fbpx
วิกิพีเดีย

กฎของเลขจำนวนเต็ม

กฎของเลขจำนวนเต็ม กล่าวว่า มวลของธาตุจะเท่ากับเลขจำนวนเต็มคูณกับมวลของอะตอมไฮโดรเจน กฎนี้สร้างขึ้นจากสมมุติฐานของเพราท์ในปี ค.ศ. 1815 ปี ค.ศ. 1920 ฟรานซิส ดับเบิลยู. แอสตัน สาธิตให้เห็นจากการใช้เครื่องวัดมวลว่าความเบี่ยงเบนไปจากกฎนั้นเกิดขึ้นโดยมีเหตุหลักมาจากไอโซโทป ซึ่งเป็นรองพลังงานยึดเหนี่ยว ทำให้เกิดเหตุการณ์มวลพร่อง สำหรับรูปแบบปัจจุบันของกฎเลขจำนวนเต็มคือ มวลอะตอมของไอโซโทปของธาตุหนึ่งๆ มีค่าประมาณเท่ากับเลขมวล (จำนวนโปรตอนบวกนิวตรอน) คูณกับหน่วยมวลอะตอม (มีค่าประมาณเท่ากับมวลของอะตอมโปรตอน, นิวตรอน, หรือไฮโดรเจน-1 1 หน่วย) กฎนี้ทำนายมวลอะตอมของนิวไคลด์และไอโซโทปจำนวนมากได้ในระดับความแม่นยำสูงกว่า 99%

อ้างอิง

  1. Budzikiewicz H, Grigsby RD (2006). "Mass spectrometry and isotopes: a century of research and discussion". Mass spectrometry reviews. 25 (1): 146–57. doi:10.1002/mas.20061. PMID 16134128.
  2. Prout, William (1815). "On the relation between the specific gravities of bodies in their gaseous state and the weights of their atoms". Annals of Philosophy. 6: 321–330. สืบค้นเมื่อ 2007-09-08.
  3. Aston, Francis W. (1920). "The constitution of atmospheric neon". Philosophical Magazine. 39 (6): 449–455.

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

  • Harkins WD (1925). "The Separation of Chlorine into Isotopes (Isotopic Elements) and the Whole Number Rule for Atomic Weights". Proc. Natl. Acad. Sci. U.S.A. 11 (10): 624–8. Bibcode:1925PNAS...11..624H. doi:10.1073/pnas.11.10.624. PMC 1086175. PMID 16587053.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • 1922 Nobel Prize Presentation Speech

กฎของเลขจำนวนเต, กล, าวว, มวลของธาต, จะเท, าก, บเลขจำนวนเต, มค, ณก, บมวลของอะตอมไฮโดรเจน, กฎน, สร, างข, นจากสมม, ฐานของเพราท, ในป, 1815, 1920, ฟรานซ, บเบ, ลย, แอสต, สาธ, ตให, เห, นจากการใช, เคร, องว, ดมวลว, าความเบ, ยงเบนไปจากกฎน, นเก, ดข, นโดยม, เหต, หล, กมาจ. kdkhxngelkhcanwnetm klawwa mwlkhxngthatucaethakbelkhcanwnetmkhunkbmwlkhxngxatxmihodrecn 1 kdnisrangkhuncaksmmutithankhxngephrathinpi kh s 1815 2 pi kh s 1920 fransis dbebilyu aexstn sathitihehncakkarichekhruxngwdmwlwakhwamebiyngebnipcakkdnnekidkhunodymiehtuhlkmacakixosothp 3 sungepnrxngphlngnganyudehniyw thaihekidehtukarnmwlphrxng sahrbrupaebbpccubnkhxngkdelkhcanwnetmkhux mwlxatxmkhxngixosothpkhxngthatuhnung mikhapramanethakbelkhmwl canwnoprtxnbwkniwtrxn khunkbhnwymwlxatxm mikhapramanethakbmwlkhxngxatxmoprtxn niwtrxn hruxihodrecn 1 1 hnwy kdnithanaymwlxatxmkhxngniwikhldaelaixosothpcanwnmakidinradbkhwamaemnyasungkwa 99 xangxing aekikh Budzikiewicz H Grigsby RD 2006 Mass spectrometry and isotopes a century of research and discussion Mass spectrometry reviews 25 1 146 57 doi 10 1002 mas 20061 PMID 16134128 Prout William 1815 On the relation between the specific gravities of bodies in their gaseous state and the weights of their atoms Annals of Philosophy 6 321 330 subkhnemux 2007 09 08 Aston Francis W 1920 The constitution of atmospheric neon Philosophical Magazine 39 6 449 455 hnngsuxxanephimetim aekikhHarkins WD 1925 The Separation of Chlorine into Isotopes Isotopic Elements and the Whole Number Rule for Atomic Weights Proc Natl Acad Sci U S A 11 10 624 8 Bibcode 1925PNAS 11 624H doi 10 1073 pnas 11 10 624 PMC 1086175 PMID 16587053 aehlngkhxmulxun aekikh1922 Nobel Prize Presentation Speech ekhathungcak https th wikipedia org w index php title kdkhxngelkhcanwnetm amp oldid 4697741, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม