fbpx
วิกิพีเดีย

แฟรนเซียม

แฟรนเซียม (อังกฤษ: Francium) เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 87 สัญลักษณ์ Fr แฟรนเซียมเคยเป็นที่รู้จักในชื่อ เอคา-ซีเซียม และ แอกทิเนียม K มันเป็นหนึ่งในสองธาตุที่มีอิเล็กโตรเนกาติวิตีต่ำที่สุด อีกหนึ่งคือ ซีเซียม แฟรนเซียมเป็นกัมมันตรังสีอย่างสูง สามารถสลายไปเป็นแอสทาทีน เรเดียม และเรดอนได้ ด้วยที่มันเป็นโลหะแอลคาไล มันจึงมีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเพียงตัวเดียว

แฟรนเซียม
87Fr
Cs

Fr

Uue
เรดอนแฟรนเซียมเรเดียม
แฟรนเซียมในตารางธาตุ
คุณสมบัติทั่วไป
ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอม แฟรนเซียม, Fr, 87
การออกเสียง /ˈfrænsiəm/
fran-see-əm
อนุกรมเคมี โลหะแอลคาไล
หมู่ คาบและบล็อก 1 (โลหะแอลคาไล), 7, s
มวลอะตอมมาตรฐาน (223)
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Rn] 7s1
2, 8, 18, 32, 18, 8, 1
ประวัติ
การตั้งชื่อ ตาม ประเทศฝรั่งเศส บ้านเกิดของผู้ค้นพบ
การค้นพบ มาร์เกอไรต์ เปเรย์ (1939)
การแยกครั้งแรก มาร์เกอไรต์ เปเรย์ (1939)
คุณสมบัติกายภาพ
สถานะ ของแข็ง presumably
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) ? 1.87 (extrapolated) g·cm−3
จุดหลอมเหลว ? 300 K, ? 27 °C, ? 80 °F
จุดเดือด ? 950 K, ? 677 °C, ? 1250 °F
ความร้อนของการหลอมเหลว ca. 2 kJ·mol−1
ความร้อนของการกลายเป็นไอ ca. 65 kJ·mol−1
ความดันไอ (extrapolated)
P (Pa) 1 10 100 1 k 10 k 100 k
ที่ T (K) 404 454 519 608 738 946
คุณสมบัติอะตอม
สถานะออกซิเดชัน 1 (strongly basic oxide)
อิเล็กโตรเนกาติวิตี >0.79 (Pauling scale)
พลังงานไอออไนเซชัน : 380 kJ·mol−1
รัศมีโควาเลนต์ 260 (extrapolated) pm
รัศมีวานเดอร์วาลส์ 348 (extrapolated) pm
จิปาถะ
โครงสร้างผลึก รูปลูกบาศก์กลางตัว
(extrapolated)
ความเป็นแม่เหล็ก พาราแมกเนติก
สภาพนำไฟฟ้า 3 µ (calculated)Ω·m
สภาพนำความร้อน 15 (extrapolated) W·m−1·K−1
เลขทะเบียน CAS 7440-73-5
ไอโซโทปเสถียรที่สุด
บทความหลัก: ไอโซโทปของแฟรนเซียม
ไอโซโทป NA ครึ่งชีวิต DM DE (MeV) DP
221Fr trace 4.8 min α 6.457 217At
222Fr syn 14.2 min β 2.033 222Ra
223Fr trace 22.00 min β 1.149 223Ra
α 5.430 219At
อ้างอิง
มาร์เกอริต เปอแร ผู้ค้นพบแฟรนเซียม

ยังไม่เคยมีใครเห็นแฟรนเซียมเป็นก้อนในปริมาณมากเลย คุณสมบัติทั่วไปของธาตุอื่น ๆ ในแถวเดียวกัน ทำให้นักวิทยาศาสตร์สันนิษฐานว่าแฟรนเซียมเป็นโลหะที่สะท้อนแสงได้สูง ถ้าเก็บแฟรนเซียมมาไว้รวมกันเป็นก้อนหรือของเหลวปริมาณมากพอ การได้สารตัวอย่างดังกล่าวมานั้นแทบจะเป็นไปไม่ได้ เนื่องจากความร้อนจากการสลายตัว (ครึ่งชีวิตของไอโซโทปที่ยาวนานที่สุดคือเพียง 22 นาที) จะทำให้ธาตุปริมาณมากพอที่จะมองเห็น กลายเป็นไอได้

แฟรนเซียมถูกค้นพบโดยมาร์เกอริต เปอแรที่ฝรั่งเศส (ซึ่งได้นำมาตั้งเป็นชื่อธาตุนี้) ในปี พ.ศ. 2482 แฟรนเซียมเป็นธาตุสุดท้ายที่ค้นพบครั้งแรกจากในธรรมชาติ แทนที่ได้จากการสังเคราะห์ นอกห้องปฏิบัติการ แฟรนเซียมหายากมาก พบเป็นปริมาณน้อยมากในสินแร่ยูเรเนียมและทอเรียม ซึ่งแฟรนเซียม-223 เกิดขึ้นและสลายตัวตลอดเวลา ในเปลือกโลกสามารถพบแฟรนเซียม-223 ได้แค่ 20-30 กรัม (1 ออนซ์) ส่วนไอโซโทปอื่น ๆ (ยกเว้นแฟรนเซียม-221) ถูกสังเคราะห์ขึ้นทั้งหมด จำนวนแฟรนเซียมที่ผลิตมากที่สุดในห้องปฏิบัติการคือ 300,000 อะตอม

ลักษณะ

แฟรนเซียมเป็นธาตุที่ไม่เสถียรที่สุดที่เกิดตามธรรมชาติ เนื่องจากไอโซโทปที่เสถียรที่สุดคือ แฟรนเซียม-223 มีครึ่งชีวิตแค่ 22 นาทีเท่านั้น เทียบกับแอสทาทีนซึ่งเป็นธาตุที่ไม่เสถียรเป็นอันดับที่ 2 ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ มีครึ่งชีวิต 8.5 ชั่วโมงไอโซโทปของแฟรนเซียมทั้งหมดสลายตัวไปเป็นแอสทาทีน เรดอน หรือ เรเดียม อย่างใดอย่างหนึ่ง แฟรนเซียมยังเสถียรน้อยกว่าธาตุสังเคราะห์ทุกธาตุนับจนถึงธาตุที่ 105 ขึ้นไป

แฟรนเซียมเป็นธาตุในหมู่โลหะแอลคาไลซึ่งมีคุณสมบัติทางเคมีคล้ายกับซีเซียม แฟรนเซียมเป็นธาตุหนักที่มีวาเลนซ์อิเล็กตรอนเดียวมันมีน้ำหนักสมมูลสูงกว่าธาตุอื่นใด แฟรนเซียมเหลว ถ้าสร้างขึ้นได้แล้วควรจะมีแรงตึงผิว 0.05092 นิวตัน/เมตร ที่จุดหลอมเหลว มีการคำนวณว่า จุดหลอมเหลวของแฟรนเซียมมีค่าใกล้เคียงกับ 27 °C (80 ° F, 300 K) จุดหลอมเหลวของแฟรนเซียมนั้นไม่แน่นอน เนื่องจากแฟรนเซียมเป็นธาตุหายากและเป็นกัมมันตรังสีสูง ดังนั้นค่าประมาณของจุดเดือดคืออุณหภูมิที่ 677 °C (1250 °F, 950 K) ก็ไม่แน่นอนเช่นกัน

ไลนัส พอลิงได้ประมาณค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีของแฟรนเซียมไว้คือ 0.7 ในพอลิงสเกล เหมือนกับอิเล็กโทรเนกาติวิตีของซีเซียม จากนั้นมีการคำนวณค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีของซีเซียมได้เท่ากับ 0.79 แม้ว่าจะไม่มีข้อมูลการทดลองใด ๆ ที่จะมาเป็นค่าของแฟรนเซียม แฟรนเซียมมีพลังงานไอออไนเซชันสูงกว่าซีเซียมเล็กน้อย แฟรนเซียมมีพลังงานไอออไนเซชั่นอยู่ 392.811 (4) กิโลจูล/โมล ส่วยซีเซียมมีค่า 375.7041 กิโลจูล/โมล ดังที่คาดการณ์จากปรากฏการณ์สัมพัทธภาพ และสามารถบอกได้ว่าซีเซียมมีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีน้อยกว่าแฟรนเซียม แฟรนเซียมควรจะมีค่าสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนมากกว่าซีเซียมและ Fr- ควรจะเป็นขั้วได้มากกว่า Cs- มีการทำนายว่าโมเลกุลของ CsFr มีปลายขั้วลบเป็นแฟรนเซียม ต่างจากโมเลกุลโลหะแอลคาไลที่อะตอมคู่ต่างกัน แฟรนเซียมซูเปอร์ออกไซด์ (FrO2) คาดว่าจะมีพันธะโคเวเลนต์ มากกว่าสารในตระกูลเดียวกัน เกิดจากอิเล็กตรอน 6p ในแฟรนเซียมเกี่ยวพันกับพันธะระหว่างแฟรนเซียมและออกซิเจนมากกว่า

แฟรนเซียมตกตะกอนร่วมกับเกลือซีเซียมหลายชนิด เช่น ซีเซียมเปอร์คลอเรต ได้เป็นแฟรนเซียมเปอร์คลอเรตปริมาณเล็กน้อย การตกตะกอนร่วมนี้สามารถใช้แยกแฟรนเซียม โดยปรับใช้วิธีการตกตะกอนร่วมรังสีซีเซียมของเกล็นเดนิน และเนลสัน มันจะตกตะกอนร่วมกับเกลือซีเซียมชนิดอื่น ๆ เพิ่มอีก เช่น ไอโอเดต พิเครต ทาร์เทรต (รูบิเดียมทาร์เทรต เช่นกัน) คลอโรพลาทิเนต และซิลิโคทังสเตต มันยังตกตะกอนร่วมกับกรดซิลิโคทังสติก และกรดเปอร์คลอริก โดยไม่ต้องใช้โลหะแอลคาไลอื่นเป็นตัวพา ทำให้มีวิธีการแยกสารแบบอื่นด้วย เกลือแฟรนเซียมเกือบทุกชนิดละลายน้ำได้

การนำไปใช้

เนื่องจากความไม่เสถียรและหายาก แฟรนเซียมจึงไม่ได้ถูกนำไปใช้งานเชิงพาณิชย์ แต่ส่วนใหญ่จะถูกใช้ไปกับการวิจัยทางชีววิทยา และโครงสร้างอะตอม มีการค้นพบการใช้แฟรนเซียมเป็นตัวช่วยในการวินิจฉัยโรคมะเร็งหลายชนิดแล้วด้วย แต่การกระทำเช่นนี้ยังปฏิบัติจริงไม่ได้

ความสามารถของแฟรนเซียมที่จะสังเคราะห์ ตรวจสอบ และทำให้เย็นลง พร้อมกับโครงสร้างอะตอมที่เรียบง่าย ได้ทำให้มันเป็นเป้าหมายการทดลองสเปกโทรสโกปี การทดลองเหล่านี้ได้นำไปสู่การเพิ่มเติมของข้อมูลเกี่ยวกับระดับพลังงานและค่าคงที่คู่ควบ (Coupling constant) ระหว่างอนุภาคมูลฐานด้วยกัน การศึกษาบนพื้นฐานของแสงที่ปล่อยออกมาโดยการจับด้วยเลเซอร์ของไอออนแฟรนเซียม-210 ได้ให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการเปลี่ยนระหว่างระดับพลังงานของอะตอมซึ่งคล้ายกับผลที่ได้จากการทำนายของกลศาสตร์ควอนตัม

ประวัติ

เมื่อปี พ.ศ. 2413 นักเคมีคิดว่าควรจะมีโลหะแอลคาไลที่เกินซีเซียมที่มีเลขอะตอม 87 ในขณะนั้นเรียกกันว่า เอคา-ซีเซียม ทีมวิจัยพยายามที่จะหาตำแหน่งและแยกธาตุที่หายไปนี้ และมีคำกล่าวอ้างอย่างน้อย 4 คำกล่าวเกิดขึ้นก่อนจะเกิดการค้นพบที่แท้จริง

การค้นพบพลาดและไม่สำเร็จ

นักเคมีของสหภาพโซเวียต ดีเค เดอโบรเซอร์ดอฟ เป็นนักวิทยาศาสตร์คนเแรกที่อ้างว่าได้ค้นพบเอคา-ซีเซียม ใน พ.ศ. 2468 เขาสังเกตเห็นกัมมันตรังสีอย่างอ่อนในสารตัวอย่างโพแทสเซียม ซึ่งเป็นโลหะแอลคาไลอีกชนิดหนึ่ง และเขาจึงสรุปว่า เอคา-ซีเซียมปนเปื้อนอยู่ในตัวอย่าง (ส่วนกัมมันตรังสีที่ปนเปื้อนในตัวอย่างนั้น ภายหลังได้ตรวจสอบแล้วพบว่าเป็นโพแทสเซียม-40) ซึ่งไม่ถูกต้อง หลังจากนั้นก็ได้ตีพิมพ์บทความที่เล่าถึงการพยากรณ์คุณสมบัติของธาตุเอคา-ซีเซียม ให้ชื่อว่า รัสเซียม ซึ่งตั้งชื่อตามประเทศบ้านเกิดของเขา หลังจากนั้นไม่นาน เดอโบรเซอร์ดอฟเริ่มให้ความสำคัญกับอาชีพครูในวิทยาลัยโพลีเทคนิคโอเดสซา และไม่ได้ศึกษาธาตุเอคา-ซีเซียมอีก

ปีถัดมา นักเคมีอังกฤษ เจอรัลด์ เจ. เอฟ. ดรูซ และเฟรดเดอริก เอช. ลอริง ได้วิเคราะห์ภาพถ่ายรังสีเอกซ์ของแมงกานีส (II) ซัลเฟต พวกเขาสังเกตเห็นเส้นสเปกตรัมซึ่งสันนิษฐานว่าเป็นของเอคา-ซีเซียม พวกเขาได้ประกาศการค้นพบธาตุที่ 87 นี้และเสนอชื่อว่า แอลคาไลเนียม เนื่องจากมันจะเป็นโลหะแอลคาไลที่หนักที่สุด

ในปี พ.ศ. 2473 เฟรด แอลลิสัน จากสถาบันโพลีเทคนิคแอละแบมา อ้างว่าได้ค้นพบธาตุที่ 87 เมื่อวิเคราะห์แร่โพลูไซต์และเลพิโดไลต์ โดยใช่อุปกรณ์ magneto-optical แอลลิสันขอให้ตั้งชื่อมันว่า เวอร์จิเนียม ตามชื่อรัฐบ้านเกิดของเขา เวอร์จิเนีย และให้สัญลักษณ์ว่า Vi หรือ Vm. แต่ใน ค.ศ. 1934 เอช. จี. แมกเฟอร์สัน จากมหาวิทยาลัยเบอร์คีเลย์ได้พิสูจน์แย้งประสิทธิภาพของอุปกรณ์ที่แอลลิสันใช้ และพิสูจน์ว่าสิ่งที่แอลลิสันค้นพบนั้นเป็นเท็จ

ในปี พ.ศ. 2479 นักฟิสิกส์ชาวโรมาเนีย โฮเรีย ฮูลูไบ และเพื่อนร่วมงานชาวฝรั่งเศส อีเวตต์ คาวชอยส์ ได้วิเคราะห์แร่โพลูไซต์อีกครั้ง แต่ในครั้งนี้ได้ใช้เครื่องมือรังสีเอกซ์คุณภาพสูง เขาสังเกตเห็นเส้นที่คล้ายกับแก๊สถูกปล่อยออกมาอย่างอ่อน ทำให้ทั้งคู่สันนิษฐานว่าคือธาตุที่ 87 ฮูลูไบตีพิมพ์รายงานการค้นพบดังกล่าวและเสนอชื่อว่า โมลดาเวียม ตามชื่อของโมลดาเวีย พร้อมด้วยสัญลักษณ์ Ml จังหวัดหนึ่งในโรมาเนียที่ฮูลูไบเกิด ปีถัดมา นักวิทยาศาสตร์ชาวอเมริกัน เอฟ. เอช. เฮิร์ช จูเนียร์ ได้วิจารณ์การค้นพบของฮูลูไบ ไม่ยอมรับวิธีการวิจัยของฮูลูไบ เฮิร์ชแน่ใจว่าเอคา-ซีเซียมไม่มีทางพบได้ในธรรมชาติ และสิ่งที่ฮูลูไบค้นพบจริง ๆ นั้น คือรังสีเอกซ์ของปรอท หรือบิสมัท ฮูลูไบยืนหยัดว่าเครื่องมือรังสีเอกซ์และวิธีการของเขาแม่นยำเกินที่จะผิดพลาดได้ ด้วยเหตุนี้ ฌ็อง-บัพติท แปแร็ง ผู้ได้รับรางวัลโนเบลและผู้ช่วยของฮูลูไบ ให้การรับรองว่าโมลดาเวียมเป็นเอคา-ซีเซียมจริง มิใช่แฟรนเซียมอย่างที่มาร์เกอริต เปอแรเพิ่งค้นพบ เปอแรวิจารณ์งานของฮูลูไบจนกระทั่งเธอได้รับเครดิตว่าเป็นผู้ค้นพบธาตุที่ 87 ได้เพียงคนเดียว

การวิเคราะห์ของเปอแร

เอคา-ซีเซียม ถูกค้นพบใน พ.ศ. 2482 โดยมาร์เกอริต เปอแร จากสถาบันคูรี ในปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อเธอทำให้ตัวอย่างของแอกทิเนียม-227 บริสุทธิ์ ซึ่งเธอได้รับรายงานว่ามีพลังงานสลายกัมมันตรังสี 220 KeV เปอแรเห็นว่าอนุภาคสลายตัวที่ระดับพลังงานต่ำกว่า 80 KeV เปอแรคิดว่ากิจกรรมการสลายตัวนี้อาจเกิดจากการสลายตัวของผลิตภัณฑ์อีกตัวหนึ่ง ซึ่งไม่ทราบแน่ชัด ผลิตภัณฑ์ตัวหนึ่งถูกแยกออกระหว่างกระบวนการทำให้บริสุทธิ์ แต่ปรากฏออกมาอีกครั้งเป็นธาตุอื่นที่ไม่ใช่แอกทิเนียม-227 การทดลองหลายครั้งได้ตัดความเป็นไปได้ว่าธาตุดังกล่าวจะเป็นทอเรียม เรเดียม ตะกั่ว บิสมัท หรือแทลเลียม ผลิตภัณฑ์ใหม่แสดงคุณสมบัติทางเคมีของโลหะแอลคาไล (เช่น การตกตะกอนร่วมกับเกลือซีเซียม) ทำให้เปอแรเชื่อว่ามันคือธาตุที่ 87 เกิดจากการสลายให้อนุภาคแอลฟา ของไอโซโทปแอกทิเนียม-227 แล้วเปอแรก็พยายามกำหนดสัดส่วนของการสลายให้อนุภาคบีตา ต่อการสลายตัวให้อนุภาคแอลฟา ในแอกทิเนียม-227 การทดลองครั้งแรกของเธอให้ผลออกมาว่ามีโอกาสเกิดการสลายตัวแอลฟา 0.6 % ซึ่งต่อมาเธอแก้ไขให้เป็น 1 %

เปอแรได้ให้ชื่อไอโซโทปใหม่นี้ว่า แอกทิเนียม-เค (ในภายหลังได้พิสูจน์ว่าคือ แฟรนเซียม-223) และในปี พ.ศ. 2489 เปอแรได้ให้ชื่อว่า คาเทียม สำหรับธาตุที่ค้นพบใหม่ เนื่องจากเธอเชื่อว่าธาตุนี้จะเป็นไอออนประจุบวกที่มีอิเล็กโตรโพซิติวิตีมากที่สุด แต่อีเรน ฌูลีโอ-กูรี หนึ่งในผู้ดูแลของเปอแร ได้แย้งว่าคำว่า cat จะหมายถึงแมว มากกว่า cation (ไอออนประจุบวก) ต่อมาเปอแรเสนอแนะชื่อธาตุใหม่นี้ว่า แฟรนเซียม ตามประเทศฝรั่งเศส เป็นชื่อทางการที่ได้รับการยืนยันโดยสหภาพเคมีบริสุทธิ์และเคมีประยุกต์ระหว่างประเทศ เมื่อปี พ.ศ. 2492 กลายเป็นธาตุตัวที่สองที่ตั้งชื่อตามประเทศฝรั่งเศส ถัดจากแกลเลียม มีการเสนอสัญลักษณ์ให้ธาตุนี้ว่า Fa แต่ภายหลังก็ถูกเปลี่ยนเป็น Fr หลังจากนั้นไม่นาน แฟรนเซียมเป็นธาตุสุดท้ายที่พบในธรรมชาติ มิได้สังเคราะห์ขึ้น ถัดจากรีเนียมที่ค้นพบเมื่อ พ.ศ. 2468 ซิลเวน ไลเบอร์แมน และทีมของเขาได้งานวิจัยเกี่ยวกับโครงสร้างของแฟรนเซียมต่อไปอีกที่องค์การวิจัยนิวเคลียร์ยุโรป ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1970 และ 1980

การปรากฏ

 
ตัวอย่างแร่ยูเรไนต์นี้มีอะตอมของแฟรนเซียมอยู่ในทุก ๆ 100,000 อะตอมของยูเรเนียม

ธรรมชาติ

แฟรนเซียม-223 เป็นผลผลิตที่ได้จากการสลายตัวแอลฟาของแอกทิเนียม-227 และพบได้ในแร่ยูเรเนียมและทอเรียม ในตัวอย่างยูเรเนียมตัวอย่างหนึ่ง จะมีแฟรนเซียมที่ถูกผลิตขึ้นอยู่ทุก ๆ 1 × 1018 อะตอมของยูเรเนียม และยังมีการคำนวณว่า ที่เวลาใด ๆ จะพบแฟรนเซียมในเปลือกโลกอย่างมาก 30 กรัม

สังเคราะห์

 
อะตอมแฟรนเซียมที่เป็นกลางสามารถติดกับใน MOT ที่ใช้สนามแม่เหล็กและลำแสงเลเซอร์
   
แสงที่เปล่งออกจากตัวอย่างแฟรนเซียม 200,000 อะตอม ในกับดัก magneto-optical
ภาพจับความร้อนของแฟรนเซียม 300,000 อะตอม ในกับดัก magneto-optical

แฟรนเซียมสามารถสังเคราะห์ขึ้นได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์:

197Au + 18O → 210Fr + 5 n

ในกระบวนการนี้ ซึ่งพัฒนาโดยมหาวิทยาลัยสโตนีบรูก แฟรนเซียมที่ผลิตออกมาสามารถเป็นแฟรนเซียม-209 210 และ 211 ที่ถูกแยกด้วยกับดัก magneto-optical (MOT) อัตราการผลิตไอโซโทปแฟรนเซียมขึ้นอยู่กับปริมาณพลังงานของลำแสงออกซิเจน-18 ลำแสงออกซิเจน-18จากเครื่องเร่งอนุภาคเชิงเส้น หรือลิแนก (LINAC) ของสโตนีบรูกนี้ สร้างแฟรนเซียม-210 โดยการยิงไปที่อะตอมของทองคำด้วยปฏิกิริยานิวเคลียร์ 197Au + 18O → 210Fr + 5n การผลิตนี้ต้องใช้เวลาพัฒนาและทำความเข้าใจ เนื่องด้วยอุณหภูมิระหว่างการเกิดปฏิกิริยาใกล้เคียงกับจุดหลอมเหลวของทองคำและต้องมั่นใจว่าบริเวณนั้นสะอาดที่สุด ปฏิกิริยานิวเคลียร์นี้ได้ทำให้อะตอมของแฟรนเซียมฝังลึกเข้าไปในทองคำ และพวกมันจะต้องสลายไปอย่างมีประสิทธิภาพ อะตอมของแฟรนเซียมจะกระจายไปทั่วผิวของทองคำอย่างรวดเร็วและถูกปลดปล่อยออกมาในรูปของไอออน สิ่งนี้ไม่ได้เกิดขึ้นทุกครั้ง ไอออนของแฟรนเซียมถูกนำโดยเลนส์ไฟฟ้าสถิตจนกระทั่งมันลงมาถึงผิวของอิตเทรียมร้อนและกลับมาเป็นกลางอีกครั้ง จากนั้นแฟรนเซียมจะถูกฉีดไปในหลอดแก้ว สนามแม่เหล็กและลำแสงเลเซอร์จะเย็นตัวลงและจำกัดอะตอม ถึงแม้ว่าอะตอมจะอยู่ภายในกับดักเพียงประมาณ 20 วินาทีก่อนที่มันจะหลุดออกมา (หรือสลายตัว) แต่กลุ่มอะตอมใหม่จะมาแทนที่ส่วนที่หลุดไป ทำให้อะตอมที่ติดกับยังอยู่อย่างนั้นนานหลายนาทีหรือนานกว่านั้น ในขั้นต้น อะตอมแฟรนเซียมจำนวน 1,000 อะตอมได้ถูกกักไว้ในการทดลอง และก็มีการพัฒนาจนสามารถกักอะตอมแฟรนเซียมที่เป็นกลางไว้ได้ 300,000 อะตอมในการทดลองเพียงครั้งเดียว ถึงแม้ว่าอะตอมโลหะ ("โลหะแฟรนเซียม") ที่ได้เหล่านี้จะเป็นกลาง พวกมันจะอยู่ในสถานะแก๊สที่ไม่เกาะกลุ่มกัน แฟรนเซียมปริมาณเพียงพอถูกตรวจจับได้จนกล้องวีดีโอสามารถจับแสงที่ออกจากอะตอมเมื่อมันเปล่งแสง อะตอมเหล่านี้จะปรากฏเป็นทรงกลมเรืองแสงขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 มิลลิเมตร และวิธีนี้ทำให้เห็นแฟรนเซียมด้วยตาเปล่าได้เป็นครั้งแรก ปัจจุบัน นักวิจัยสามารถวัดแสงที่เปล่งและดูดกลืนโดยอะตอมที่ถูกกัก และให้ผลการทดลองครั้งแรกเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงระหว่างระดับพลังงานต่าง ๆ ของแฟรนเซียม การวัดครั้งแรกให้ผลที่ตรงกับค่าและการคำนวณจากการทดลองทฤษฎีควอนตัมเป็นอย่างมาก มีการสังเคราะห์ด้วยวิธีอื่น ๆ เช่น การยิงอะตอมเรเดียมด้วยนิวตรอน และยิงอะตอมทอเรียมด้วยโปรตอน ดิวเทอรอน หรือไอออนฮีเลียม แฟรนเซียมยังไม่เคยถูกสังเคราะห์ในปริมาณมากพอที่จะประเมินได้

ไอโซโทป

ดูบทความหลักที่: ไอโซโทปของแฟรนเซียม

แฟรนเซียมมี 34 ไอโซโทป มีมวลอะตอมตั้งแต่ 199-232 แฟรนเซียมมี 7 ไอโซเมอร์นิวเคลียร์กึ่งเสถียร แฟรนเซียม-221 และแฟรนเซียม-223 เป็นเพียงสองไอโซโทปที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ โดยจะพบแฟรนเซียม-221 ได้ง่ายกว่า

แฟรนเซียม-223 เป็นไอโซโทปที่เสถียรที่สุดด้วยครึ่งชีวิต 21.8 นาที และไอโซโทปแฟรนเซียมที่มีครึ่งชีวิตนานกว่านี้จะไม่อาจพบหรือสังเคราะห์ขึ้นได้อีก แฟรนเซียม-223 เป็นผลิตภัณฑ์ลำดับที่ห้าของกระบวนการสลายตัวของแอกทิเนียม โดยได้จากการสลายตัวของแอกทิเนียม-227 จากนั้นแฟรนเซียม-223 จะสลายตัวไปเป็นเรเดียม-223 โดยการสลายให้อนุภาคบีตา (พลังงานสลายตัว 1149 keV) และยังมีโอกาสเล็กน้อน (0.006 %) ที่มันจะสลายตัวให้อนุภาคแอลฟาไปเป็นแอสทาทีน-219

แฟรนเซียม-221 มีครึ่งชีวิต 4.8 นาที ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ลำดับที่ 9 ของกระบวนการการสลายตัวของเนปทูเนียม โดยได้จากการสลายตัวของแอกทิเนียม-225 จากนั้น แฟรนเซียม-221 สลายตัวเป็นแอสทาทีน-217 โดยการสลายตัวให้อนุภาคแอลฟา (พลังงานสลายตัว 6.457 MeV)

ไอโซโทปที่เสถียรน้อยที่สุดในสถานะพื้นคือแฟรนเซียม-215 ซึ่งมีครึ่งชีวิตอยู่ 0.12 ไมโครวินาที (ใช้พลังงาน 9.54 MeV สลายให้อนุภาคแอลฟาไปเป็นแอสทาทีน-211) ไอโซเมอร์กึ่งเสถียร แฟรนเซียม-215m ก็ยังเสถียรน้อยกว่า มีครึ่งชีวิตอยู่ที่ 3.5 นาโนวินาทีเท่านั้น

เชิงอรรถ

  1. ไอโซโทปที่ไม่เสถียรน้อยที่สุดจริง ๆ คือ แฟรนเซียม-223
  2. บางธาตุที่พบโดยการสังเคราะห์ขึ้นมา เช่น เทคนีเชียม และ พลูโทเนียม ก็ถูกพบในธรรมชาติในภายหลัง

รายการอ้างอิง

  1. Luis A. Orozco (2003). "Francium". Chemical and Engineering News.
  2. Price, Andy (2004-12-20). "Francium". สืบค้นเมื่อ 2012-02-19.
  3. CRC Handbook of Chemistry and Physics. 4. CRC. 2006. p. 12. ISBN 0-8493-0474-1. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "CRC2006" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  4. Winter, Mark. "Electron Configuration". Francium. The University of Sheffield. สืบค้นเมื่อ 2007-04-18.
  5. Kozhitov, L. V. (2003). "Evaluation of the Surface Tension of Liquid Francium". Inorganic Materials. 39 (11): 1138–1141. doi:10.1023/A:1027389223381. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  6. "Francium". Los Alamos National Laboratory. 2011. สืบค้นเมื่อ February 19, 2012.
  7. Pauling, Linus (1960). The Nature of the Chemical Bond (Third ed.). Cornell University Press. p. 93. ISBN 978-0-8014-0333-0.
  8. Allred, A. L. (1961). "Electronegativity values from thermochemical data". J. Inorg. Nucl. Chem. 17 (3–4): 215–221. doi:10.1016/0022-1902 (61) 80142-5 Check |doi= value (help).
  9. Andreev, S.V.; Letokhov, V.S.; Mishin, V.I., (1987). "Laser resonance photoionization spectroscopy of Rydberg levels in Fr". Physical Review Letters. 59 (12): 1274–76. Bibcode:1987PhRvL..59.1274A. doi:10.1103/PhysRevLett.59.1274. PMID 10035190.CS1 maint: extra punctuation (link) CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  10. Thayer, John S. (2010). Chemistry of heavier main group elements. p. 81. doi:10.1007/9781402099755_2.
  11. Hyde, E. K. (1952). "Radiochemical Methods for the Isolation of Element 87 (Francium)". J. Am. Chem. Soc. 74 (16): 4181–4184. doi:10.1021/ja01136a066.
  12. E. N K. Hyde Radiochemistry of Francium,Subcommittee on Radiochemistry, National Academy of Sciences-National Research Council; available from the Office of Technical Services, Dept. of Commerce, 1960.
  13. Maddock, A. G. (1951). "Radioactivity of the heavy elements". Q. Rev., Chem. Soc. 3 (3): 270–314. doi:10.1039/QR9510500270.
  14. Winter, Mark. "Uses". Francium. The University of Sheffield. สืบค้นเมื่อ 2007-03-25.
  15. Emsley, John (2001). Nature's Building Blocks. Oxford: Oxford University Press. pp. 151–153. ISBN 0-19-850341-5.
  16. Gagnon, Steve. "Francium". Jefferson Science Associates, LLC. สืบค้นเมื่อ 2007-04-01.
  17. Considine, Glenn D., บ.ก. (2005). Chemical Elements, in Van Nostrand's Encyclopedia of Chemistry. New York: Wiley-Interscience. p. 332. ISBN 0-471-61525-0.
  18. Haverlock, TJ; Mirzadeh, S; Moyer, BA (2003). "Selectivity of calix[4]arene-bis (benzocrown-6) in the complexation and transport of francium ion". J Am Chem Soc. 125 (5): 1126–7. doi:10.1021/ja0255251. PMID 12553788.
  19. Gomez, E; Orozco, L A; Sprouse, G D (November 7, 2005). "Spectroscopy with trapped francium: advances and perspectives for weak interaction studies". Rep. Prog. Phys. 69 (1): 79–118. Bibcode:2006RPPh...69...79G. doi:10.1088/0034-4885/69/1/R02.
  20. Peterson, I (May 11, 1996). "Creating, cooling, trapping francium atoms" (PDF). Science News. 149 (19): 294. doi:10.2307/3979560. สืบค้นเมื่อ September 11, 2009.
  21. Adloff, Jean-Pierre; Kaufman, George B. (2005-09-25). Francium (Atomic Number 87), the Last Discovered Natural Element. The Chemical Educator 10 (5). Retrieved on 2007-03-26.
  22. Fontani, Marco (2005-09-10). "The Twilight of the Naturally-Occurring Elements: Moldavium (Ml), Sequanium (Sq) and Dor (Do)". International Conference on the History of Chemistry. Lisbon. pp. 1–8. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2006-02-24. สืบค้นเมื่อ 2007-04-08.
  23. Van der Krogt, Peter (2006-01-10). "Francium". Elementymology & Elements Multidict. สืบค้นเมื่อ 2007-04-08.
  24. 00.html "Alabamine & Virginium" Check |url= value (help). TIME. 1932-02-15. สืบค้นเมื่อ 2007-04-01.
  25. MacPherson, H. G. (1934). "An Investigation of the Magneto-Optic Method of Chemical Analysis". Physical Review. American Physical Society. 47 (4): 310–315. Bibcode:1935PhRv...47..310M. doi:10.1103/PhysRev.47.310.
  26. "Francium". McGraw-Hill Encyclopedia of Science & Technology. 7. McGraw-Hill Professional. 2002. pp. 493–494. ISBN 0-07-913665-6.
  27. Grant, Julius (1969). "Francium". Hackh's Chemical Dictionary. McGraw-Hill. pp. 279–280. ISBN 0-07-024067-1.
  28. "History". Francium. State University of New York at Stony Brook. 2007-02-20. สืบค้นเมื่อ 2007-03-26.
  29. Winter, Mark. "Geological information". Francium. The University of Sheffield. สืบค้นเมื่อ 2007-03-26.
  30. "Cooling and Trapping". Francium. State University of New York at Stony Brook. February 20, 2007. สืบค้นเมื่อ May 1, 2007.
  31. "Production of Francium". Francium. State University of New York at Stony Brook. 2007-02-20. สืบค้นเมื่อ 2007-03-26.
  32. Considine, Glenn D., บ.ก. (2005). Francium, in Van Nostrand's Encyclopedia of Chemistry. New York: Wiley-Interscience. p. 679. ISBN 0-471-61525-0.
  33. National Nuclear Data Center (2003). "Fr Isotopes". Brookhaven National Laboratory. สืบค้นเมื่อ April 4, 2007.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Francium at The Periodic Table of Videos (มหาวิทยาลัยแห่งนอตติงแฮม)
  • WebElements.com – Francium
  • Stony Brook University Physics Dept.

แฟรนเซ, ยม, งกฤษ, francium, เป, นธาต, เลขอะตอม, ญล, กษณ, เคยเป, นท, กในช, เอคา, เซ, ยม, และ, แอกท, เน, ยม, note, นเป, นหน, งในสองธาต, เล, กโตรเนกาต, ำท, กหน, งค, เซ, ยม, เป, นก, มม, นตร, งส, อย, างส, สามารถสลายไปเป, นแอสทาท, เรเด, ยม, และเรดอนได, วยท, นเป, นโล. aefrnesiym xngkvs Francium epnthatuthimielkhxatxm 87 sylksn Fr aefrnesiymekhyepnthiruckinchux exkha siesiym aela aexkthieniym K note 1 mnepnhnunginsxngthatuthimixielkotrenkatiwititathisud xikhnungkhux siesiym aefrnesiymepnkmmntrngsixyangsung samarthslayipepnaexsthathin erediym aelaerdxnid dwythimnepnolhaaexlkhail mncungmiewelnsxielktrxnephiyngtwediywaefrnesiym87Fr Cs Fr Uueerdxn aefrnesiym erediymaefrnesiymintarangthatukhunsmbtithwipchux sylksn aelaelkhxatxm aefrnesiym Fr 87karxxkesiyng ˈ f r ae n s i e m fran see emxnukrmekhmi olhaaexlkhailhmu khabaelablxk 1 olhaaexlkhail 7 smwlxatxmmatrthan 223 karcderiyngxielktrxn Rn 7s12 8 18 32 18 8 1prawtikartngchux tam praethsfrngess banekidkhxngphukhnphbkarkhnphb marekxirt epery 1939 karaeykkhrngaerk marekxirt epery 1939 khunsmbtikayphaphsthana khxngaekhng presumablykhwamhnaaenn ikl r t 1 87 extrapolated g cm 3cudhlxmehlw 300 K 27 C 80 Fcudeduxd 950 K 677 C 1250 Fkhwamrxnkhxngkarhlxmehlw ca 2 kJ mol 1khwamrxnkhxngkarklayepnix ca 65 kJ mol 1khwamdnix extrapolated P Pa 1 10 100 1 k 10 k 100 kthi T K 404 454 519 608 738 946khunsmbtixatxmsthanaxxksiedchn 1 strongly basic oxide xielkotrenkatiwiti gt 0 79 Pauling scale phlngnganixxxineschn 380 kJ mol 1rsmiokhwaelnt 260 extrapolated pmrsmiwanedxrwals 348 extrapolated pmcipathaokhrngsrangphluk ruplukbaskklangtw extrapolated khwamepnaemehlk pharaaemkentiksphaphnaiffa 3 µ calculated W msphaphnakhwamrxn 15 extrapolated W m 1 K 1elkhthaebiyn CAS 7440 73 5ixosothpesthiyrthisudbthkhwamhlk ixosothpkhxngaefrnesiymixosothp NA khrungchiwit DM DE MeV DP221Fr trace 4 8 min a 6 457 217At222Fr syn 14 2 min b 2 033 222Ra223Fr trace 22 00 min b 1 149 223Raa 5 430 219Atdkhkxangxingmarekxrit epxaer phukhnphbaefrnesiym yngimekhymiikhrehnaefrnesiymepnkxninprimanmakely khunsmbtithwipkhxngthatuxun inaethwediywkn thaihnkwithyasastrsnnisthanwaaefrnesiymepnolhathisathxnaesngidsung thaekbaefrnesiymmaiwrwmknepnkxnhruxkhxngehlwprimanmakphx karidsartwxyangdngklawmannaethbcaepnipimid enuxngcakkhwamrxncakkarslaytw khrungchiwitkhxngixosothpthiyawnanthisudkhuxephiyng 22 nathi cathaihthatuprimanmakphxthicamxngehn klayepnixidaefrnesiymthukkhnphbodymarekxrit epxaerthifrngess sungidnamatngepnchuxthatuni inpi ph s 2482 aefrnesiymepnthatusudthaythikhnphbkhrngaerkcakinthrrmchati aethnthiidcakkarsngekhraah note 2 nxkhxngptibtikar aefrnesiymhayakmak phbepnprimannxymakinsinaeryuereniymaelathxeriym sungaefrnesiym 223 ekidkhunaelaslaytwtlxdewla inepluxkolksamarthphbaefrnesiym 223 idaekh 20 30 krm 1 xxns swnixosothpxun ykewnaefrnesiym 221 thuksngekhraahkhunthnghmd canwnaefrnesiymthiphlitmakthisudinhxngptibtikarkhux 300 000 xatxm 1 enuxha 1 lksna 2 karnaipich 3 prawti 3 1 karkhnphbphladaelaimsaerc 3 2 karwiekhraahkhxngepxaer 4 karprakt 4 1 thrrmchati 4 2 sngekhraah 5 ixosothp 6 echingxrrth 7 raykarxangxing 8 aehlngkhxmulxunlksna aekikhaefrnesiymepnthatuthiimesthiyrthisudthiekidtamthrrmchati enuxngcakixosothpthiesthiyrthisudkhux aefrnesiym 223 mikhrungchiwitaekh 22 nathiethann ethiybkbaexsthathinsungepnthatuthiimesthiyrepnxndbthi 2 thiekidkhuntamthrrmchati mikhrungchiwit 8 5 chwomng 2 ixosothpkhxngaefrnesiymthnghmdslaytwipepnaexsthathin erdxn hrux erediym xyangidxyanghnung 2 aefrnesiymyngesthiyrnxykwathatusngekhraahthukthatunbcnthungthatuthi 105 khunip 3 aefrnesiymepnthatuinhmuolhaaexlkhailsungmikhunsmbtithangekhmikhlaykbsiesiym 3 aefrnesiymepnthatuhnkthimiwaelnsxielktrxnediyw 4 mnminahnksmmulsungkwathatuxunid 3 aefrnesiymehlw thasrangkhunidaelwkhwrcamiaerngtungphiw 0 05092 niwtn emtr thicudhlxmehlw 5 mikarkhanwnwa cudhlxmehlwkhxngaefrnesiymmikhaiklekhiyngkb 27 C 80 F 300 K 6 cudhlxmehlwkhxngaefrnesiymnnimaennxn enuxngcakaefrnesiymepnthatuhayakaelaepnkmmntrngsisung dngnnkhapramankhxngcudeduxdkhuxxunhphumithi 677 C 1250 F 950 K kimaennxnechnknilns phxlingidpramankhaxielkothrenkatiwitikhxngaefrnesiymiwkhux 0 7 inphxlingsekl ehmuxnkbxielkothrenkatiwitikhxngsiesiym 7 caknnmikarkhanwnkhaxielkothrenkatiwitikhxngsiesiymidethakb 0 79 aemwacaimmikhxmulkarthdlxngid thicamaepnkhakhxngaefrnesiym 8 aefrnesiymmiphlngnganixxxineschnsungkwasiesiymelknxy 9 aefrnesiymmiphlngnganixxxineschnxyu 392 811 4 kiolcul oml swysiesiymmikha 375 7041 kiolcul oml dngthikhadkarncakpraktkarnsmphththphaph aelasamarthbxkidwasiesiymmikhaxielkothrenkatiwitinxykwaaefrnesiym aefrnesiymkhwrcamikhasmphrrkhphaphxielktrxnmakkwasiesiymaela Fr khwrcaepnkhwidmakkwa Cs 10 mikarthanaywaomelkulkhxng CsFr miplaykhwlbepnaefrnesiym tangcakomelkulolhaaexlkhailthixatxmkhutangkn aefrnesiymsuepxrxxkisd FrO2 khadwacamiphnthaokhewelnt makkwasarintrakulediywkn ekidcakxielktrxn 6p inaefrnesiymekiywphnkbphntharahwangaefrnesiymaelaxxksiecnmakkwa 10 aefrnesiymtktakxnrwmkbekluxsiesiymhlaychnid echn siesiymepxrkhlxert idepnaefrnesiymepxrkhlxertprimanelknxy kartktakxnrwmnisamarthichaeykaefrnesiym odyprbichwithikartktakxnrwmrngsisiesiymkhxngeklnednin aelaenlsn mncatktakxnrwmkbekluxsiesiymchnidxun ephimxik echn ixoxedt phiekhrt tharethrt rubiediymtharethrt echnkn khlxorphlathient aelasiliokhthngsett mnyngtktakxnrwmkbkrdsiliokhthngstik aelakrdepxrkhlxrik odyimtxngicholhaaexlkhailxunepntwpha thaihmiwithikaraeyksaraebbxundwy 11 12 ekluxaefrnesiymekuxbthukchnidlalaynaid 13 karnaipich aekikhenuxngcakkhwamimesthiyraelahayak aefrnesiymcungimidthuknaipichnganechingphanichy 14 15 16 17 aetswnihycathukichipkbkarwicythangchiwwithya 18 aelaokhrngsrangxatxm mikarkhnphbkarichaefrnesiymepntwchwyinkarwinicchyorkhmaernghlaychnidaelwdwy 2 aetkarkrathaechnniyngptibticringimid 15 khwamsamarthkhxngaefrnesiymthicasngekhraah trwcsxb aelathaiheynlng phrxmkbokhrngsrangxatxmthieriybngay idthaihmnepnepahmaykarthdlxngsepkothrsokpi karthdlxngehlaniidnaipsukarephimetimkhxngkhxmulekiywkbradbphlngnganaelakhakhngthikhukhwb Coupling constant rahwangxnuphakhmulthandwykn 19 karsuksabnphunthankhxngaesngthiplxyxxkmaodykarcbdwyelesxrkhxngixxxnaefrnesiym 210 idihkhxmulthithuktxngekiywkbkarepliynrahwangradbphlngngankhxngxatxmsungkhlaykbphlthiidcakkarthanaykhxngklsastrkhwxntm 20 prawti aekikhemuxpi ph s 2413 nkekhmikhidwakhwrcamiolhaaexlkhailthiekinsiesiymthimielkhxatxm 87 2 inkhnanneriykknwa exkha siesiym 21 thimwicyphyayamthicahataaehnngaelaaeykthatuthihayipni aelamikhaklawxangxyangnxy 4 khaklawekidkhunkxncaekidkarkhnphbthiaethcring karkhnphbphladaelaimsaerc aekikh nkekhmikhxngshphaphosewiyt diekh edxobresxrdxf epnnkwithyasastrkhneaerkthixangwaidkhnphbexkha siesiym in ph s 2468 ekhasngektehnkmmntrngsixyangxxninsartwxyangophaethsesiym sungepnolhaaexlkhailxikchnidhnung aelaekhacungsrupwa exkha siesiympnepuxnxyuintwxyang swnkmmntrngsithipnepuxnintwxyangnn phayhlngidtrwcsxbaelwphbwaepnophaethsesiym 40 sungimthuktxng 22 hlngcaknnkidtiphimphbthkhwamthielathungkarphyakrnkhunsmbtikhxngthatuexkha siesiym ihchuxwa rsesiym sungtngchuxtampraethsbanekidkhxngekha 23 hlngcaknnimnan edxobresxrdxferimihkhwamsakhykbxachiphkhruinwithyalyophliethkhnikhoxedssa aelaimidsuksathatuexkha siesiymxik 22 pithdma nkekhmixngkvs ecxrld ec exf drus aelaefrdedxrik exch lxring idwiekhraahphaphthayrngsiexkskhxngaemngkanis II sleft 23 phwkekhasngektehnesnsepktrmsungsnnisthanwaepnkhxngexkha siesiym phwkekhaidprakaskarkhnphbthatuthi 87 niaelaesnxchuxwa aexlkhaileniym enuxngcakmncaepnolhaaexlkhailthihnkthisud 22 inpi ph s 2473 efrd aexllisn caksthabnophliethkhnikhaexlaaebma xangwaidkhnphbthatuthi 87 emuxwiekhraahaerophluistaelaelphiodilt odyichxupkrn magneto optical aexllisnkhxihtngchuxmnwa ewxrcieniym tamchuxrthbanekidkhxngekha ewxrcieniy aelaihsylksnwa Vi hrux Vm 23 24 aetin kh s 1934 exch ci aemkefxrsn cakmhawithyalyebxrkhielyidphisucnaeyngprasiththiphaphkhxngxupkrnthiaexllisnich aelaphisucnwasingthiaexllisnkhnphbnnepnethc 25 inpi ph s 2479 nkfisikschawormaeniy oheriy huluib aelaephuxnrwmnganchawfrngess xiewtt khawchxys idwiekhraahaerophluistxikkhrng aetinkhrngniidichekhruxngmuxrngsiexkskhunphaphsung 22 ekhasngektehnesnthikhlaykbaeksthukplxyxxkmaxyangxxn thaihthngkhusnnisthanwakhuxthatuthi 87 huluibtiphimphrayngankarkhnphbdngklawaelaesnxchuxwa omldaewiym tamchuxkhxngomldaewiy phrxmdwysylksn Ml cnghwdhnunginormaeniythihuluibekid 23 pithdma nkwithyasastrchawxemrikn exf exch ehirch cueniyr idwicarnkarkhnphbkhxnghuluib imyxmrbwithikarwicykhxnghuluib ehirchaenicwaexkha siesiymimmithangphbidinthrrmchati aelasingthihuluibkhnphbcring nn khuxrngsiexkskhxngprxth hruxbismth huluibyunhydwaekhruxngmuxrngsiexksaelawithikarkhxngekhaaemnyaekinthicaphidphladid dwyehtuni chxng bphtith aepaerng phuidrbrangwloneblaelaphuchwykhxnghuluib ihkarrbrxngwaomldaewiymepnexkha siesiymcring miichaefrnesiymxyangthimarekxrit epxaerephingkhnphb epxaerwicarnngankhxnghuluibcnkrathngethxidrbekhrditwaepnphukhnphbthatuthi 87 idephiyngkhnediyw 22 karwiekhraahkhxngepxaer aekikh exkha siesiym thukkhnphbin ph s 2482 odymarekxrit epxaer caksthabnkhuri inparis praethsfrngess emuxethxthaihtwxyangkhxngaexkthieniym 227 brisuththi sungethxidrbraynganwamiphlngnganslaykmmntrngsi 220 KeV epxaerehnwaxnuphakhslaytwthiradbphlngngantakwa 80 KeV epxaerkhidwakickrrmkarslaytwnixacekidcakkarslaytwkhxngphlitphnthxiktwhnung sungimthrabaenchd phlitphnthtwhnungthukaeykxxkrahwangkrabwnkarthaihbrisuththi aetpraktxxkmaxikkhrngepnthatuxunthiimichaexkthieniym 227 karthdlxnghlaykhrngidtdkhwamepnipidwathatudngklawcaepnthxeriym erediym takw bismth hruxaethleliym phlitphnthihmaesdngkhunsmbtithangekhmikhxngolhaaexlkhail echn kartktakxnrwmkbekluxsiesiym thaihepxaerechuxwamnkhuxthatuthi 87 ekidcakkarslayihxnuphakhaexlfa khxngixosothpaexkthieniym 227 21 aelwepxaerkphyayamkahndsdswnkhxngkarslayihxnuphakhbita txkarslaytwihxnuphakhaexlfa inaexkthieniym 227 karthdlxngkhrngaerkkhxngethxihphlxxkmawamioxkasekidkarslaytwaexlfa 0 6 sungtxmaethxaekikhihepn 1 26 epxaeridihchuxixosothpihmniwa aexkthieniym ekh inphayhlngidphisucnwakhux aefrnesiym 223 21 aelainpi ph s 2489 epxaeridihchuxwa khaethiym sahrbthatuthikhnphbihm enuxngcakethxechuxwathatunicaepnixxxnpracubwkthimixielkotrophsitiwitimakthisud aetxiern chuliox kuri hnunginphuduaelkhxngepxaer idaeyngwakhawa cat cahmaythungaemw makkwa cation ixxxnpracubwk 21 txmaepxaeresnxaenachuxthatuihmniwa aefrnesiym tampraethsfrngess epnchuxthangkarthiidrbkaryunynodyshphaphekhmibrisuththiaelaekhmiprayuktrahwangpraeths emuxpi ph s 2492 2 klayepnthatutwthisxngthitngchuxtampraethsfrngess thdcakaekleliym mikaresnxsylksnihthatuniwa Fa aetphayhlngkthukepliynepn Fr hlngcaknnimnan 27 aefrnesiymepnthatusudthaythiphbinthrrmchati miidsngekhraahkhun thdcakrieniymthikhnphbemux ph s 2468 21 silewn ilebxraemn aelathimkhxngekhaidnganwicyekiywkbokhrngsrangkhxngaefrnesiymtxipxikthixngkhkarwicyniwekhliyryuorp inchwngkhristthswrrs 1970 aela 1980 28 karprakt aekikh twxyangaeryuerintnimixatxmkhxngaefrnesiymxyuinthuk 100 000 xatxmkhxngyuereniym 15 thrrmchati aekikh aefrnesiym 223 epnphlphlitthiidcakkarslaytwaexlfakhxngaexkthieniym 227 aelaphbidinaeryuereniymaelathxeriym 3 intwxyangyuereniymtwxyanghnung camiaefrnesiymthithukphlitkhunxyuthuk 1 1018 xatxmkhxngyuereniym 15 aelayngmikarkhanwnwa thiewlaid caphbaefrnesiyminepluxkolkxyangmak 30 krm 29 sngekhraah aekikh xatxmaefrnesiymthiepnklangsamarthtidkbin MOT thiichsnamaemehlkaelalaaesngelesxr 30 aesngthieplngxxkcaktwxyangaefrnesiym 200 000 xatxm inkbdk magneto optical phaphcbkhwamrxnkhxngaefrnesiym 300 000 xatxm inkbdk magneto optical aefrnesiymsamarthsngekhraahkhunidcakptikiriyaniwekhliyr 197Au 18O 210Fr 5 ninkrabwnkarni sungphthnaodymhawithyalysotnibruk aefrnesiymthiphlitxxkmasamarthepnaefrnesiym 209 210 aela 211 31 thithukaeykdwykbdk magneto optical MOT 30 xtrakarphlitixosothpaefrnesiymkhunxyukbprimanphlngngankhxnglaaesngxxksiecn 18 laaesngxxksiecn 18cakekhruxngerngxnuphakhechingesn hruxliaenk LINAC khxngsotnibrukni srangaefrnesiym 210 odykaryingipthixatxmkhxngthxngkhadwyptikiriyaniwekhliyr 197Au 18O 210Fr 5n karphlitnitxngichewlaphthnaaelathakhwamekhaic enuxngdwyxunhphumirahwangkarekidptikiriyaiklekhiyngkbcudhlxmehlwkhxngthxngkhaaelatxngmnicwabriewnnnsaxadthisud ptikiriyaniwekhliyrniidthaihxatxmkhxngaefrnesiymfnglukekhaipinthxngkha aelaphwkmncatxngslayipxyangmiprasiththiphaph xatxmkhxngaefrnesiymcakracayipthwphiwkhxngthxngkhaxyangrwderwaelathukpldplxyxxkmainrupkhxngixxxn singniimidekidkhunthukkhrng ixxxnkhxngaefrnesiymthuknaodyelnsiffasthitcnkrathngmnlngmathungphiwkhxngxitethriymrxnaelaklbmaepnklangxikkhrng caknnaefrnesiymcathukchidipinhlxdaekw snamaemehlkaelalaaesngelesxrcaeyntwlngaelacakdxatxm thungaemwaxatxmcaxyuphayinkbdkephiyngpraman 20 winathikxnthimncahludxxkma hruxslaytw aetklumxatxmihmcamaaethnthiswnthihludip thaihxatxmthitidkbyngxyuxyangnnnanhlaynathihruxnankwann inkhntn xatxmaefrnesiymcanwn 1 000 xatxmidthukkkiwinkarthdlxng aelakmikarphthnacnsamarthkkxatxmaefrnesiymthiepnklangiwid 300 000 xatxminkarthdlxngephiyngkhrngediyw 1 thungaemwaxatxmolha olhaaefrnesiym thiidehlanicaepnklang phwkmncaxyuinsthanaaeksthiimekaaklumkn aefrnesiymprimanephiyngphxthuktrwccbidcnklxngwidioxsamarthcbaesngthixxkcakxatxmemuxmneplngaesng xatxmehlanicapraktepnthrngklmeruxngaesngkhnadesnphansunyklangpraman 1 milliemtr aelawithinithaihehnaefrnesiymdwytaeplaidepnkhrngaerk pccubn nkwicysamarthwdaesngthieplngaeladudklunodyxatxmthithukkk aelaihphlkarthdlxngkhrngaerkekiywkbkarepliynaeplngrahwangradbphlngngantang khxngaefrnesiym karwdkhrngaerkihphlthitrngkbkhaaelakarkhanwncakkarthdlxngthvsdikhwxntmepnxyangmak mikarsngekhraahdwywithixun echn karyingxatxmerediymdwyniwtrxn aelayingxatxmthxeriymdwyoprtxn diwethxrxn hruxixxxnhieliym 26 aefrnesiymyngimekhythuksngekhraahinprimanmakphxthicapraeminid 2 6 15 ixosothp aekikhdubthkhwamhlkthi ixosothpkhxngaefrnesiym aefrnesiymmi 34 ixosothp mimwlxatxmtngaet 199 232 3 aefrnesiymmi 7 ixosemxrniwekhliyrkungesthiyr 3 aefrnesiym 221 aelaaefrnesiym 223 epnephiyngsxngixosothpthiekidkhuninthrrmchati odycaphbaefrnesiym 221 idngaykwa 32 aefrnesiym 223 epnixosothpthiesthiyrthisuddwykhrungchiwit 21 8 nathi 3 aelaixosothpaefrnesiymthimikhrungchiwitnankwanicaimxacphbhruxsngekhraahkhunidxik aefrnesiym 223 epnphlitphnthladbthihakhxngkrabwnkarslaytwkhxngaexkthieniym odyidcakkarslaytwkhxngaexkthieniym 227 17 caknnaefrnesiym 223 caslaytwipepnerediym 223 odykarslayihxnuphakhbita phlngnganslaytw 1149 keV aelayngmioxkaselknxn 0 006 thimncaslaytwihxnuphakhaexlfaipepnaexsthathin 219aefrnesiym 221 mikhrungchiwit 4 8 nathi 3 sungepnphlitphnthladbthi 9 khxngkrabwnkarkarslaytwkhxngenpthueniym odyidcakkarslaytwkhxngaexkthieniym 225 caknn aefrnesiym 221 slaytwepnaexsthathin 217 odykarslaytwihxnuphakhaexlfa phlngnganslaytw 6 457 MeV 3 ixosothpthiesthiyrnxythisudinsthanaphunkhuxaefrnesiym 215 sungmikhrungchiwitxyu 0 12 imokhrwinathi ichphlngngan 9 54 MeV slayihxnuphakhaexlfaipepnaexsthathin 211 3 ixosemxrkungesthiyr aefrnesiym 215m kyngesthiyrnxykwa mikhrungchiwitxyuthi 3 5 naonwinathiethann 33 echingxrrth aekikh ixosothpthiimesthiyrnxythisudcring khux aefrnesiym 223 bangthatuthiphbodykarsngekhraahkhunma echn ethkhniechiym aela phluotheniym kthukphbinthrrmchatiinphayhlngraykarxangxing aekikh 1 0 1 1 Luis A Orozco 2003 Francium Chemical and Engineering News 2 0 2 1 2 2 2 3 2 4 2 5 Price Andy 2004 12 20 Francium subkhnemux 2012 02 19 3 0 3 1 3 2 3 3 3 4 3 5 3 6 3 7 3 8 3 9 CRC Handbook of Chemistry and Physics 4 CRC 2006 p 12 ISBN 0 8493 0474 1 xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imsmehtusmphl miniyamchux CRC2006 hlaykhrngdwyenuxhatangkn Winter Mark Electron Configuration Francium The University of Sheffield subkhnemux 2007 04 18 Kozhitov L V 2003 Evaluation of the Surface Tension of Liquid Francium Inorganic Materials 39 11 1138 1141 doi 10 1023 A 1027389223381 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help 6 0 6 1 Francium Los Alamos National Laboratory 2011 subkhnemux February 19 2012 Pauling Linus 1960 The Nature of the Chemical Bond Third ed Cornell University Press p 93 ISBN 978 0 8014 0333 0 Allred A L 1961 Electronegativity values from thermochemical data J Inorg Nucl Chem 17 3 4 215 221 doi 10 1016 0022 1902 61 80142 5 Check doi value help Andreev S V Letokhov V S Mishin V I 1987 Laser resonance photoionization spectroscopy of Rydberg levels in Fr Physical Review Letters 59 12 1274 76 Bibcode 1987PhRvL 59 1274A doi 10 1103 PhysRevLett 59 1274 PMID 10035190 CS1 maint extra punctuation link CS1 maint multiple names authors list link 10 0 10 1 Thayer John S 2010 Chemistry of heavier main group elements p 81 doi 10 1007 9781402099755 2 Hyde E K 1952 Radiochemical Methods for the Isolation of Element 87 Francium J Am Chem Soc 74 16 4181 4184 doi 10 1021 ja01136a066 E N K Hyde Radiochemistry of Francium Subcommittee on Radiochemistry National Academy of Sciences National Research Council available from the Office of Technical Services Dept of Commerce 1960 Maddock A G 1951 Radioactivity of the heavy elements Q Rev Chem Soc 3 3 270 314 doi 10 1039 QR9510500270 Winter Mark Uses Francium The University of Sheffield subkhnemux 2007 03 25 15 0 15 1 15 2 15 3 15 4 Emsley John 2001 Nature s Building Blocks Oxford Oxford University Press pp 151 153 ISBN 0 19 850341 5 Gagnon Steve Francium Jefferson Science Associates LLC subkhnemux 2007 04 01 17 0 17 1 Considine Glenn D b k 2005 Chemical Elements in Van Nostrand s Encyclopedia of Chemistry New York Wiley Interscience p 332 ISBN 0 471 61525 0 Haverlock TJ Mirzadeh S Moyer BA 2003 Selectivity of calix 4 arene bis benzocrown 6 in the complexation and transport of francium ion J Am Chem Soc 125 5 1126 7 doi 10 1021 ja0255251 PMID 12553788 Gomez E Orozco L A Sprouse G D November 7 2005 Spectroscopy with trapped francium advances and perspectives for weak interaction studies Rep Prog Phys 69 1 79 118 Bibcode 2006RPPh 69 79G doi 10 1088 0034 4885 69 1 R02 Peterson I May 11 1996 Creating cooling trapping francium atoms PDF Science News 149 19 294 doi 10 2307 3979560 subkhnemux September 11 2009 21 0 21 1 21 2 21 3 21 4 Adloff Jean Pierre Kaufman George B 2005 09 25 Francium Atomic Number 87 the Last Discovered Natural Element The Chemical Educator 10 5 Retrieved on 2007 03 26 22 0 22 1 22 2 22 3 22 4 Fontani Marco 2005 09 10 The Twilight of the Naturally Occurring Elements Moldavium Ml Sequanium Sq and Dor Do International Conference on the History of Chemistry Lisbon pp 1 8 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2006 02 24 subkhnemux 2007 04 08 23 0 23 1 23 2 23 3 Van der Krogt Peter 2006 01 10 Francium Elementymology amp Elements Multidict subkhnemux 2007 04 08 00 html Alabamine amp Virginium Check url value help TIME 1932 02 15 subkhnemux 2007 04 01 MacPherson H G 1934 An Investigation of the Magneto Optic Method of Chemical Analysis Physical Review American Physical Society 47 4 310 315 Bibcode 1935PhRv 47 310M doi 10 1103 PhysRev 47 310 26 0 26 1 Francium McGraw Hill Encyclopedia of Science amp Technology 7 McGraw Hill Professional 2002 pp 493 494 ISBN 0 07 913665 6 Grant Julius 1969 Francium Hackh s Chemical Dictionary McGraw Hill pp 279 280 ISBN 0 07 024067 1 History Francium State University of New York at Stony Brook 2007 02 20 subkhnemux 2007 03 26 Winter Mark Geological information Francium The University of Sheffield subkhnemux 2007 03 26 30 0 30 1 Cooling and Trapping Francium State University of New York at Stony Brook February 20 2007 subkhnemux May 1 2007 Production of Francium Francium State University of New York at Stony Brook 2007 02 20 subkhnemux 2007 03 26 Considine Glenn D b k 2005 Francium in Van Nostrand s Encyclopedia of Chemistry New York Wiley Interscience p 679 ISBN 0 471 61525 0 National Nuclear Data Center 2003 Fr Isotopes Brookhaven National Laboratory subkhnemux April 4 2007 aehlngkhxmulxun aekikhFrancium at The Periodic Table of Videos mhawithyalyaehngnxttingaehm WebElements com Francium Stony Brook University Physics Dept ekhathungcak https th wikipedia org w index php title aefrnesiym amp oldid 7852221, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม