fbpx
วิกิพีเดีย

งานศึกษาตามขวาง

ในงานวิจัยทางการแพทย์และสังคมศาสตร์ งานศึกษาตามขวาง หรือ งานศึกษาแบบตัดขวาง หรือ งานวิเคราะห์ตามขวาง (อังกฤษ: cross-sectional study, cross-sectional analysis, transversal study, prevalence study) เป็นการศึกษาแบบสังเกตประเภทหนึ่งที่วิเคราะห์ข้อมูลของประชากร หรือของกลุ่มตัวแทนประชากร ที่เวลาใดเวลาหนึ่ง (คือวิเคราะห์ cross-sectional data)

ในสาขาเศรษฐศาสตร์ งานประเภทนี้มักจะใช้วิธีวิเคราะห์ทางสถิติแบบ cross-sectional regression เพื่อตรวจสอบตัวแปรอิสระ (independent variable) หนึ่งตัวหรือมากกว่านั้น ว่าเป็นเหตุของตัวแปรตาม (dependent variable) คือผลหรือไม่ และเหตุนั้นมีอิทธิพลต่อผลขนาดไหน ที่เวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งต่างจากการวิเคราะห์แบบ time series analysis ซึ่งติดตามดูความเป็นไปของข้อมูลรวม (aggregate data) อย่างน้อยหนึ่งตัว เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่ง

ในงานวิจัยทางการแพทย์ งานประเภทนี้ต่างจากงานศึกษามีกลุ่มควบคุม (case-control studies) โดยที่งานประเภทนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อหาข้อมูลที่เป็นประเด็นศึกษา ของประชากรทั้งกลุ่ม เทียบกับงานศึกษามีกลุ่มควบคุม ที่มักจะศึกษากลุ่มบุคคลที่มีลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่ง ซึ่งจะเป็นแต่ชนกลุ่มน้อยในประชากรทั้งหมด

งานประเภทนี้เป็นงานเชิงพรรณนา (descriptive) ไม่ใช่งานตามยาว (longitudinal) ไม่ใช่งานเชิงทดลอง (experimental) เป็นงานที่สามารถให้ข้อมูลเกี่ยวกับ odds ratio, ความเสี่ยงสัมบูรณ์ (absolute risk), และความเสี่ยงสัมพัทธ์ (relative risk) จากความชุกของโรค (prevalence) เป็นงานที่สามารถให้ข้อมูลบางอย่างเกี่ยวกับกลุ่มประชากร เช่น ความชุกของโรค หรือแม้แต่ให้หลักฐานเบื้องต้น ในการอนุมานความสัมพันธ์ระหว่างเหตุกับผล เป็นงานที่ต่างจากงานศึกษาตามยาว (longitudinal studies) เพราะงานตามยาวตรวจสอบข้อมูลจากลุ่มประชากรมากกว่าครั้งเดียว เป็นระยะ ๆ เป็นช่วงระยะเวลาหนึ่ง

เชิงอรรถและอ้างอิง

  1. "ศัพท์บัญญัติอังกฤษ-ไทย, ไทย-อังกฤษ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (คอมพิวเตอร์) รุ่น ๑.๑", ให้ความหมายของ cross sectional analysis ว่า "การวิเคราะห์ตามขวาง" และของ cross-sectional study ว่า "วิธีศึกษาแบบตัดขวาง"
  2. Schmidt, CO; Kohlmann, T (2008). "When to use the odds ratio or the relative risk?". International journal of public health. 53 (3): 165–167. doi:10.1007/s000-00-7068-3. PMID 19127890.
  3. Lee, James (1994). "Odds Ratio or Relative Risk for Cross-Sectional Data?". International Journal of Epidemiology. 23 (1): 201–3. doi:10.1093/ije/23.1.201. PMID 8194918.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Epidemiology for the Uninitiated by Coggon, Rose, and Barker, Chapter 8, "Case-control and cross-sectional studies", BMJ (British Medical Journal) Publishing, 1997
  • Research Methods Knowledge Base by William M. K. Trochim, Web Center for Social Research Methods, copyright 2006
  • Cross-Sectional Design by Michelle A. Saint-Germain
  • Study Design Tutorial Cornell University College of Veterinary Medicine

งานศ, กษาตามขวาง, ในงานว, ยทางการแพทย, และส, งคมศาสตร, หร, งานศ, กษาแบบต, ดขวาง, หร, งานว, เคราะห, ตามขวาง, งกฤษ, cross, sectional, study, cross, sectional, analysis, transversal, study, prevalence, study, เป, นการศ, กษาแบบส, งเกตประเภทหน, งท, เคราะห, อม, ลของ. innganwicythangkaraephthyaelasngkhmsastr ngansuksatamkhwang 1 hrux ngansuksaaebbtdkhwang 1 hrux nganwiekhraahtamkhwang 1 xngkvs cross sectional study cross sectional analysis transversal study prevalence study epnkarsuksaaebbsngektpraephthhnungthiwiekhraahkhxmulkhxngprachakr hruxkhxngklumtwaethnprachakr thiewlaidewlahnung khuxwiekhraah cross sectional data insakhaesrsthsastr nganpraephthnimkcaichwithiwiekhraahthangsthitiaebb cross sectional regression ephuxtrwcsxbtwaeprxisra independent variable hnungtwhruxmakkwann waepnehtukhxngtwaeprtam dependent variable khuxphlhruxim aelaehtunnmixiththiphltxphlkhnadihn thiewlaidewlahnung sungtangcakkarwiekhraahaebb time series analysis sungtidtamdukhwamepnipkhxngkhxmulrwm aggregate data xyangnxyhnungtw epnchwngrayaewlahnunginnganwicythangkaraephthy nganpraephthnitangcakngansuksamiklumkhwbkhum case control studies odythinganpraephthnimicudmunghmayephuxhakhxmulthiepnpraednsuksa khxngprachakrthngklum ethiybkbngansuksamiklumkhwbkhum thimkcasuksaklumbukhkhlthimilksnaechphaaxyanghnung sungcaepnaetchnklumnxyinprachakrthnghmdnganpraephthniepnnganechingphrrnna descriptive imichngantamyaw longitudinal imichnganechingthdlxng experimental epnnganthisamarthihkhxmulekiywkb odds ratio khwamesiyngsmburn absolute risk aelakhwamesiyngsmphthth relative risk cakkhwamchukkhxngorkh prevalence 2 3 epnnganthisamarthihkhxmulbangxyangekiywkbklumprachakr echn khwamchukkhxngorkh hruxaemaetihhlkthanebuxngtn inkarxnumankhwamsmphnthrahwangehtukbphl epnnganthitangcakngansuksatamyaw longitudinal studies ephraangantamyawtrwcsxbkhxmulcaklumprachakrmakkwakhrngediyw epnraya epnchwngrayaewlahnungechingxrrthaelaxangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 sphthbyytixngkvs ithy ithy xngkvs chbbrachbnthitysthan khxmphiwetxr run 1 1 ihkhwamhmaykhxng cross sectional analysis wa karwiekhraahtamkhwang aelakhxng cross sectional study wa withisuksaaebbtdkhwang Schmidt CO Kohlmann T 2008 When to use the odds ratio or the relative risk International journal of public health 53 3 165 167 doi 10 1007 s000 00 7068 3 PMID 19127890 Lee James 1994 Odds Ratio or Relative Risk for Cross Sectional Data International Journal of Epidemiology 23 1 201 3 doi 10 1093 ije 23 1 201 PMID 8194918 aehlngkhxmulxun aekikhEpidemiology for the Uninitiated by Coggon Rose and Barker Chapter 8 Case control and cross sectional studies BMJ British Medical Journal Publishing 1997 Research Methods Knowledge Base by William M K Trochim Web Center for Social Research Methods copyright 2006 Cross Sectional Design by Michelle A Saint Germain Study Design Tutorial Cornell University College of Veterinary Medicine bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title ngansuksatamkhwang amp oldid 6096752, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม