fbpx
วิกิพีเดีย

ออกซิเจน

ออกซิเจน (อังกฤษ: Oxygen) เป็นธาตุในตารางธาตุที่มีสัญลักษณ์ O และเลขอะตอม 8 ธาตุนี้พบมาก ทั้งบนโลกและทั่วทั้งจักรวาล โมเลกุลออกซิเจน (O2 หรือที่มักเรียกว่า free oxygen) บนโลกมีความไม่เสถียรทางเทอร์โมไดนามิกส์จึงเกิดปฏิกิริยาออกซิเดชันกับธาตุอื่น ๆ ได้ง่าย ออกซิเจนเกิดขึ้นครั้งแรกในโลกจากการสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรียและพืช

ออกซิเจน
8O
-

O

S
ไนโตรเจนออกซิเจนฟลูออรีน
ออกซิเจนในตารางธาตุ
ลักษณะปรากฏ
เป็นแก๊สไม่มีสี เมื่ออยู่ในสถานะของเหลวจะมีสีฟ้า

เส้นสเปคตรัมของออกซิเจน
คุณสมบัติทั่วไป
ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอม ออกซิเจน, O, 8
การออกเสียง /ˈɒksɪən/ ok-si-jən
อนุกรมเคมี อโลหะวาเลนซ์เดียว, แชลโคเจน
หมู่ คาบและบล็อก 16 (แชลโคเจน), 2, p
มวลอะตอมมาตรฐาน 15.999(4)
การจัดเรียงอิเล็กตรอน [He] 2s2 2p4
2, 6
ประวัติ
การค้นพบ คาร์ล วิลเฮล์ม เชเลอ (1771)
ตั้งชื่อโดย อ็องตวน ลาวัวซีเย (1777)
คุณสมบัติกายภาพ
สถานะ แก๊ส
ความหนาแน่น (0 °C, 101.325 kPa)
1.429 g/L
ความหนาแน่นของเหลวที่จุดเดือด 1.141 g·cm−3
จุดหลอมเหลว 54.36 K, -218.79 °C, -361.82 °F
จุดเดือด 90.188 K, -182.962 °C, -297.332 °F
จุดร่วมสาม 54.361 K, 0.1463 kPa
จุดวิกฤต 154.581 K, 5.043 MPa
ความร้อนของการหลอมเหลว (O2) 0.444 kJ·mol−1
ความร้อนของการกลายเป็นไอ (O2) 6.82 kJ·mol−1
ความจุความร้อนโมลาร์ (O2)
29.378 J·mol−1·K−1
ความดันไอ
P (Pa) 1 10 100 1 k 10 k 100 k
ที่ T (K)       61 73 90
คุณสมบัติอะตอม
สถานะออกซิเดชัน 2, 1, −1, −2
อิเล็กโตรเนกาติวิตี 3.44 (Pauling scale)
พลังงานไอออไนเซชัน ค่าที่ 1: 1313.9 kJ·mol−1
ค่าที่ 2: 3388.3 kJ·mol−1
ค่าที่ 3: 5300.5 kJ·mol−1
รัศมีอะตอม (คำนวณ) 48 pm
รัศมีโควาเลนต์ 66±2 pm
รัศมีวานเดอร์วาลส์ 152 pm
จิปาถะ
โครงสร้างผลึก รูปลูกบาศก์

ความเป็นแม่เหล็ก พาราแมกเนติก
สภาพนำความร้อน 26.58x10-3  W·m−1·K−1
ความเร็วเสียง (แก๊ส, 27 °C) 330 m·s−1
เลขทะเบียน CAS 7782-44-7
ไอโซโทปเสถียรที่สุด
บทความหลัก: ไอโซโทปของออกซิเจน
อ้างอิง

ประวัติ

การทดลองในยุคแรก

ในช่วงปลายศตวรรษที่ 17 โรเบิร์ต บอยล์ ได้พิสูจน์ว่าออกซิเจนเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการเผาไหม้ โดยนักเคมีชาวอังกฤษ จอห์น มาร์โยว์ (1541-1679) ได้ปรับปรุงการทดลองนี้โดยผลการทดลองพบว่า ไฟต้องการอากาศเพียงบางส่วนเท่านั้น ซึ่งเรียกว่า ไนโตรออเรียส (อังกฤษ: nitroaereus)ซึ่งในการทดลองหนึ่ง เขาพบว่าออกซิเจนแทรกเข้าไปในภาชนะปิดบนน้ำ ที่มีหนูและเทียนไขอยู่ในภาชนะดังกล่าว ทำให้ระดับน้ำสูงขึ้น และแทนที่ 1 ใน 4 ของปริมาตรอากาศก่อนดับเทียนซึ่งจากการทดลองดังกล่าว สันนิษฐานได้ว่า ไนโตรออเรียสถูกใช้ในกระบวนการหายใจ และการเผาไหม้

มาร์โยว์พบว่า น้ำหนักของพลวงจะเพิ่มขึ้นเมื่อให้ความร้อน และอนุมานได้ว่า ไนโตรออเรียสต้องการรวมตัวกับสารดังกล่าวซึ่งเขาคิดว่า ปอดสามารถแยกไนโตรออเรียสจากอากาศ และเข้าสู่เลือด อีกทั้งมีผลต่อความอบอุ่นของสัตว์และการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ โดยเป็นผลจากปฏิกิริยาของไนโตรออเรียสกับสารบางชนิดในร่างกายซึ่งรายงานการทดลองเหล่านี้ และแนวคิดดังกล่าวได้รับการตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1668 เรื่อง "แทรคทาทุส ดูโอ" (อังกฤษ: Tractatus duo) ในหนังสือ "ดี เรสไพราติโอน" (อังกฤษ: De respiratione)

แหล่งกำเนิด

ออกซิเจน เป็นส่วนประกอบที่สำคัญและมีปริมาณเป็นอันดับ 2 ในส่วนประกอบของบรรยากาศโลกคือมีประมาณ 20.947% โดยปริมาตร

สารประกอบออกซิเจน

เนื่องด้วยค่า อิเล็กโตรเนกาติวิตี ของออกซิเจน จะเกิด พันธะเคมี กับธาตุอื่น ๆ ได้เกือบหมด (และนี่คือจุดเริ่มต้นของคำจำกัดความว่า ออกซิเดชัน) มีเพียงก๊าซมีตระกูลเท่านั้นที่หนีรอดจากปฏิกิริยาออกซิเดชันไปได้ และออกไซด์ที่มีชื่อเสียงที่สุดก็คือ ไดไฮโดรเจนโมโนออกไซด์ หรือ น้ำ (H2O).

สารประกอบออกซิเจนกับธาตุต่างๆ

การใช้

ทางการแพทย์

ดูบทความหลักที่: การรักษาด้วยออกซิเจน

ใช้ทางการแพทย์เมื่อผู้ป่วยมีออกซิเจนไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตทำให้ต้องหยิบเครื่องช่วยหายใจมาช่วยผู้ป่วย

ดูเพิ่ม

  • การทดสอบของวิงเคลอร์เพื่อหาออกซิเจนที่ละลายในน้ำ เป็นคำแนะนำเกี่ยวกับวิธีการตรวจสอบปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ำจืด
  • การเผาไหม้
  • ออกซิเดชัน
  • ความหายนะของออกซิเจนในทางธรณีวิทยา
  • พืชออกซิเจน
  • เครื่องตรวจจับออกซิเจน
  • สารประกอบออกซิเจน
  • เนบิวเลียม
  • การสูญเสียออกซิเจนในระบบนิเวศของน้ำ
  • ชั้นโอโซน

อ้างอิง

  1. Britannica contributors (1911). "John Mayow". Encyclopaedia Britannica (11th ed.). สืบค้นเมื่อ December 16, 2007.
  2. World of Chemistry contributors (2005). "John Mayow". World of Chemistry. Thomson Gale. ISBN 0-669-32727-1. สืบค้นเมื่อ December 16, 2007.
  • Los Alamos National Laboratory - Oxygen
  • Nist atomic spectra database
  • Nuclides and Isotopes Fourteenth Edition: Chart of the Nuclides, General Electric Company, 1989

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Priestley Society, Dedicated to Joseph Priestley the man who discovered oxygen
  • Joseph Priestley Information Website, about the man who discovered oxygen
  • Los Alamos National Laboratory - Oxygen
  • WebElements.com - Oxygen
  • It's Elemental - Oxygen
  • Oxygen Toxicity
  • Oxygen (O2) Properties, Uses, Applications
  • Computational Chemistry Wiki

ออกซ, เจน, งกฤษ, oxygen, เป, นธาต, ในตารางธาต, ญล, กษณ, และเลขอะตอม, ธาต, พบมาก, งบนโลกและท, วท, งจ, กรวาล, โมเลก, หร, อท, กเร, ยกว, free, oxygen, บนโลกม, ความไม, เสถ, ยรทางเทอร, โมไดนาม, กส, งเก, ดปฏ, ยาออกซ, เดช, นก, บธาต, ได, าย, เก, ดข, นคร, งแรกในโลกจากกา. xxksiecn xngkvs Oxygen epnthatuintarangthatuthimisylksn O aelaelkhxatxm 8 thatuniphbmak thngbnolkaelathwthngckrwal omelkulxxksiecn O2 hruxthimkeriykwa free oxygen bnolkmikhwamimesthiyrthangethxromidnamikscungekidptikiriyaxxksiedchnkbthatuxun idngay xxksiecnekidkhunkhrngaerkinolkcakkarsngekhraahdwyaesngkhxngaebkhthieriyaelaphuchxxksiecn8O O Sinotrecn xxksiecn fluxxrinxxksiecnintarangthatulksnapraktepnaeksimmisi emuxxyuinsthanakhxngehlwcamisifaesnsepkhtrmkhxngxxksiecnkhunsmbtithwipchux sylksn aelaelkhxatxm xxksiecn O 8karxxkesiyng ˈ ɒ k s ɪ dʒ e n ok si jenxnukrmekhmi xolhawaelnsediyw aechlokhecnhmu khabaelablxk 16 aechlokhecn 2 pmwlxatxmmatrthan 15 999 4 karcderiyngxielktrxn He 2s2 2p42 6prawtikarkhnphb kharl wilehlm echelx 1771 tngchuxody xxngtwn lawwsiey 1777 khunsmbtikayphaphsthana aekskhwamhnaaenn 0 C 101 325 kPa 1 429 g Lkhwamhnaaennkhxngehlwthicudeduxd 1 141 g cm 3cudhlxmehlw 54 36 K 218 79 C 361 82 Fcudeduxd 90 188 K 182 962 C 297 332 Fcudrwmsam 54 361 K 0 1463 kPacudwikvt 154 581 K 5 043 MPakhwamrxnkhxngkarhlxmehlw O2 0 444 kJ mol 1khwamrxnkhxngkarklayepnix O2 6 82 kJ mol 1khwamcukhwamrxnomlar O2 29 378 J mol 1 K 1khwamdnixP Pa 1 10 100 1 k 10 k 100 kthi T K 61 73 90khunsmbtixatxmsthanaxxksiedchn 2 1 1 2xielkotrenkatiwiti 3 44 Pauling scale phlngnganixxxineschn khathi 1 1313 9 kJ mol 1khathi 2 3388 3 kJ mol 1khathi 3 5300 5 kJ mol 1rsmixatxm khanwn 48 pmrsmiokhwaelnt 66 2 pmrsmiwanedxrwals 152 pmcipathaokhrngsrangphluk ruplukbaskkhwamepnaemehlk pharaaemkentiksphaphnakhwamrxn 26 58x10 3 W m 1 K 1khwamerwesiyng aeks 27 C 330 m s 1elkhthaebiyn CAS 7782 44 7ixosothpesthiyrthisudbthkhwamhlk ixosothpkhxngxxksiecnixosothp NA khrungchiwit DM DE MeV DP16O 99 76 O esthiyr odymi 8 niwtrxn17O 0 039 O esthiyr odymi 9 niwtrxn18O 0 201 O esthiyr odymi 10 niwtrxndkhkxangxing enuxha 1 prawti 1 1 karthdlxnginyukhaerk 2 aehlngkaenid 3 sarprakxbxxksiecn 4 karich 4 1 thangkaraephthy 5 duephim 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunprawti aekikhkarthdlxnginyukhaerk aekikh inchwngplaystwrrsthi 17 orebirt bxyl idphisucnwaxxksiecnepnsingcaepnsahrbkarephaihm odynkekhmichawxngkvs cxhn maroyw 1541 1679 idprbprungkarthdlxngniodyphlkarthdlxngphbwa iftxngkarxakasephiyngbangswnethann sungeriykwa inotrxxeriys xngkvs nitroaereus 1 sunginkarthdlxnghnung ekhaphbwaxxksiecnaethrkekhaipinphachnapidbnna thimihnuaelaethiynikhxyuinphachnadngklaw thaihradbnasungkhun aelaaethnthi 1 in 4 khxngprimatrxakaskxndbethiyn 2 sungcakkarthdlxngdngklaw snnisthanidwa inotrxxeriysthukichinkrabwnkarhayic aelakarephaihmmaroywphbwa nahnkkhxngphlwngcaephimkhunemuxihkhwamrxn aelaxnumanidwa inotrxxeriystxngkarrwmtwkbsardngklaw 1 sungekhakhidwa pxdsamarthaeykinotrxxeriyscakxakas aelaekhasueluxd xikthngmiphltxkhwamxbxunkhxngstwaelakarekhluxnihwkhxngklamenux odyepnphlcakptikiriyakhxnginotrxxeriyskbsarbangchnidinrangkay 1 sungrayngankarthdlxngehlani aelaaenwkhiddngklawidrbkartiphimphinpi kh s 1668 eruxng aethrkhthathus duox xngkvs Tractatus duo inhnngsux di ersiphratioxn xngkvs De respiratione 2 aehlngkaenid aekikhxxksiecn epnswnprakxbthisakhyaelamiprimanepnxndb 2 inswnprakxbkhxngbrryakasolkkhuxmipraman 20 947 odyprimatrsarprakxbxxksiecn aekikhenuxngdwykha xielkotrenkatiwiti khxngxxksiecn caekid phnthaekhmi kbthatuxun idekuxbhmd aelanikhuxcuderimtnkhxngkhacakdkhwamwa xxksiedchn miephiyngkasmitrakulethannthihnirxdcakptikiriyaxxksiedchnipid aelaxxkisdthimichuxesiyngthisudkkhux idihodrecnomonxxkisd hrux na H2O sarprakxbxxksiecnkbthatutang na Water H2O ihodrecnephxrxxkisd hydrogen peroxide H2O2 snim iron oxide Fe2O3 kharbxnidxxkisd carbon dioxide CO2 aexlkxhxl alcohol R OH xldiihd aldehyde R CHO krdkharbxksilik carboxylic acid R COOH siliekt SI1O1 khlxert chlorate ClO3 epxrkhlxert perchlorate ClO4 okhremt chromate CrO42 idokhremt dichromate Cr2O72 epxraemngkaent permanganate MnO4 and inetrt nitrate NO3 epnxxksiidsingexecntxyangaerng oxosn Ozone O3 ekidkhunodykarpldplxyiffasthitthixyuinomelkulkhxngxxksiecn 2 omelkulkhxngxxksiecn O2 2 sungphbinswnprakxbyxykhxngxxksiecnehlw xipxkisd Epoxide epn xiethxr sungxxksiecnxatxmepnswnhnungkhxngwngaehwn 3 xatxm sarkhxpepxrsleft CUSO4 karich aekikhthangkaraephthy aekikh dubthkhwamhlkthi karrksadwyxxksiecnichthangkaraephthyemuxphupwymixxksiecnimephiyngphxtxkardarngchiwitthaihtxnghyibekhruxngchwyhayicmachwyphupwyduephim aekikhkarthdsxbkhxngwingekhlxrephuxhaxxksiecnthilalayinna epnkhaaenanaekiywkbwithikartrwcsxbprimanxxksiecnthilalayinnacud karephaihm xxksiedchn khwamhaynakhxngxxksiecninthangthrniwithya phuchxxksiecn ekhruxngtrwccbxxksiecn sarprakxbxxksiecn enbiweliym karsuyesiyxxksiecninrabbniewskhxngna chnoxosnxangxing aekikh 1 0 1 1 1 2 Britannica contributors 1911 John Mayow Encyclopaedia Britannica 11th ed subkhnemux December 16 2007 2 0 2 1 World of Chemistry contributors 2005 John Mayow World of Chemistry Thomson Gale ISBN 0 669 32727 1 subkhnemux December 16 2007 Los Alamos National Laboratory Oxygen Nist atomic spectra database Nuclides and Isotopes Fourteenth Edition Chart of the Nuclides General Electric Company 1989aehlngkhxmulxun aekikhPriestley Society Dedicated to Joseph Priestley the man who discovered oxygen Joseph Priestley Information Website about the man who discovered oxygen Los Alamos National Laboratory Oxygen WebElements com Oxygen It s Elemental Oxygen Oxygen Toxicity Oxygen O2 Properties Uses Applications Computational Chemistry Wikikhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb xxksiecn bthkhwamekiywkbekhminiyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy ekhmiekhathungcak https th wikipedia org w index php title xxksiecn amp oldid 9120286, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม