanaomri Hiroo Kanamori aehngsthabnethkhonolyiaekhlifxreniyaenanawaaemknicud 9 2 ehmaasmthicaichepnkhatwaethnsahrbaephndinihwkhrngihykhrngni 12 cudsunyklangaephndinihwekidkhunitmhasmuthrxinediy luklngip 30 km 19 mi cakradbnathael hangcak ekaasiemxluex ipthangthisehnuxpraman 160 km 100 mi sungtwekaatngxyuhangxxkipthangthistawntkkhxngekaasumatra odyrxyeluxnsundaemkathrst Sunda megathrust ideluxntwaetkxxkyawthung 1 300 km 810 mi 13 thaihekidaephndinihwaelatamdwykhlunsunami prachachninpraethsbngkhlaeths xinediy maelesiy phma ithy singkhopr aelamldifsrbruthungaerngsnsaethuxncakaephndinihw 14 caknnrxyeluxnyxy Splay fault cungkhybtam thaihphunthaelekidrxyaetkyawinewlaimkiwinathi aelaekidnathaelyktwsungaelaephimkhwamerwaekkhlunihmakkhun caknnkhlunsunamiidekhathalayemuxnglxkna Lhoknga iklkbemuxngbndaxaecah cnrabepnhnaklxng 15 danthrnisnthan xinodniesiytxnehnuxaelatawnxxkiklkbniwkinicatngxyubnaenwwngaehwnaehngifaehngaepsifik swntxnitphadipthangtawntkkhxngpraethsepnaenwaephndinihweriykwa aenwaexliphd phanekaatimxr oflers bahli chwa aelaekaasumatra aephnphumiwngklm aesdngkhnadomemntaephndinihwthiwdidthnghmdtngaetpi kh s 1906 2005 epriybethiybkbaephndinihwkhnadihyaetlakhrng aephndinihwinmhasmuthrxinediyaesdngsinaenginekhm aephndinihwihykhrngniekidkhuninekhtmudtwkhxngepluxkolk sungepnaehlngkaenidaephndinihwkhnademkathrstxyuesmx mikhaomemntaephndinihwsunginradbstwrrs odyhakrwmkhaomemntaephndinihwthnghmdthiekidkhuninrxb 100 pi tngaet kh s 1906 cnthung 2005 aephndinihwthixinodniesiykhrngnicamikhnadomemntaephndinihwthung 1 in 8 khxngaephndinihwthnghmddngklaw nxkcakni hakrwmkbehtukarnaephndinihwthixaaelska kh s 1964 aelathichili kh s 1960 camikhnadomemntsungthungkhrunghnungkhxngaephndinihwthnghmddngklaw hakethiybkbaephndinihwthiekidkhuninsanfransisokpi kh s 1906 kbaephndinihwkhrngni thuxwakhrngnnmikhnadelkmak hakaetkhrngnnekidkhwamesiyhayimaephkn nbtngaet kh s 1900 aephndinihwinkhrngnithuxwamikhnadihyepnxndb 3 rxngcakaephndinihwinchili kh s 1960 aemknicud 9 5 aelaaephndinihwinxaaelska kh s 1964 aemknicud 9 2 nxkcaknimixikephiyngsxngkhrngthimikhnadaemknicud 9 0 idaek aephndinihwthikhabsmuthrkhmchtkha thangtawnxxkkhxngrsesiy emux kh s 1952 16 aelaaephndinihwthiyipun kh s 2011 ehtukarnaephndinihwdngklawlwnkxihekidkhlunsunamiinbriewnmhasmuthraepsifikaethbthngsin thungkrannklbmicanwnphuesiychiwitimmakxyangminysakhy odysaehtuhlkkhux chayfngiklsunyklangaephndinihwmiprachakrxasyebabang phunthithimiprachakrxasyxyuxyanghnaaennxyuhangiklcaksunyklangaephndinihwehlannmak rwmthungkhwammiprasiththiphaphkhxngrabbsatharnupophkhaelarabbetuxnphy echn inkrnikhxngpraethsyipun epntnaephndinihwkhnadihy khnademkathrst khrngxun ekidkhunin kh s 1868 inpraethsepru aephnepluxkolknaskaaelaaephnxemrikait kh s 1827 inokhlxmebiy aephnnaskaaelaaephnxemrikait kh s 1812 inewensuexla aephnaekhribebiynaelaaephnxemrikait aelaaephndinihwkhaskhaediy kh s 1700 thangtawntkechiyngehnuxkhxngxemrika aephnhwnedxfukaaelaaephnxemrikaehnux thnghmdthiklawmanikhadwamikhwamrunaerngmakkwaaemknicud 9 aetimmitwelkhchdecnthungkhnadthiaethcringinkhnann phaphekhluxnihwkhxngkhlunsunamisumatra thima xngkhkarsmuthrsastraelabrryakasaehngchatishrthxemrikasrupkhwamesiyhayaelacanwnphuesiychiwit aekikhpraethsthiidrbkhwamesiyhay yunyn odypraman idrbbadecb suyhay irthixyuxasypraethsxinodniesiy 130 736 167 799 37 063 500 000 praethssrilngka 35 322 35 322 21 411 516 150praethsxinediy 12 405 18 045 5 640 647 599praethsithy 5 395 8 212 8 457 2 817 7 000praethsosmaeliy 78 289 5 000praethsphma 61 400 600 45 200 3 200praethsmldifs 82 108 26 15 000 praethsmaelesiy 68 75 299 6praethsaethnsaeniy 10 13hmuekaaesechls 3 3 57 200praethsbngklaeths 2 2praethsaexfrikait 2 2praethseyemn 2 2praethsekhnya 1 1 2praethsmadakskar 1 000 rwm 184 167 230 273 125 000 45 752 1 69 lanphlkrathbinpraethsithy aekikh aephnthiaesdngpraethsthiidrbphlkrathbcakkhlunsunami khwamesiyhaydanchiwitaelathrphysin aekikh khxmul n wnthi 10 mkrakhm ph s 2548 micanwnphuesiychiwit phubadecb aelaphusuyhay inpraethsithy micanwnthnghmd 5 309 khn phusuyhaycanwnthnghmd 3 370 khn txmaidmikarrbaecngcakyatiphinxngkhxngphuprasbphyphayhlngkarekidehtu canwndngklawnildlngephraaidphbphuthirbaecngwasuyhaybangkhnaelw nxkcakniyngmikarkhnphbsphphuesiychiwitephimkhun rwmthngmikartrwcsxbexklksnkhxngsphthiekbrksaiwephuxihthrabwaepnphuid inrayngankhxngkrathrwngmhadithythiesnxtxkhnarthmntriemuxwnthi 5 emsayn ph s 2548 ehtukarninkhrngniyngthaih khunphum ecnesn phrarachnddain phrabathsmedcphraprminthrmhaphumiphlxdulyedch phraoxrsin thulkrahmxmhyingxublrtnrachkyya siriwthnaphrrnwdi thungaekxnickrrmdwy nxkcakmiphuesiychiwit phubadecb aelaphusuyhayepncanwnmakaelw yngmikhwamesiyhayindanthrphysin idaek baneruxnkhxngrasdr orngaerm bngkaol ohmsety ekstehas rankha ranxahar thrphysinswntwkhxngnkthxngethiyw yanphahna tlxdcnrabbsatharnupophkhtang xathi iffa prapa othrsphth thnn epnmulkhakwaphnlanbath 17 khwamesiyhaydanesrsthkic aekikh danesrsthkicthiidrbphlkrathbmakthisud khux xutsahkrrmkarthxngethiyw odycnghwdthiidrbphlkrathbmakthisud khux cnghwdphuekt phngnga aelakrabi sungepncnghwdthimicanwnnkthxngethiywesiychiwit aelabadecbmakthisud miaehlngthxngethiywidrbkhwamesiyhaymak canwn 8 aehng khux phaphehtukarnprachachnkalngwinghnikhlunsunamiemuxwnthi 26 thnwakhm 2547 thicnghwdphuekt chaythaelekhahlkinxuthyanaehngchatiekhahlk laru tablkhukkhk xaephxtakwpa cnghwdphngnga epncudthinkthxngethiywesiychiwitaelabadecbmakthisud ekaasimiln xaephxtakwpa cnghwdphngnga hadraiwy tablraiwy xaephxemuxng cnghwdphuekt hadkarn tablkarn xaephxemuxng cnghwdphuekt hadkmla tablkmla xaephxkathu cnghwdphuekt hadpatxng tablpatxng xaephxkathu cnghwdphuekt ekaaphiphi tablxawnang xaephxemuxng cnghwdkrabi banhadthraykhaw xaephxsukhsaray cnghwdranxngduephim aekikhkarchwyehluxdanmnusythrrmtxehtuaephndinihwinmhasmuthrxinediy ph s 2547xangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 Magnitude 9 1 Off the West Coast of Sumatra U S Geological Survey khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 17 August 2012 subkhnemux 26 August 2012 Indian Ocean Tsunami Economic Aspects indianoceantsunami web unc edu Astonishing Wave Heights Among the Findings of an International Tsunami Survey Team on Sumatra U S Geological Survey subkhnemux 16 June 2016 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imthuktxng immikarkahndkhxkhwamsahrbxangxingchux Paris Paris Raphael Cachao Mario Fournier Jerome Voldoire Olivier 1 April 2010 Nannoliths abundance and distribution in tsunami deposits example from the December 26 2004 tsunami in Lhok Nga northwest Sumatra Indonesia Geomorphologie Relief Processus Environnement 16 1 109 118 doi 10 4000 geomorphologie 7865 Earthquakes with 50 000 or More Deaths Asia Pacific Indonesia quake toll jumps again BBC News 2005 01 25 Paulson Tom New findings super size our tsunami threat Seattlepi com February 7 2005 Walton Marsha Scientists Sumatra quake longest ever recorded CNN May 20 2005 West Michael Sanches John J McNutt Stephen R Periodically Triggered Seismicity at Mount Wrangell Alaska After the Sumatra Earthquake Science Vol 308 No 5725 1144 1146 May 20 2005 McKee Maggie Power of tsunami earthquake heavily underestimated New Scientist 9 kumphaphnth kh s 2005 EERI Publication 2006 06 hna 14 Nalbant S Steacy S Sieh K Natawidjaja D and McCloskey J Seismology Earthquake risk on the Sunda trench Nature Vol 435 No 7043 756 757 9 June 2005 Retrieved 16 May 2009 Archived 18 May 2009 Lovholt F Bungum H Harbitz C B Glimsal S Lindholm C D and Pedersen G Earthquake related tsunami hazard along the western coast of Thailand Natural Hazards and Earth System Sciences Vol 6 No 6 979 997 30 November 2006 Retrieved 16 May 2009 Archived 18 May 2009 Sibuet J C Rangin C Le Pichon X Singh S Cattaneo A Graindorge D Klingelhoefer F Lin J Y Malod J Maury T Schneider J L Sultan N Umber M Yamaguchi H and the Sumatra aftershocks team 26 December 2004 great Sumatra Andaman earthquake Co seismic and post seismic motions in northern Sumatra Earth and Planetary Science Letters Vol 263 Issues 1 2 88 103 15 November 2007 Retrieved 16 May 2009 Archived 18 May 2009 Kamchatka Earthquake 4 November 1952 United States Geological Survey khwamesiyhaythipraethsithyidrbcakphibtiphykhlunsunamiaehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb aephndinihwaelakhlunsunamiinmhasmuthrxinediy ph s 2547ASEAN News Network Tsunami Tsunami Volunteer Center Piers Simon Appeal Charity bthkhwamekiywkbprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy prawtisastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title aephndinihwaelakhlunsunamiinmhasmuthrxinediy ph s 2547 amp oldid 9553366, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม