fbpx
วิกิพีเดีย

ไทเทเนียม

บทความนี้เกี่ยวกับเคมี สำหรับวงดนตรี ดูที่ ไทยเทเนี่ยม
ไทเทเนียม
สแกนเดียม ← → วาเนเดียม
-

Ti

Zr
ทั่วไป
ชื่อ, สัญลักษณ์, เลขอะตอม ไทเทเนียม, Ti, 22
อนุกรมเคมี โลหะหมู่ B
หมู่, คาบ, บล็อก 4, 4, d
ลักษณะ สีเงินมันวาว
มวลอะตอม 47.867 (1) กรัม/โมล
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [Ar] 3d2 4s2
อิเล็กตรอนต่อระดับพลังงาน 2, 8, 10, 2
คุณสมบัติทางกายภาพ
สถานะ ของแข็ง
ความหนาแน่น (ใกล้ r.t.) 4.506 ก./ซม.³
ความหนาแน่นของของเหลวที่m.p. 4.11 ก./ซม.³
จุดหลอมเหลว 1941 K
(1668 °C)
จุดเดือด 3560 K(3287 °C)
ความร้อนของการหลอมเหลว 14.15 กิโลจูล/โมล
ความร้อนของการกลายเป็นไอ 425 กิโลจูล/โมล
ความร้อนจำเพาะ (25 °C) 25.060 J/(mol·K)
ความดันไอ
P/Pa 1 10 100 1 k 10 k 100 k
ที่ T K 1982 2171 (2403) 2692 3064 3558
คุณสมบัติของอะตอม
โครงสร้างผลึก hexagonal
สถานะออกซิเดชัน 4
(amphoteric oxide)
อิเล็กโตรเนกาติวิตี 1.54 (พอลิงสเกล)
พลังงานไอออไนเซชัน
(เพิ่มเติม)
ระดับที่ 1: 658.8 กิโลจูล/โมล
ระดับที่ 2: 1309.8 กิโลจูล/โมล
ระดับที่ 3: 2652.5 กิโลจูล/โมล
รัศมีอะตอม 140 pm
รัศมีอะตอม (คำนวณ) 176 pm
รัศมีโควาเลนต์ 136 pm
อื่น ๆ
การจัดเรียงทางแม่เหล็ก ???
ความต้านทานไฟฟ้า (20 °C) 0.420 µΩ·m
การนำความร้อน (300 K) 21.9 W/(m·K)
การขยายตัวจากความร้อน (25 °C) 8.6 µm/(m·K)
อัตราเร็วของเสียง (แท่งบาง) (r.t.) 5090 m/s
โมดูลัสของยังก์ 116 GPa
โมดูลัสของแรงเฉือน 44 GPa
โมดูลัสของแรงบีบอัด 110 GPa
อัตราส่วนปัวซอง 0.32
ความแข็งโมห์ส 6.0
ความแข็งวิกเกอร์ส 970 MPa
ความแข็งบริเนล 716 MPa
เลขทะเบียน CAS 7440-32-6
ไอโซโทปเสถียรที่สุด
บทความหลัก: ไอโซโทปของไทเทเนียม
iso NA ครึ่งชีวิต DM DE (MeV) DP
44Ti syn 63 y ε - 44Sc
γ 0.07D, 0.08D -
46Ti 8.0% Ti เสถียร โดยมี 24 นิวตรอน
47Ti 7.3% Ti เสถียร โดยมี 25 นิวตรอน
48Ti 73.8% Ti เสถียร โดยมี 26 นิวตรอน
49Ti 5.5% Ti เสถียร โดยมี 27 นิวตรอน
50Ti 5.4% Ti เสถียร โดยมี 28 นิวตรอน
แหล่งอ้างอิง

ไทเทเนียม (อังกฤษ: Titanium; /tˈtniəm/; ty-tay-nee-əm) เป็นธาตุเคมี มีสัญลักษณ์เป็น Ti มีเลขอะตอมเท่ากับ 22 มีความหนาแน่นต่ำ แข็ง ทนการกัดกร่อน (น้ำทะเล , น้ำประสานทอง (aqua regia) และ คลอรีน) เป็นโลหะทรานซิชันสีเงิน

ไทเทเนียมได้รับการค้นพบในคอร์นวอลล์ บริเตนใหญ่ โดย วิลเลียม เกรเกอร์ (William Gregor) ในปี ค.ศ. 1791 ได้รับการตั้งชื่อโดย มาร์ทิน ไฮนริช คลาพรอท (Martin Heinrich Klaproth) ตามไททันในเทพปกรณัมกรีก ธาตุนี้พบในชั้นที่ทับถมกันของแร่ที่กระจายอยู่ทั่วไปในเปลือกโลกและธรณีภาค ส่วนใหญ่จะเป็นรูไทล์และอิลเมไนต์ และยังพบในสิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิด หิน แหล่งน้ำ และดิน ไทเทเนียมสามารถสกัดจากสินแร่ด้วยกระบวนการครอลล์ (Kroll process) หรือกระบวนการฮันเตอร์ (Hunter process) ในรูปของสารประกอบที่พบส่วนมากจะเป็นไทเทเนียมไดออกไซต์ ซึ่งเป็นสารเร่งปฏิกิริยาด้วยแสง (photocatalyst) ที่นิยมและใช้ในการสร้างสารสี (pigment) ขาว ส่วนรูปสารประกอบอื่น ได้แก่ ไทเทเนียมเตตระคลอไรด์ (TiCl4) ซึ่งเป็นส่วนประกอบของหมอกควันและตัวเร่งปฏิกิริยา และไทเทเนียมไตรคลอไรด์ (TiCl3) ซึ่งใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการผลิตโพลิโพรพิลีน

ไทเทเนียมสามารถผลิตเป็นโลหะเจือ ด้วยการผสมกับเหล็ก อะลูมิเนียม วาเนเดียม โมลิบดีนัม และธาตุอื่นๆ เพื่อผลิตโลหะเจือที่แข็งแรงแต่น้ำหนักเบาสำหรับใช้ในยานอวกาศหรืออากาศยาน (เครื่องยนต์เจ็ต ขีปนาวุธ และยานอวกาศ) การทหาร กระบวนการทางอุตสาหกรรม (สารเคมี สารเคมีจากปิโตรเลียม ระบบผลิตน้ำจืดจากน้ำทะเล (desalination plant) เยื่อกระดาษ และกระดาษ) ยานยนต์ อาหารจากเกษตรกรรม กายอุปกรณ์ทางการแพทย์ กระดูกเทียม เครื่องมือทางทันตกรรม ฟันปลอมรากเทียม สินค้าทางการกีฬา อัญมณี โทรศัพท์มือถือ และการประยุกต์ใช้อื่น ๆ

สองคุณสมบัติที่มีประโยชน์มากที่สุดของรูปโลหะคือมีความต้านทานการกัดกร่อนและมีอัตราส่วนความแข็งแรงต่อน้ำหนักสูงกว่าโลหะชนิดใด ๆ ในสภาวะบริสุทธิ์ ไทเทเนียมมีความแข็งเท่ากับเหล็กกล้าบางชนิด แต่เบากว่า 45% มีด้วยกันสองอัญรูป และห้าไอโซโทปที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติ คือ 46Ti ถึง 50Ti ซึ่ง 48Ti มีจำนวนมากที่สุด (73.8%) คุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ของไทเทเนียมคล้ายกับเซอร์โคเนียม เพราะทั้งสองมีเลขเวเลนซ์อิเล็กตรอนเลขเดียวกันและอยู่ในหมู่เดียวกันในตารางธาตุ

ลักษณะ

คุณสมบัติทางฟิสิกส์

ธาตุโลหะไทเทเนียมเป็นที่รู้จักกันว่าเป็นธาตุที่มีอัตราความแข็งแรงต่อน้ำหนักสูง เป็นโลหะที่แข็งแรงแต่มีความหนาแน่นต่ำสามารถทำให้เป็นแผ่นบาง ๆ ได้ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาพแวดล้อมที่ไม่มีออกซิเจน), มันวาว, และมีสีขาวโลหะ มีจุดหลอมเหลวสูง (มากกว่า 1,650 °C หรือ 3,000 °F) จึงมักนำไปใช้เป็นโลหะทนไฟ ไทเทเนียมเป็นพาราแมกเนติกมีสภาพนำไฟฟ้าและสภาพนำความร้อนต่ำ

เกรดของไทเทเนียมในเชิงการค้า (บริสุทธิ์ 99.2%) มีความทนแรงเค้นดึงสูงสุดประมาณ 63,000 psi (434 MPa) เท่ากับโละผสมเกรดต่ำทั่วไป แต่เบากว่า 45% ไทเทเนียมมีความหนาแน่นมากกว่าอะลูมิเนียม 60% แต่แข็งกว่าสองเท่า ของโลหะผสมอะลูมิเนียม 6061-T6 ที่นิยมใช้กันทั่วไป โลหะผสมไทเทเนียมบางชนิด (เช่น บีตาซี ,Beta C) ทนแรงเค้นดึงสูงกว่า 200,000 psi (1,400 MPa) อย่างไรก็ตาม ไทเทเนียมจะสูญเสียความแข็งเมื่อได้รับความร้อนสูงกว่า 430 °C (806 °F)

ไทเทเนียมนั้นแข็งพอใช้ (แม้ว่าจะไม่แข็งเท่ากับเหล็กกล้าอบชุบบางเกรด) ไม่มีคุณสมบัติเป็นแม่เหล็ก และเป็นตัวนำไฟฟ้าและความร้อนที่คุณภาพเลว การใช้กับเครื่องจักรต้องทำอย่างระมัดระวังเพราะวัสดุจะอ่อนตัวและถูกครูดเป็นรอยถ้าเครื่องมือมีความแหลมคมและไม่ได้ใช้วิธีการระบายความร้อนที่เหมาะสม เครื่องมือที่ทำจากไทเทเนียมคล้ายกับเครื่องมือที่ทำจากเหล็ก โครงสร้างของไทเทเนียมนั้นมีขีดจำกัดความล้าซึ่งจะกำหนดช่วงชีวิตของการนำไปใช้งานบางประเภท คุณสมบัติความแข็งตึง (stiffness) ของโลหะผสมไทเทเนียม ปกติแล้วไม่ดีเท่าวัสดุอื่น เช่น โลหะผสมอะลูมิเนียม และคาร์บอนไฟเบอร์ ดังนั้น จึงไม่ค่อยจะมีการนำไทเทเนียมไปใช้ในโครงสร้างที่ต้องการความแข็งแกร่งสูง

ไทเทเนียมมีสองอัญรูปคือรูปแบบแอลฟาหกเหลี่ยมที่จะเปลี่ยนเป็นรูปแบบบีตาแบบลูกบาศก์กลางตัว (body-centered cubic, แลตทิซ) ที่ 882 °C (1,620 °F) ความร้อนจำเพาะของรูปแบบแอลฟาจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อได้รับความร้อนเพื่อส่งผ่านระดับความร้อนนี้แต่จะตกลงและเกือบจะคงที่ในรูปแบบบีตาโดยไม่คำนึงถึงอุณหภูมิ ส่วนรูปแบบโอเมกาที่เพิ่มขึ้นมาจะคงอยู่และเสถียรทางเทอร์โมไดนามิกส์ที่ความดันสูงคล้ายกับเซอร์โคเนียมและแฮฟเนียม แต่จะอุปเสถียร (metastable) ที่ความดันบรรยากาศ รูปแบบนี้ปกติจะเป็นรูปหกเหลี่ยม (อุดมคติ) หรือสามเหลี่ยม (บิดเบี้ยว)

คุณสมบัติทางเคมี

สารประกอบ

การปรากฏขึ้น

ไอโซโทป

ดูบทความหลักที่: ไอโซโทปของไทเทเนียม

ไทเทเนียมที่เกิดขึ้นในธรรมชาติมีอยู่ด้วยกัน 5 ไอโซโทปที่เสถียร ได้แก่ 46Ti, 47Ti, 48Ti, 49Ti, และ 50Ti ซึ่ง 48Ti มีจำนวนมากที่สุด (73.8%) มี 11 ไอโซโทปกัมมันตรังสี ที่เสถียรที่สุด คือ 44Ti ซึ่งมีครึ่งชีวิต 63 ปี 45Ti มีครึ่งชีวิต 184.8 นาที 51Ti มีครึ่งชีวิต 5.76 นาที และ 52Ti มีครึ่งชีวิต 1.7 นาที ที่เหลือเป็นไอโซโทปกัมมันตรังสีที่มีครึ่งชีวิตน้อยกว่า 33 วินาทีและส่วนใหญ่มีครึ่งชีวิตน้อยกว่า 0.5 วินาที

ไอโซโทปของไทเทเนียมมีน้ำหนักอะตอมอยู่ในช่วง 39.99 u (40Ti) ถึง 57.966 u (58Ti) รูปแบบการสลายกัมมันตรังสีขั้นต้นก่อนจะกลายเป็นไอโซโทปที่เสถียรและมีจำนวนมากที่สุด 48Ti คือการจับยึดอิเล็กตรอนและรูปแบบการสลายหลังจากนั้นคือการสลายให้อนุภาคบีตา ผลิตภัณฑ์จากการสลายกัมมันตรังสีขั้นต้นก่อนจะเป็น 48Ti คือไอโซโทปธาตุที่ 21 (สแกนเดียม) และผลิตภัณฑ์จากการสลายกัมมันตรังสีหลังจากนั้นคือไอโซโทปธาตุที่ 23 (วาเนเดียม)

อ้างอิง

  1. "Titanium". Encyclopædia Britannica. 2006. สืบค้นเมื่อ 2006-12-29.
  2. Lide, D. R., บ.ก. (2005). CRC Handbook of Chemistry and Physics (86th ed.). Boca Raton (FL): CRC Press. ISBN 0-8493-0486-5.
  3. Krebs, Robert E. (2006). The History and Use of Our Earth's Chemical Elements: A Reference Guide (2nd edition). Westport, CT: Greenwood Press. ISBN 0313334382.
  4. Matthew J. Donachie, Jr. (1988). TITANIUM: A Technical Guide. Metals Park, OH: ASM International. p. 11. ISBN 0871703092.
  5. Barksdale 1968, p. 738
  6. "Titanium". Columbia Encyclopedia (6th ed.). New York: Columbia University Press. 2000–2006. ISBN 0-7876-5015-3.
  7. Barbalace, Kenneth L. (2006). "Periodic Table of Elements: Ti – Titanium". สืบค้นเมื่อ 2006-12-26.
  8. Matthew J. Donachie, Jr. (1988). Titanium: A Technical Guide. Metals Park, OH: ASM International. Appendix J, Table J.2. ISBN 0871703092.
  9. Barksdale 1968, p. 734
  • Barksdale, Jelks (1968). "Titanium". ใน Clifford A. Hampel (editor) (บ.ก.). The Encyclopedia of the Chemical Elements. New York: Reinhold Book Corporation. pp. 732–738. LCCN 68-29938.CS1 maint: extra text: editors list (link)
  • Emsley, John (2001). "Titanium". Nature's Building Blocks: An A-Z Guide to the Elements. Oxford, England, UK: Oxford University Press. ISBN 0-19-850340-7.
  • Flower, Harvey M. (2000). "Materials Science: A moving oxygen story". Nature. 407 (6802): 305–306. doi:10.1038/35030266. PMID 11014169.
  • Greenwood, N. N. (1997). Chemistry of the Elements (2nd ed.). Oxford: Butterworth-Heinemann. ISBN 0-7506-3365-4. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  • Winter, Mark (2006). "Chemistry: Periodic table: Titanium". WebElements. สืบค้นเมื่อ 2006-12-10.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Titanium: Our Next Major Metal, October 1950, Popular Science one of first general public detailed articles on Titanium
  • A Cleaner, Cheaper Route to Titanium
  • International Titanium Association
  • Metallurgy of Titanium and its Alloys, Cambridge University
  • World Production of Titanium Concentrates, by Country
  • Truth in Sparks: Titanium or Plain Ol' Steel? Popular Science Magazine
  • Metal of the gods
  •   วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ไทเทเนียม

ไทเทเน, ยม, บทความน, เก, ยวก, บเคม, สำหร, บวงดนตร, ไทยเทเน, ยม, สแกนเด, ยม, วาเนเด, ยม, zrท, วไปช, ญล, กษณ, เลขอะตอม, 22อน, กรมเคม, โลหะหม, bหม, คาบ, บล, อก, dล, กษณะ, เง, นม, นวาวมวลอะตอม, กร, โมลการจ, ดเร, ยงอ, เล, กตรอน, 4s2อ, เล, กตรอนต, อระด, บพล, งงาน, 2. bthkhwamniekiywkbekhmi sahrbwngdntri duthi ithyetheniym ithetheniymsaeknediym waenediym Ti Zrthwipchux sylksn elkhxatxm ithetheniym Ti 22xnukrmekhmi olhahmu Bhmu khab blxk 4 4 dlksna sienginmnwawmwlxatxm 47 867 1 krm omlkarcderiyngxielktrxn Ar 3d2 4s2xielktrxntxradbphlngngan 2 8 10 2khunsmbtithangkayphaphsthana khxngaekhngkhwamhnaaenn ikl r t 4 506 k sm khwamhnaaennkhxngkhxngehlwthim p 4 11 k sm cudhlxmehlw 1941 K 1668 C cudeduxd 3560 K 3287 C khwamrxnkhxngkarhlxmehlw 14 15 kiolcul omlkhwamrxnkhxngkarklayepnix 425 kiolcul omlkhwamrxncaephaa 25 C 25 060 J mol K khwamdnix P Pa 1 10 100 1 k 10 k 100 kthi T K 1982 2171 2403 2692 3064 3558khunsmbtikhxngxatxmokhrngsrangphluk hexagonalsthanaxxksiedchn 4 amphoteric oxide xielkotrenkatiwiti 1 54 phxlingsekl phlngnganixxxineschn ephimetim radbthi 1 658 8 kiolcul omlradbthi 2 1309 8 kiolcul omlradbthi 3 2652 5 kiolcul omlrsmixatxm 140 pmrsmixatxm khanwn 176 pmrsmiokhwaelnt 136 pmxun karcderiyngthangaemehlk khwamtanthaniffa 20 C 0 420 µW mkarnakhwamrxn 300 K 21 9 W m K karkhyaytwcakkhwamrxn 25 C 8 6 µm m K xtraerwkhxngesiyng aethngbang r t 5090 m somdulskhxngyngk 116 GPaomdulskhxngaerngechuxn 44 GPaomdulskhxngaerngbibxd 110 GPaxtraswnpwsxng 0 32khwamaekhngomhs 6 0khwamaekhngwikekxrs 970 MPakhwamaekhngbrienl 716 MPaelkhthaebiyn CAS 7440 32 6ixosothpesthiyrthisudbthkhwamhlk ixosothpkhxngithetheniym iso NA khrungchiwit DM DE MeV DP44Ti syn 63 y e 44Scg 0 07D 0 08D 46Ti 8 0 Ti esthiyr odymi 24 niwtrxn47Ti 7 3 Ti esthiyr odymi 25 niwtrxn48Ti 73 8 Ti esthiyr odymi 26 niwtrxn49Ti 5 5 Ti esthiyr odymi 27 niwtrxn50Ti 5 4 Ti esthiyr odymi 28 niwtrxnaehlngxangxingithetheniym xngkvs Titanium t aɪ ˈ t eɪ n i e m ty tay nee em epnthatuekhmi misylksnepn Ti mielkhxatxmethakb 22 mikhwamhnaaennta aekhng thnkarkdkrxn nathael naprasanthxng aqua regia aela khlxrin epnolhathransichnsienginithetheniymidrbkarkhnphbinkhxrnwxll brietnihy ody wileliym ekrekxr William Gregor inpi kh s 1791 idrbkartngchuxody marthin ihnrich khlaphrxth Martin Heinrich Klaproth tamiththninethphpkrnmkrik thatuniphbinchnthithbthmknkhxngaerthikracayxyuthwipinepluxkolkaelathrniphakh swnihycaepnruithlaelaxilemint aelayngphbinsingmichiwitekuxbthukchnid hin aehlngna aeladin 1 ithetheniymsamarthskdcaksinaerdwykrabwnkarkhrxll Kroll process 2 hruxkrabwnkarhnetxr Hunter process inrupkhxngsarprakxbthiphbswnmakcaepnithetheniymidxxkist sungepnsarerngptikiriyadwyaesng photocatalyst thiniymaelaichinkarsrangsarsi pigment khaw 3 swnrupsarprakxbxun idaek ithetheniymettrakhlxird TiCl4 sungepnswnprakxbkhxnghmxkkhwnaelatwerngptikiriya aelaithetheniymitrkhlxird TiCl3 sungichepntwerngptikiriyainkarphlitophliophrphilin 1 ithetheniymsamarthphlitepnolhaecux dwykarphsmkbehlk xalumieniym waenediym omlibdinm aelathatuxun ephuxphlitolhaecuxthiaekhngaerngaetnahnkebasahrbichinyanxwkashruxxakasyan ekhruxngyntect khipnawuth aelayanxwkas karthhar krabwnkarthangxutsahkrrm sarekhmi sarekhmicakpiotreliym rabbphlitnacudcaknathael desalination plant eyuxkradas aelakradas yanynt xaharcakekstrkrrm kayxupkrnthangkaraephthy kradukethiym ekhruxngmuxthangthntkrrm fnplxmrakethiym sinkhathangkarkila xymni othrsphthmuxthux aelakarprayuktichxun 1 sxngkhunsmbtithimipraoychnmakthisudkhxngrupolhakhuxmikhwamtanthankarkdkrxnaelamixtraswnkhwamaekhngaerngtxnahnksungkwaolhachnidid 4 insphawabrisuththi ithetheniymmikhwamaekhngethakbehlkklabangchnid aetebakwa 45 5 midwyknsxngxyrup 6 aelahaixosothpthiekidkhunodythrrmchati khux 46Ti thung 50Ti sung 48Ti micanwnmakthisud 73 8 7 khunsmbtithangekhmiaelafisikskhxngithetheniymkhlaykbesxrokheniym ephraathngsxngmielkhewelnsxielktrxnelkhediywknaelaxyuinhmuediywknintarangthatu enuxha 1 lksna 1 1 khunsmbtithangfisiks 1 2 khunsmbtithangekhmi 1 3 sarprakxb 1 4 karpraktkhun 1 5 ixosothp 2 xangxing 3 aehlngkhxmulxunlksna aekikhkhunsmbtithangfisiks aekikh thatuolhaithetheniymepnthiruckknwaepnthatuthimixtrakhwamaekhngaerngtxnahnksung 6 epnolhathiaekhngaerngaetmikhwamhnaaenntasamarththaihepnaephnbang id odyechphaaxyangyinginsphaphaewdlxmthiimmixxksiecn 1 mnwaw aelamisikhawolha micudhlxmehlwsung makkwa 1 650 C hrux 3 000 F cungmknaipichepnolhathnif ithetheniymepnpharaaemkentikmisphaphnaiffaaelasphaphnakhwamrxnta 1 ekrdkhxngithetheniyminechingkarkha brisuththi 99 2 mikhwamthnaerngekhndungsungsudpraman 63 000 psi 434 MPa ethakbolaphsmekrdtathwip aetebakwa 45 5 ithetheniymmikhwamhnaaennmakkwaxalumieniym 60 aetaekhngkwasxngetha 5 khxngolhaphsmxalumieniym 6061 T6 thiniymichknthwip olhaphsmithetheniymbangchnid echn bitasi Beta C thnaerngekhndungsungkwa 200 000 psi 1 400 MPa 8 xyangirktam ithetheniymcasuyesiykhwamaekhngemuxidrbkhwamrxnsungkwa 430 C 806 F 9 ithetheniymnnaekhngphxich aemwacaimaekhngethakbehlkklaxbchubbangekrd immikhunsmbtiepnaemehlk aelaepntwnaiffaaelakhwamrxnthikhunphaphelw karichkbekhruxngckrtxngthaxyangramdrawngephraawsducaxxntwaelathukkhrudepnrxythaekhruxngmuxmikhwamaehlmkhmaelaimidichwithikarrabaykhwamrxnthiehmaasm ekhruxngmuxthithacakithetheniymkhlaykbekhruxngmuxthithacakehlk okhrngsrangkhxngithetheniymnnmikhidcakdkhwamlasungcakahndchwngchiwitkhxngkarnaipichnganbangpraephth khunsmbtikhwamaekhngtung stiffness khxngolhaphsmithetheniym pktiaelwimdiethawsduxun echn olhaphsmxalumieniym aelakharbxnifebxr dngnn cungimkhxycamikarnaithetheniymipichinokhrngsrangthitxngkarkhwamaekhngaekrngsungithetheniymmisxngxyrupkhuxrupaebbaexlfahkehliymthicaepliynepnrupaebbbitaaebblukbaskklangtw body centered cubic aeltthis thi 882 C 1 620 F 9 khwamrxncaephaakhxngrupaebbaexlfacaephimkhunxyangrwderwemuxidrbkhwamrxnephuxsngphanradbkhwamrxnniaetcatklngaelaekuxbcakhngthiinrupaebbbitaodyimkhanungthungxunhphumi 9 swnrupaebboxemkathiephimkhunmacakhngxyuaelaesthiyrthangethxromidnamiksthikhwamdnsungkhlaykbesxrokheniymaelaaehfeniym aetcaxupesthiyr metastable thikhwamdnbrryakas rupaebbnipkticaepnruphkehliym xudmkhti hruxsamehliym bidebiyw khunsmbtithangekhmi aekikh sarprakxb aekikh karpraktkhun aekikh ixosothp aekikh dubthkhwamhlkthi ixosothpkhxngithetheniym ithetheniymthiekidkhuninthrrmchatimixyudwykn 5 ixosothpthiesthiyr idaek 46Ti 47Ti 48Ti 49Ti aela 50Ti sung 48Ti micanwnmakthisud 73 8 mi 11 ixosothpkmmntrngsi thiesthiyrthisud khux 44Ti sungmikhrungchiwit 63 pi 45Ti mikhrungchiwit 184 8 nathi 51Ti mikhrungchiwit 5 76 nathi aela 52Ti mikhrungchiwit 1 7 nathi thiehluxepnixosothpkmmntrngsithimikhrungchiwitnxykwa 33 winathiaelaswnihymikhrungchiwitnxykwa 0 5 winathi 7 ixosothpkhxngithetheniymminahnkxatxmxyuinchwng 39 99 u 40Ti thung 57 966 u 58Ti rupaebbkarslaykmmntrngsikhntnkxncaklayepnixosothpthiesthiyraelamicanwnmakthisud 48Ti khuxkarcbyudxielktrxnaelarupaebbkarslayhlngcaknnkhuxkarslayihxnuphakhbita phlitphnthcakkarslaykmmntrngsikhntnkxncaepn 48Ti khuxixosothpthatuthi 21 saeknediym aelaphlitphnthcakkarslaykmmntrngsihlngcaknnkhuxixosothpthatuthi 23 waenediym 7 xangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 Titanium Encyclopaedia Britannica 2006 subkhnemux 2006 12 29 Lide D R b k 2005 CRC Handbook of Chemistry and Physics 86th ed Boca Raton FL CRC Press ISBN 0 8493 0486 5 Krebs Robert E 2006 The History and Use of Our Earth s Chemical Elements A Reference Guide 2nd edition Westport CT Greenwood Press ISBN 0313334382 Matthew J Donachie Jr 1988 TITANIUM A Technical Guide Metals Park OH ASM International p 11 ISBN 0871703092 5 0 5 1 5 2 Barksdale 1968 p 738 6 0 6 1 Titanium Columbia Encyclopedia 6th ed New York Columbia University Press 2000 2006 ISBN 0 7876 5015 3 7 0 7 1 7 2 Barbalace Kenneth L 2006 Periodic Table of Elements Ti Titanium subkhnemux 2006 12 26 Matthew J Donachie Jr 1988 Titanium A Technical Guide Metals Park OH ASM International Appendix J Table J 2 ISBN 0871703092 9 0 9 1 9 2 Barksdale 1968 p 734 Barksdale Jelks 1968 Titanium in Clifford A Hampel editor b k The Encyclopedia of the Chemical Elements New York Reinhold Book Corporation pp 732 738 LCCN 68 29938 CS1 maint extra text editors list link Emsley John 2001 Titanium Nature s Building Blocks An A Z Guide to the Elements Oxford England UK Oxford University Press ISBN 0 19 850340 7 Flower Harvey M 2000 Materials Science A moving oxygen story Nature 407 6802 305 306 doi 10 1038 35030266 PMID 11014169 Greenwood N N 1997 Chemistry of the Elements 2nd ed Oxford Butterworth Heinemann ISBN 0 7506 3365 4 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help Winter Mark 2006 Chemistry Periodic table Titanium WebElements subkhnemux 2006 12 10 aehlngkhxmulxun aekikhTitanium Our Next Major Metal October 1950 Popular Science one of first general public detailed articles on Titanium A Cleaner Cheaper Route to Titanium International Titanium Association Metallurgy of Titanium and its Alloys Cambridge University World Production of Titanium Concentrates by Country Truth in Sparks Titanium or Plain Ol Steel Popular Science Magazine Metal of the gods wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb ithetheniymekhathungcak https th wikipedia org w index php title ithetheniym amp oldid 9444637, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม