fbpx
วิกิพีเดีย

ภาษาชูวัช

ภาษาชูวัช (ภาษาชูวัช: Чӑвашла, Čăvašla, สัทอักษร: [ʨəʋaʂ'la]; อาจสะกดเป็น Chăvash, Chuwash, Chovash, Chavash, Çuvaş หรือ Çuaş) เป็นภาษากลุ่มเตอร์กิก ใช้พูดในบริเวณเทือกเขายูรัลทางตอนกลางของรัสเซีย เป็นภาษาราชการของสาธารณรัฐชูวัชในประเทศรัสเซีย มีผู้พูดราว 2 ล้านคน เขียนด้วยอักษรซีริลลิก ภาษาที่มีอิทธิพลต่อภาษาชูวัชได้แก่ ภาษาตาตาร์ ภาษากลุ่มฟินโน-อูกริก ภาษารัสเซีย ภาษามารี ภาษามองโกเลีย ภาษาอาหรับ และภาษาเปอร์เซีย

ภาษาชูวัช
Чӑвашла, Čăvašla
ออกเสียง/ʨəʋaʂˈla/
ประเทศที่มีการพูดรัสเซีย
ภูมิภาคสาธารณรัฐชูวัช
จำนวนผู้พูด1,330,000 คน (2545)  (ไม่พบวันที่)
ตระกูลภาษา
เตอร์กิก
  • กลุ่มภาษาโอคูริก
    • ภาษาชูวัช
สถานภาพทางการ
ภาษาทางการสาธารณรัฐชูวัช (รัสเซีย)
รหัสภาษา
ISO 639-1cv
ISO 639-2chv
ISO 639-3chv

แต่โบราณ ภาษาชูวัชเขียนด้วยอักษรออร์คอน เปลี่ยนเป็นอักษรอาหรับเมื่อเข้ารับอิสลาม เมื่อถูกยึดครองโดยมองโกเลีย ระบบการเขียนได้หายไป อักษรแบบใหม่ถูกประดิษฐ์ขึ้นโดย อีวาน ยาคอฟเลวิช ยาคอฟเลฟ ใน พ.ศ. 2416 จน พ.ศ. 2481 จึงเปลี่ยนมาเขียนด้วยอักษรซีริลลิก

ประวัติ

ภาษาชูวัชเป็นภาษาแตกต่างจากภาษากลุ่มเตอร์กิกอื่นๆมากและไม่สามารถเข้าใจได้กับผู้พูดภาษากลุ่มเตอร์กิกอื่นๆคาดว่าภาษาแม่ของภาษานี้ที่ใช้พูดโดยชาวบุลการ์ในยุคกลางแตกต่างจากภาษากลุ่มเตอร์กิกสมัยใหม่อื่นๆและจัดเป็นภาษาพี่น้องของภาษาเตอร์กิกดั้งเดิมมากกว่าจะเป็นภาษาลูกหลาน ภาษาที่ใกล้เคียงที่สุดคือภาษาฮันนิกที่เป็นภาษาตายไปแล้ว ก่อนหน้านี้มีนักวิจารณ์เสนอว่าภาษาชูวัชไม่ใช่ภาษากลุ่มเตอร์กิกแต่เป็นกลุ่มภาษาฟินโน-ยูกริกที่ถูกทำให้เป็นแบบภาษากลุ่มเตอร์กิก

 
แสตมป์ของสหภาพโซเวียตแสดงภาพชาวชูวัช

ระบบการเขียน

ปัจจุบัน

Name IPA Translit. Notes
А а а แม่แบบ:IPAslink a
Ӑ ӑ ӑ แม่แบบ:IPAslink ă Reduced: may be แม่แบบ:IPAslink when unstressed, แม่แบบ:IPAslink when stressed.
Б б бӑ แม่แบบ:IPAslink b
В в вӑ แม่แบบ:IPAslink v
Г г гӑ แม่แบบ:IPAslink g
Д д дӑ แม่แบบ:IPAslink d
Е е е แม่แบบ:IPAslink e
Ё ё ё /แม่แบบ:IPAlinkแม่แบบ:IPAlink/ or /แม่แบบ:IPAlinkแม่แบบ:IPAlink/ yo, jo
Ӗ ӗ ӗ แม่แบบ:IPAslink ě Reduced: may be แม่แบบ:IPAslink when unstressed, แม่แบบ:IPAslink when stressed.
Ж ж жӑ แม่แบบ:IPAslink zh
З з зӑ แม่แบบ:IPAslink z
И и и แม่แบบ:IPAslink i
Й й йӑ แม่แบบ:IPAslink y, j
К к кӑ แม่แบบ:IPAslink k
Л л лӑ แม่แบบ:IPAslink l
М м мӑ แม่แบบ:IPAslink m
Н н нӑ แม่แบบ:IPAslink n
О о о แม่แบบ:IPAslink o May be แม่แบบ:IPAslink in loanwords from Russian
П п пӑ แม่แบบ:IPAslink p
Р р рӑ แม่แบบ:IPAslink r
С с сӑ แม่แบบ:IPAslink s
Ҫ ҫ ҫӑ แม่แบบ:IPAslink ś
Т т тӑ แม่แบบ:IPAslink t
У у у แม่แบบ:IPAslink u
Ӳ ӳ ӳ แม่แบบ:IPAslink ü
Ф ф фӑ แม่แบบ:IPAslink f
Х х хӑ แม่แบบ:IPAslink h
Ц ц цӑ แม่แบบ:IPAslink ts
Ч ч чӑ แม่แบบ:IPAslink č
Ш ш шӑ แม่แบบ:IPAslink š, sh
Щ щ щӑ แม่แบบ:IPAslink
/แม่แบบ:IPAlinkแม่แบบ:IPAlink/
ş, sh
šc, shch
Ъ ъ хытӑлӑхпалли ʺ Placed after a consonant, acts as a "silent back vowel"; puts a distinct แม่แบบ:IPAslink sound in front of the following iotified vowels with no palatalisation of the preceding consonant
Ы ы ы แม่แบบ:IPAslink ı, y
Ь ь ҫемҫелӗхпалли แม่แบบ:IPAslink ʹ Placed after a consonant, acts as a "silent front vowel", slightly palatalises the preceding consonant
Э э э แม่แบบ:IPAslink e
Ю ю ю /แม่แบบ:IPAlinkแม่แบบ:IPAlink/ or /ʲแม่แบบ:IPAlink/ yu
Я я я /แม่แบบ:IPAlinkแม่แบบ:IPAlink/ or /แม่แบบ:IPAlinkแม่แบบ:IPAlink/ ya

พ.ศ. 2416 - 2481

อักษรสำหรับภาษาชูวัชสมัยใหม่ปรับปรุงขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2416 โดยอีวาน ยาคอฟเลวิช ยาคอฟเลฟ

а е ы и/і у ӳ ӑ ӗ й в к л љ м н ԡ њ п р р́ с ҫ т т ̌ ђ х ш

ใน พ.ศ. 2481 จึงปรับเปลี่ยนมาสู่รูปแบบที่ใช้ในปัจจุบัน

ระบบก่อนหน้านี้

ระบบการเขียนที่เก่าแก่ที่สุดคืออักษรออร์คอนซึ่งหายสาบสูญไปเมื่อบริเวณนี้ได้รับอิทธิพลจากศาสนาอิสลามโดยหันมาใช้อักษรอาหรับแทน เมื่อชาวมองโกลรุกรานเข้ามา การเขียนจึงหยุดชะงักจนถึงสมัยซาร์ปีเตอร์มหาราช ชาวชูวัชต้องใช้ภาษารัสเซียในการศึกษา

สัทวิทยา

พยัญชนะ

พยัญชนะในภาษาชูวัชประกอบไปด้วย /p/ (п), /t/ (т), /k/ (к), /t͡ɕ/ (ч), /ʂ/ (ш), /ɕ/ (ҫ), /χ/ (х), /ʋ/ (в), /m/ (м), /n/ (н), /l/ (л), /r/ (р), /j/ (й)

สระ

Front Back
ไม่ห่อลิ้น ห่อลิ้น ไม่ห่อลิ้น ห่อลิ้น
สูง i ‹и› y ‹ӳ› ɯ ‹ы› u ‹у›
ต่ำ e ‹е› ø̆ ‹ӗ› а ‹а› ŏ ‹ӑ›

สำเนียง

ภาษาชูวัชมีสองสำเนียงคือสำเนียงวิรยัลหรือสำเนียงบน (มีเสียง o และ u) กับสำเนียงอนาตรีหรือสำเนียงล่าง (ไม่มีเสียง o ใช่เสียง u แทน) ภาษาเขียนขึ้นกับทั้งสำเนียงบนและสำเนียงล่าง ภาษาตาตาร์และกลุ่มภาษาฟินนิกมีอิทธิพลต่อภาษาชูวัชเช่นเดียวกับภาษารัสเซีย ภาษามารี ภาษามองโกเลีย ภาษาอาหรับและภาษาเปอร์เซีย

ไวยากรณ์

ภาษาชูวัชเป็นภาษารูปคำติดต่อ มีปัจจัยจำนวนมากแต่ไม่มีอุปสรรค คำคำหนึ่งอาจมีปัจจัยจำนวนมากและใช้ปัจจัยเพื่อสร้างคำใหม่ได้ หรือใช้เพื่อแสดงหน้าที่ทางไวยากรณ์ของคำคำนั้น

นามและคุณศัพท์

คำนามภาษาชูวัชจะมีการลงท้ายเพื่อบอกบุคคลและความเป็นเจ้าของ มีปัจจัยของนามทั้งสิ้น 6 การก

กริยา

คำกริยาของภาษาชูวัชแสดงบุคคล กาล มาลาและจุดมุ่งหมาย

การเปลี่ยนเสียงสระ

เป็นหลักการที่พบได้ทั่วไปในรากศัพท์ของภาษาชูวัช ภาษาชูวัชแบ่งสระเป็นสองแบบคือสระหน้าและสระหลัง การเปลี่ยนเสียงสระอยู่บนหลักการว่าในคำคำหนึ่งจะไม่มีทั้งสระหลังและสระหน้าอยู่ด้วยกัน

คำประสมถือว่าเป็นคำเอกเทศคำหนึ่งที่ต้องคำนึงถึงการเปลี่ยนเสียงสระ แต่จะไม่ใช้การเปลี่ยนเสียงสระกับคำยืมจากภาษาอื่น และมีคำดั้งเดิมในภาษาชูวัชบางคำไม่เป็นไปตามกฎการเปลี่ยนเสียงสระ

การเรียงคำ

เป็นแบบประธาน-กรรม-กริยา

ตัวเลข

  • 1 - pĕrre, per
  • 2 - ikkĕ, ik
  • 3 - vishshĕ, vish
  • 4 - tăvattă, tavat
  • 5 - pillĕk, pilek
  • 6 - ulttă, ulta
  • 7 - shichchĕ, shich
  • 8 - sakkăr, sakar
  • 9 - tăhhăr, tahar
  • 10 - vunnă, vun
  • 11 - vunpĕr
  • 12 - vunikkĕ
  • 13 - vunvishshĕ
  • 14 - vuntăvattă
  • 15 - vunpillĕk
  • 16 - vunulttă
  • 17 - vunshichchĕ
  • 18 - vunsakkăr
  • 19 - vuntăhhăr
  • 20 - shirĕm, sirem
  • 30 - vătăr, vatar
  • 40 - hĕrĕh, hereh
  • 50 - allă, alla
  • 60 - utmăl, utmal
  • 70 - shitmĕl, shitmel
  • 80 - sakărvunnă, sakarvun
  • 90 - tăhărvunnă, taharvun
  • 100 - shĕr, ser
  • 1000 - pin, pin

อ้างอิง

  1. Encyclopædia Britannica (1997)
  2. "Telegram to the Chairman of the Simbirsk Soviet". สืบค้นเมื่อ 30 August 2010.

ภาษาช, Чӑвашла, Čăvašla, ทอ, กษร, ʨəʋaʂ, อาจสะกดเป, chăvash, chuwash, chovash, chavash, çuvaş, หร, çuaş, เป, นภาษากล, มเตอร, ใช, ดในบร, เวณเท, อกเขาย, ลทางตอนกลางของร, สเซ, เป, นภาษาราชการของสาธารณร, ฐช, ชในประเทศร, สเซ, ดราว, านคน, เข, ยนด, วยอ, กษรซ, ลล, ภาษ. phasachuwch phasachuwch Chӑvashla Căvasla sthxksr ʨeʋaʂ la xacsakdepn Chăvash Chuwash Chovash Chavash Cuvas hrux Cuas epnphasaklumetxrkik ichphudinbriewnethuxkekhayurlthangtxnklangkhxngrsesiy epnphasarachkarkhxngsatharnrthchuwchinpraethsrsesiy miphuphudraw 2 lankhn ekhiyndwyxksrsirillik phasathimixiththiphltxphasachuwchidaek phasatatar phasaklumfinon xukrik phasarsesiy phasamari phasamxngokeliy phasaxahrb aelaphasaepxresiyphasachuwchChӑvashla Căvaslaxxkesiyng ʨeʋaʂˈla praethsthimikarphudrsesiyphumiphakhsatharnrthchuwchcanwnphuphud1 330 000 khn 2545 imphbwnthi trakulphasaetxrkik klumphasaoxkhurikphasachuwchsthanphaphthangkarphasathangkarsatharnrthchuwch rsesiy rhsphasaISO 639 1cvISO 639 2chvISO 639 3chvaetobran phasachuwchekhiyndwyxksrxxrkhxn epliynepnxksrxahrbemuxekharbxislam emuxthukyudkhrxngodymxngokeliy rabbkarekhiynidhayip xksraebbihmthukpradisthkhunody xiwan yakhxfelwich yakhxfelf in ph s 2416 cn ph s 2481 cungepliynmaekhiyndwyxksrsirillik enuxha 1 prawti 2 rabbkarekhiyn 2 1 pccubn 2 2 ph s 2416 2481 2 3 rabbkxnhnani 3 sthwithya 3 1 phyychna 3 2 sra 4 saeniyng 5 iwyakrn 5 1 namaelakhunsphth 5 2 kriya 5 3 karepliynesiyngsra 5 4 kareriyngkha 5 5 twelkh 6 xangxingprawti aekikhphasachuwchepnphasaaetktangcakphasaklumetxrkikxunmakaelaimsamarthekhaicidkbphuphudphasaklumetxrkikxunkhadwaphasaaemkhxngphasanithiichphudodychawbulkarinyukhklangaetktangcakphasaklumetxrkiksmyihmxunaelacdepnphasaphinxngkhxngphasaetxrkikdngedimmakkwacaepnphasalukhlan phasathiiklekhiyngthisudkhuxphasahnnikthiepnphasatayipaelw kxnhnaniminkwicarnesnxwaphasachuwchimichphasaklumetxrkikaetepnklumphasafinon yukrikthithukthaihepnaebbphasaklumetxrkik 1 aestmpkhxngshphaphosewiytaesdngphaphchawchuwchrabbkarekhiyn aekikhpccubn aekikh Name IPA Translit NotesA a a aemaebb IPAslink aӐ ӑ ӑ aemaebb IPAslink ă Reduced may be aemaebb IPAslink when unstressed aemaebb IPAslink when stressed B b bӑ aemaebb IPAslink bV v vӑ aemaebb IPAslink vG g gӑ aemaebb IPAslink gD d dӑ aemaebb IPAslink dE e e aemaebb IPAslink eYo yo yo aemaebb IPAlinkaemaebb IPAlink or aemaebb IPAlinkaemaebb IPAlink yo joӖ ӗ ӗ aemaebb IPAslink e Reduced may be aemaebb IPAslink when unstressed aemaebb IPAslink when stressed Zh zh zhӑ aemaebb IPAslink zhZ z zӑ aemaebb IPAslink zI i i aemaebb IPAslink iJ j jӑ aemaebb IPAslink y jK k kӑ aemaebb IPAslink kL l lӑ aemaebb IPAslink lM m mӑ aemaebb IPAslink mN n nӑ aemaebb IPAslink nO o o aemaebb IPAslink o May be aemaebb IPAslink in loanwords from RussianP p pӑ aemaebb IPAslink pR r rӑ aemaebb IPAslink rS s sӑ aemaebb IPAslink sҪ ҫ ҫӑ aemaebb IPAslink sT t tӑ aemaebb IPAslink tU u u aemaebb IPAslink uӲ ӳ ӳ aemaebb IPAslink uF f fӑ aemaebb IPAslink fH h hӑ aemaebb IPAslink hC c cӑ aemaebb IPAslink tsCh ch chӑ aemaebb IPAslink cSh sh shӑ aemaebb IPAslink s shSh sh shӑ aemaebb IPAslink aemaebb IPAlinkaemaebb IPAlink s shsc shch hytӑlӑhpalli ʺ Placed after a consonant acts as a silent back vowel puts a distinct aemaebb IPAslink sound in front of the following iotified vowels with no palatalisation of the preceding consonantY y y aemaebb IPAslink i y ҫemҫelӗhpalli aemaebb IPAslink ʹ Placed after a consonant acts as a silent front vowel slightly palatalises the preceding consonantE e e aemaebb IPAslink eYu yu yu aemaebb IPAlinkaemaebb IPAlink or ʲ aemaebb IPAlink yuYa ya ya aemaebb IPAlinkaemaebb IPAlink or aemaebb IPAlinkaemaebb IPAlink yaph s 2416 2481 aekikh xksrsahrbphasachuwchsmyihmprbprungkhunemux ph s 2416 odyxiwan yakhxfelwich yakhxfelf 2 a e y i i u ӳ ӑ ӗ j v k l љ m n ԡ њ p r r s ҫ t t ђ h shin ph s 2481 cungprbepliynmasurupaebbthiichinpccubn rabbkxnhnani aekikh rabbkarekhiynthiekaaekthisudkhuxxksrxxrkhxnsunghaysabsuyipemuxbriewnniidrbxiththiphlcaksasnaxislamodyhnmaichxksrxahrbaethn emuxchawmxngoklrukranekhama karekhiyncunghyudchangkcnthungsmysarpietxrmharach chawchuwchtxngichphasarsesiyinkarsuksasthwithya aekikhphyychna aekikh phyychnainphasachuwchprakxbipdwy p p t t k k t ɕ ch ʂ sh ɕ ҫ x h ʋ v m m n n l l r r j j sra aekikh Front Backimhxlin hxlin imhxlin hxlinsung i i y ӳ ɯ y u u ta e e o ӗ a a ŏ ӑ saeniyng aekikhphasachuwchmisxngsaeniyngkhuxsaeniyngwirylhruxsaeniyngbn miesiyng o aela u kbsaeniyngxnatrihruxsaeniynglang immiesiyng o ichesiyng u aethn phasaekhiynkhunkbthngsaeniyngbnaelasaeniynglang phasatataraelaklumphasafinnikmixiththiphltxphasachuwchechnediywkbphasarsesiy phasamari phasamxngokeliy phasaxahrbaelaphasaepxresiyiwyakrn aekikhphasachuwchepnphasarupkhatidtx mipccycanwnmakaetimmixupsrrkh khakhahnungxacmipccycanwnmakaelaichpccyephuxsrangkhaihmid hruxichephuxaesdnghnathithangiwyakrnkhxngkhakhann namaelakhunsphth aekikh khanamphasachuwchcamikarlngthayephuxbxkbukhkhlaelakhwamepnecakhxng mipccykhxngnamthngsin 6 kark kriya aekikh khakriyakhxngphasachuwchaesdngbukhkhl kal malaaelacudmunghmay karepliynesiyngsra aekikh epnhlkkarthiphbidthwipinraksphthkhxngphasachuwch phasachuwchaebngsraepnsxngaebbkhuxsrahnaaelasrahlng karepliynesiyngsraxyubnhlkkarwainkhakhahnungcaimmithngsrahlngaelasrahnaxyudwyknkhaprasmthuxwaepnkhaexkethskhahnungthitxngkhanungthungkarepliynesiyngsra aetcaimichkarepliynesiyngsrakbkhayumcakphasaxun aelamikhadngediminphasachuwchbangkhaimepniptamkdkarepliynesiyngsra kareriyngkha aekikh epnaebbprathan krrm kriya twelkh aekikh 1 pĕrre per 2 ikkĕ ik 3 vishshĕ vish 4 tăvattă tavat 5 pillĕk pilek 6 ulttă ulta 7 shichchĕ shich 8 sakkăr sakar 9 tăhhăr tahar 10 vunnă vun 11 vunpĕr 12 vunikkĕ 13 vunvishshĕ 14 vuntăvattă 15 vunpillĕk 16 vunulttă 17 vunshichchĕ 18 vunsakkăr 19 vuntăhhăr 20 shirĕm sirem 30 vătăr vatar 40 hĕrĕh hereh 50 allă alla 60 utmăl utmal 70 shitmĕl shitmel 80 sakărvunnă sakarvun 90 tăhărvunnă taharvun 100 shĕr ser 1000 pin pinxangxing aekikh Encyclopaedia Britannica 1997 Telegram to the Chairman of the Simbirsk Soviet subkhnemux 30 August 2010 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title phasachuwch amp oldid 8741957, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม