fbpx
วิกิพีเดีย

กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด

กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (อังกฤษ: Myocardial infarction; MI) หรือรู้จักกันว่า อาการหัวใจล้ม (heart attack) เกิดเมื่อเลือดไหลสู่ส่วนใดส่วนหนึ่งของหัวใจลดลงหรือหยุดไหล ทำให้เกิดความเสียหายต่อกล้ามเนื้อหัวใจ อาการที่พบมากที่สุด คือ เจ็บอกหรือแน่นหน้าอกซึ่งอาจร้าวไปไหล่ แขน หลัง คอหรือกราม บ่อยครั้งเจ็บบริเวณกลางอกหรืออกด้านซ้ายและกินเวลาไม่ใช่เพียงไม่กี่นาที อาการแน่นหน้าอกบางทีอาจรู้สึกคล้ายอาการแสบร้อนกลางอก อาการอื่น ได้แก่ การหายใจลำบาก คลื่นไส้ รู้สึกหมดสติ เหงื่อแตก หรือรู้สึกล้า ผู้ป่วยประมาณ 30% มีอาการไม่ตรงแบบ หญิงมักมีอาการไม่ตรงแบบมากกว่าชาย ในผู้ป่วยอายุกว่า 75 ปีขึ้นไป ประมาณ 5% เคยมี MI โดยไม่มีหรือมีประวัติอาการเพียงเล็กน้อย MI ครั้งหนึ่งอาจทำให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว ภาวะหัวใจเสียจังหวะ ช็อกเหตุหัวใจ หรือหัวใจหยุด

กล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด
แผนภาพแสดงการไหลเวียนโลหิตสู่หัวใจโดยหลอดเลือดหลักสองเส้น คือ หลอดเลือดหัวใจซ้ายและขวา (ชี้แสดงเป็น LCA และ RCA) เกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด (2) โดยมีการอุดกั้นแขนงหนึ่งของหลอดเลือดหัวใจซ้าย (1)
สาขาวิชาหทัยวิทยา
อาการเจ็บอก, การหายใจลำบาก, คลื่นไส้, รู้สึกหน้ามืด, เหงื่อออกท่วม, รู้สึกล้า
ภาวะแทรกซ้อนภาวะหัวใจล้มเหลว, ภาวะหัวใจเสียจังหวะ, ช็อกเหตุหัวใจ, หัวใจหยุด
สาเหตุมักเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจ
ปัจจัยเสี่ยงความดันโลหิตสูง, การสูบบุหรี่, โรคเบาหวาน, การไม่ออกกำลังกาย, โรคอ้วน, ภาวะคอเลสเทอรอลสูงในเลือด
วิธีวินิจฉัยการบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG), การทดสอบเลือด, การบันทึกภาพรังสีหลอดเลือดหัวใจ
การรักษาการถ่างขยายหลอดเลือดหัวใจทางผิวหนัง, การสลายลิ่มเลือด
ยาแอสไพริน, ไนโตรกลีเซอริน, เฮปาริน
พยากรณ์โรคSTEMI โอกาสเสียชีวิต 10% (ประเทศพัฒนาแล้ว)
ความชุก15.9 ล้านครั้ง (2558)

MI ส่วนใหญ่เกิดจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ความดันโลหิตสูง สูบบุหรี่ เบาหวาน ไม่ออกกำลังกาย โรคอ้วน ภาวะคอเลสเทอรอลสูงในเลือด กินอาหารเลวและบริโภคแอลกอฮอล์มากเกินเป็นต้น กลไกพื้นเดิมของ MI ปกติเกิดจากการแตกของแผ่นโรคท่อเลือดแดงและหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerotic plaque) ทำให้เกิดการอุดกั้นสมบูรณ์หลอดเลือดหัวใจ MI ที่เกิดจากการบีบเกร็งของหลอดเลือดหัวใจซึ่งอาจเกิดได้จากโคเคน ความเครียดทางอารมณ์อย่างสำคัญ และความเย็นจัด เป็นต้น นั้นพบน้อย มีการทดสอบจำนวนหนึ่งเป็นประโยชน์ช่วยวินิจฉัยรวมทั้งภาพคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การทดสอบเลือด และการบันทึกภาพรังสีหลอดเลือดหัวใจ ECG ซึ่งเป็นบันทึกกัมมันตภาพไฟฟ้าของหัวใจ อาจยืนยัน MI ชนิด ST ยก (STEMI) หากมีการยกของ ST การทดสอบที่ใช้ทั่วไปมีทั้งโทรโปนินและครีเอตีนไคเนสเอ็มบีที่ใช้น้อยกว่า

การรักษา MI นั้นสำคัญที่เวลา แอสไพรินเป็นการรักษาทันที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่สงสัยเป็น MI อาจใช้ไนโตรกลีเซอรีนหรือโอปิออยด์เพื่อช่วยระงับอาการเจ็บอก ทว่า ยาทั้งสองไม่ได้เพิ่มผลลัพธ์โดยรวมของการรักษา การให้ออกซิเจนเสริมอาจให้ในผู้ป่วยระดับออกซิเจนต่ำหรือหายใจกระชั้น ในผู้ป่วย STEMI การรักษาเป็นไปเพื่อพยายามฟื้นฟูการไหลเวียนโลหิตสู่หัวใจ และอาจรวมถึงการถ่างขยายหลอดเลือดหัวใจ (percutaneous coronary intervention, PCI) ซึ่งมีการผลักหลอดเลือดแดงให้เปิดออกและอาจถ่ายขยาย หรือการสลายลิ่มเลือด ซึ่งมีการใช้ยาเพื่อขจัดบริเวณที่เกิดการอุดกั้น ผู้มีกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดแบบไม่มี ST ยก (NSTEMI) มักรักษาด้วยยาละลายลิ่มเลือดเฮปาริน และการใช้ PCI อีกครั้งในผู้ป่วยความเสี่ยงสูง ในผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นของหลอดเลือดหัวใจหลายเส้นและโรคเบาหวาน อาจแนะนำการผ่าตัดทางเลี่ยงหลอดเลือดหัวใจแทนศัลยกรรมตกแต่งหลอดเลือด หลังเป็น MI ตรงแบบแนะนำการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต ร่วมกับการรักษาระยะยาวด้วยแอสไพริน เบตาบล็อกเกอร์ และสแตติน

เกิดกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือดทั่วโลกประมาณ 15.9 ล้านครั้งในปี 2558 กว่า 3 ล้านคนมี MI ชนิด ST ยก และกว่า 4 ล้านคนเป็น NSTEMI สำหรับ STEMI เกิดในชายมากกว่าหญิงสองเท่า มีผู้ป่วย MI ประมาณหนึ่งล้านคนทุกปีในสหรัฐ ในประเทศพัฒนาแล้ว โอกาสเสียชีวิตในผู้ป่วย STEMI อยู่ประมาณ 10% อัตรา MI สำหรับอายุต่าง ๆ ลดลงทั่วโลกระหว่างปี 2533 ถึง 2553 ในปี 2554 MI เป็นภาวะที่มีราคาแพงที่สุดห้าอันดับแรกระหว่างการให้เข้าโรงพยาบาลผู้ป่วยในในสหรัฐ โดยมีมูลค่าประมาณ 11,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐสำหรับการรักษาในโรงพยาบาล 612,000 ครั้ง

อาการ

อาการของกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันที่พบบ่อยได้แก่เจ็บหน้าอกกะทันหัน ซึ่งมักร้าวไปยังแขนซ้ายหรือด้านซ้ายของคอ อาการหายใจลำบาก คลื่นไส้ อาเจียน ใจสั่น เหงื่อออก และวิตกกังวลที่มักอธิบายว่ารู้สึกเหมือนเคราะห์ร้ายใกล้เข้ามา อาการเหล่านี้พบในผู้หญิงน้อยกว่าในผู้ชาย ซึ่งมักพบอาการหายใจลำบาก อ่อนแรง รู้สึกอาหารไม่ย่อย และเหนื่อยล้า ราว 1 ใน 4 ของผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายจะไม่มีอาการ คือไม่มีอาการปวดเค้นหน้าอกหรืออาการอื่นเลย นอกจากนี้ งานวิจัยส่วนหนึ่งได้รายงานว่า ในบรรดาผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเหตุขาดเลือด ผู้ที่มีอายุมากและผู้ป่วยโรคเบาหวานอาจแสดงอาการเจ็บหน้าอกน้อยกว่าผู้ที่อายุน้อยหรือผู้ที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน

การวินิจฉัย

ผู้ป่วยที่สงสัยจะได้รับการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG) การถ่ายภาพเอกซเรย์ทรวงอก และการตรวจเลือดเพื่อดูความเสียหายของกล้ามเนื้อหัวใจ

การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ

การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจจะช่วยให้แพทย์แยกระหว่าง ST elevation MI (STEMI) และ non-ST elevation MI (non-STEMI หรือ NSTEMI) ซึ่งจะมีความแตกต่างกันในด้านวิธีการรักษา

  • STEMI เป็นภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่พบการยกตัว (elevation) อย่างผิดปกติของช่วง ST (ST segment) ในคลื่นไฟฟ้าหัวใจ ซึ่งมักแสดงถึงการอุดตันของหลอดเลือดโคโรนารีเส้นสำคัญ ทำให้เกิดภาวะขาดเลือดของกล้ามเนื้อหัวใจส่วนหนึ่งตลอดความหนาของผนังกล้ามเนื้อ (transmural infarction หรือ full-thickness infarction)
  • NSTEMI เป็นภาวะหัวใจขาดเลือดเฉียบพลันที่ไม่พบการยกตัวของช่วง ST แต่มักพบการลดตัวของช่วง ST (ST segment depression) และอาจพบคลื่น T หัวกลับ (T wave inversion) NSTEMI บ่งบอกถึงการอุดตันของหลอดเลือดโคโรนารีย่อย หรือการอุดตันบางส่วนหรือการตีบลงของหลอดเลือดโคโรนารีใหญ่ กรณีนี้กล้ามเนื้อหัวใจจะขาดเลือดเพียงส่วนหนึ่งของความหนาของผนังกล้ามเนื้อ

การตรวจเลือด

นอกจากการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจแล้ว การวินิจฉัยภาวะหัวใจขาดเลือดจะใช้การตรวจเลือดเพื่อตรวจหาสารที่บ่งชี้ถึงความเสียหายของเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiomyocyte) สารพวกนี้เรียกว่า ไบโอมาร์กเกอร์ของหัวใจ (cardiac biomarker) ปัจจุบัน ตัวชี้วัดความเสียหายของกล้ามเนื้อหัวใจที่ใช้บ่อยคือระดับโปรตีนโทรโปนิน (troponin) T และ I รวมถึงสัดส่วนครีเอตินไคเนส-เอ็มบี (creatine kinase-MB; CK-MB) ในเลือด

โทรโปรนินเป็นโปรตีนที่มีความจำเพาะสูงแต่เซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ การตรวจพบระดับโทรโปนินที่สูงขึ้นกว่าปกติจึงมักตีความได้ว่ากล้ามเนื้อหัวใจนั้นเกิดความเสียหายและได้ปล่อยโปรตีนโทรโปนินเข้าสู่กระแสเลือด อย่างไรก็ตาม ความเสียหายของกล้ามเนื้อหัวใจนั้นไม่จำเป็นต้องเกิดจากการขาดเลือด (MI) เสมอไป อาการใดๆ ที่ทำอันตรายต่อกล้ามเนื้อหัวใจก็ย่อมทำให้ระดับของโทรโปนินสูงขึ้นได้เช่นกัน อาทิ ภาวะไตวาย (renal failure) ภาวะหัวใจวาย (heart failure) หรือการอักเสบของกล้ามเนื้อหัวใจ (myocarditis) ด้วยเหตุนี้การวินิจฉัยภาวะหัวใจขาดเลือดจึงต้องทำร่วมกับการซักประวัติผู้ป่วยและการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจด้วย เพื่อให้ได้ผลสรุปที่ชัดเจนยิ่งขึ้น

การรักษา

การรักษาผู้ป่วยที่สงสัยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันได้แก่การให้ออกซิเจน แอสไพริน และไนโตรกลีเซอรีนชนิดอมใต้ลิ้น หากจำเป็นต้องใช้ยาระงับปวดเพิ่มมักพิจารณาให้มอร์ฟีน ซัลเฟต การทบทวนวรรณกรรมในปี ค.ศ. 2009 เกี่ยวกับการให้ออกซิเจนอัตราการไหลสูงเพื่อรักษากล้ามเนื้อหัวใจตายพบว่าการให้ออกซิเจนอัตราการไหลสูงเพิ่มอัตราเสียชีวิตและขนาดของกล้ามเนื้อหัวใจที่ตาย ทำให้เกิดข้อสงสัยถึงการแนะนำให้ใช้ออกซิเจนในการรักษาเป็นกิจวัตร ผู้ป่วย STEMI ส่วนใหญ่รักษาได้ด้วยยาสลายลิ่มเลือดหรือการขยายหลอดเลือดโคโรนารีทางผิวหนัง (Percutaneous coronary intervention; PCI) ส่วนผู้ป่วย NSTEMI รักษาด้วยยาแม้ว่ามักจะทำ PCI ในระหว่างผู้ป่วยพักในโรงพยาบาล ในผู้ป่วยที่มีการอุดกั้นหลอดเลือดโคโรนารีหลายตำแหน่งและผู้ป่วยที่เสถียรหรือในผู้ป่วยฉุกเฉินน้อยรายอาจพิจารณาทำการผ่าตัดทางเลี่ยงหลอดเลือดโคโรนารีหรือที่เรียกกันว่า การผ่าตัดบายพาส

กล้ามเนื้อหัวใจตายนับเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับต้น ๆ ของทั้งผู้ชายและผู้หญิงทั่วโลก โดยปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญคือโรคหัวใจและหลอดเลือดที่เคยเป็นมาก่อน, อายุมาก, การสูบบุหรี่, ไขมันชนิดไตรกลีเซอไรด์และไลโปโปรตีนชนิดความหนาแน่นต่ำ (low-density lipoprotein; LDL) ในเลือดสูง และมีระดับ ไลโปโปรตีนชนิดความหนาแน่นสูง (high-density lipoprotein; HDL) ในเลือดต่ำ, เบาหวาน, ความดันโลหิตสูง, โรคอ้วน, โรคไตเรื้อรัง, หัวใจล้มเหลว, การดื่มสุรามากเกิน, การใช้สารเสพติดบางชนิด เช่น โคเคนและเมทแอมเฟตามีน และระดับความเครียดเรื้อรัง

พยากรณ์โรค

พยากรณ์โรคของ MI อาจแตกต่างกันได้มากในผู้ป่วยแต่ละคน ขึ้นอยู่กับสภาพร่างกายของผู้ป่วย ตำแหน่งและขนาดของกล้ามเนื้อหัวใจที่ขาดเลือด และการรักษา ในสหรัฐอเมริกาช่วง ค.ศ. 2005-2008 มีการเก็บข้อมูลพบว่ามัธยฐานการเสียชีวิตที่ 30 วัน ของผู้ป่วย MI อยู่ที่ 16.6% (10.9-24.9) การนำค่าต่าง ๆ ที่ตรวจได้ในห้องฉุกเฉินมาประเมินจะทำให้สามารถแบ่งผู้ป่วยออกเป็นกลุ่มๆ ตามความเสี่ยงของการเกิดผลไม่พึงประสงค์หลังการรักษาได้ งานวิจัยชิ้นหนึ่งพบว่าผู้ป่วยชนิดความเสี่ยงต่ำ 0.4% เสียชีวิตที่ 90 วัน หลังได้รับการรักษา ในขณะที่ผู้ป่วยความเสี่ยงสูงเสียชีวิต 21.1%

อ้างอิง

  1. . www.nhlbi.nih.gov. September 29, 2014. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 24 February 2015. สืบค้นเมื่อ 23 February 2015. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  2. . www.nhlbi.nih.gov. December 17, 2013. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 19 February 2015. สืบค้นเมื่อ 24 February 2015. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  3. . www.heart.org. Jul 30, 2014. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 24 February 2015. สืบค้นเมื่อ 24 February 2015. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  4. Mehta PK, Wei J, Wenger NK (February 2015). "Ischemic heart disease in women: a focus on risk factors". Trends in Cardiovascular Medicine. 25 (2): 140–51. doi:10.1016/j.tcm.2014.10.005. PMC 4336825. PMID 25453985.
  5. Mendis, Shanthi; Puska,, Pekka; Norrving, Bo (2011). (PDF) (1st ed.). Geneva: World Health Organization in collaboration with the World Heart Federation and the World Stroke Organization. pp. 3–18. ISBN 978-92-4-156437-3. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2014-08-17. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)CS1 maint: extra punctuation (link)
  6. . www.nhlbi.nih.gov. December 17, 2013. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 24 February 2015. สืบค้นเมื่อ 24 February 2015. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)
  7. Steg PG, James SK, Atar D, Badano LP, Blömstrom-Lundqvist C, Borger MA, Di Mario C, Dickstein K, Ducrocq G, Fernandez-Aviles F, Gershlick AH, Giannuzzi P, Halvorsen S, Huber K, Juni P, Kastrati A, Knuuti J, Lenzen MJ, Mahaffey KW, Valgimigli M, van 't Hof A, Widimsky P, Zahger D (October 2012). "ESC Guidelines for the management of acute myocardial infarction in patients presenting with ST-segment elevation". European Heart Journal. 33 (20): 2569–619. doi:10.1093/eurheartj/ehs215. PMID 22922416.
  8. O'Connor RE, Brady W, Brooks SC, Diercks D, Egan J, Ghaemmaghami C, Menon V, O'Neil BJ, Travers AH, Yannopoulos D (November 2010). "Part 10: acute coronary syndromes: 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care". Circulation. 122 (18 Suppl 3): S787–817. doi:10.1161/CIRCULATIONAHA.110.971028. PMID 20956226.
  9. GBD 2015 Disease and Injury Incidence and Prevalence, Collaborators. (8 October 2016). "Global, regional, and national incidence, prevalence, and years lived with disability for 310 diseases and injuries, 1990–2015: a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015". Lancet. 388 (10053): 1545–1602. doi:10.1016/S0140-6736(16)31678-6. PMC 5055577. PMID 27733282.
  10. Kosuge, M (March 2006). . Circulation Journal. 70 (3): 222–226. doi:10.1253/circj.70.222. PMID 16501283. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2009-01-13. สืบค้นเมื่อ 2008-05-31. Unknown parameter |coauthors= ignored (|author= suggested) (help)
  11. https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2247416/
  12. http://circ.ahajournals.org/content/112/20/3036
  13. Erhardt L, Herlitz J, Bossaert L; และคณะ (2002). "Task force on the management of chest pain" (PDF). Eur. Heart J. 23 (15): 1153–76. doi:10.1053/euhj.2002.3194. PMID 12206127. Explicit use of et al. in: |author= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  14. "Routine use of oxygen in the treatment of myocardial infarction: systematic review -- Wijesinghe et al. 95 (3) : 198 -- Heart".
  15. Robert Beaglehole; และคณะ (2004). The World Health Report 2004 - Changing History (PDF). World Health Organization. pp. 120–4. ISBN 92-4-156265-X. Explicit use of et al. in: |author= (help)
  16. Bax L, Algra A, Mali WP, Edlinger M, Beutler JJ, van der Graaf Y (2008). (07) 00768-X "Renal function as a risk indicator for cardiovascular events in 3216 patients with manifest arterial disease" Check |url= value (help). Atherosclerosis. 200 (1): 184. doi:10.1016/j.atherosclerosis.2007.12.006. PMID 18241872.CS1 maint: multiple names: authors list (link)
  17. Pearte CA, Furberg CD, O'Meara ES; และคณะ (2006). "Characteristics and baseline clinical predictors of future fatal versus nonfatal coronary heart disease events in older adults: the Cardiovascular Health Study". Circulation. 113 (18): 2177–85. doi:10.1161/CIRCULATIONAHA.105.610352. PMID 16651468. Explicit use of et al. in: |author= (help)CS1 maint: multiple names: authors list (link)

กล, ามเน, อห, วใจตายเหต, ขาดเล, อด, งกฤษ, myocardial, infarction, หร, อร, กก, นว, อาการห, วใจล, heart, attack, เก, ดเม, อเล, อดไหลส, วนใดส, วนหน, งของห, วใจลดลงหร, อหย, ดไหล, ทำให, เก, ดความเส, ยหายต, อกล, ามเน, อห, วใจ, อาการท, พบมากท, เจ, บอกหร, อแน, นหน, าอ. klamenuxhwictayehtukhadeluxd xngkvs Myocardial infarction MI hruxruckknwa xakarhwiclm heart attack ekidemuxeluxdihlsuswnidswnhnungkhxnghwicldlnghruxhyudihl thaihekidkhwamesiyhaytxklamenuxhwic xakarthiphbmakthisud khux ecbxkhruxaennhnaxksungxacrawipihl aekhn hlng khxhruxkram bxykhrngecbbriewnklangxkhruxxkdansayaelakinewlaimichephiyngimkinathi xakaraennhnaxkbangthixacrusukkhlayxakaraesbrxnklangxk xakarxun idaek karhayiclabak khlunis rusukhmdsti ehnguxaetk hruxrusukla phupwypraman 30 mixakarimtrngaebb hyingmkmixakarimtrngaebbmakkwachay inphupwyxayukwa 75 pikhunip praman 5 ekhymi MI odyimmihruxmiprawtixakarephiyngelknxy MI khrnghnungxacthaihekidphawahwiclmehlw phawahwicesiycnghwa chxkehtuhwic hruxhwichyudklamenuxhwictayehtukhadeluxdaephnphaphaesdngkarihlewiynolhitsuhwicodyhlxdeluxdhlksxngesn khux hlxdeluxdhwicsayaelakhwa chiaesdngepn LCA aela RCA ekidklamenuxhwictayehtukhadeluxd 2 odymikarxudknaekhnnghnungkhxnghlxdeluxdhwicsay 1 sakhawichahthywithyaxakarecbxk karhayiclabak khlunis rusukhnamud ehnguxxxkthwm rusukla 1 phawaaethrksxnphawahwiclmehlw phawahwicesiycnghwa chxkehtuhwic hwichyud 2 3 saehtumkepnorkhhlxdeluxdhwic 2 pccyesiyngkhwamdnolhitsung karsubbuhri orkhebahwan karimxxkkalngkay orkhxwn phawakhxelsethxrxlsungineluxd 4 5 withiwinicchykarbnthukkhluniffahwic ECG karthdsxbeluxd karbnthukphaphrngsihlxdeluxdhwic 6 karrksakarthangkhyayhlxdeluxdhwicthangphiwhnng karslaylimeluxd 7 yaaexsiphrin inotrkliesxrin ehparin 7 8 phyakrnorkhSTEMI oxkasesiychiwit 10 praethsphthnaaelw 7 khwamchuk15 9 lankhrng 2558 9 MI swnihyekidcakorkhhlxdeluxdhwic pccyesiyng idaek khwamdnolhitsung subbuhri ebahwan imxxkkalngkay orkhxwn phawakhxelsethxrxlsungineluxd kinxaharelwaelabriophkhaexlkxhxlmakekinepntn klikphunedimkhxng MI pktiekidcakkaraetkkhxngaephnorkhthxeluxdaedngaelahlxdeluxdaedngaekhng atherosclerotic plaque thaihekidkarxudknsmburnhlxdeluxdhwic MI thiekidcakkarbibekrngkhxnghlxdeluxdhwicsungxacekididcakokhekhn khwamekhriydthangxarmnxyangsakhy aelakhwameyncd epntn nnphbnxy mikarthdsxbcanwnhnungepnpraoychnchwywinicchyrwmthngphaphkhluniffahwic karthdsxbeluxd aelakarbnthukphaphrngsihlxdeluxdhwic ECG sungepnbnthukkmmntphaphiffakhxnghwic xacyunyn MI chnid ST yk STEMI hakmikarykkhxng ST karthdsxbthiichthwipmithngothropninaelakhriextinikhensexmbithiichnxykwakarrksa MI nnsakhythiewla aexsiphrinepnkarrksathnthiehmaasmsahrbphuthisngsyepn MI xacichinotrkliesxrinhruxoxpixxydephuxchwyrangbxakarecbxk thwa yathngsxngimidephimphllphthodyrwmkhxngkarrksa karihxxksiecnesrimxacihinphupwyradbxxksiecntahruxhayickrachn inphupwy STEMI karrksaepnipephuxphyayamfunfukarihlewiynolhitsuhwic aelaxacrwmthungkarthangkhyayhlxdeluxdhwic percutaneous coronary intervention PCI sungmikarphlkhlxdeluxdaedngihepidxxkaelaxacthaykhyay hruxkarslaylimeluxd sungmikarichyaephuxkhcdbriewnthiekidkarxudkn phumiklamenuxhwictayehtukhadeluxdaebbimmi ST yk NSTEMI mkrksadwyyalalaylimeluxdehparin aelakarich PCI xikkhrnginphupwykhwamesiyngsung inphupwythimikarxudknkhxnghlxdeluxdhwichlayesnaelaorkhebahwan xacaenanakarphatdthangeliynghlxdeluxdhwicaethnslykrrmtkaetnghlxdeluxd hlngepn MI trngaebbaenanakarprbepliynwithichiwit rwmkbkarrksarayayawdwyaexsiphrin ebtablxkekxr aelasaettinekidklamenuxhwictayehtukhadeluxdthwolkpraman 15 9 lankhrnginpi 2558 kwa 3 lankhnmi MI chnid ST yk aelakwa 4 lankhnepn NSTEMI sahrb STEMI ekidinchaymakkwahyingsxngetha miphupwy MI pramanhnunglankhnthukpiinshrth inpraethsphthnaaelw oxkasesiychiwitinphupwy STEMI xyupraman 10 xtra MI sahrbxayutang ldlngthwolkrahwangpi 2533 thung 2553 inpi 2554 MI epnphawathimirakhaaephngthisudhaxndbaerkrahwangkarihekhaorngphyabalphupwyininshrth odymimulkhapraman 11 500 landxllarshrthsahrbkarrksainorngphyabal 612 000 khrng enuxha 1 xakar 2 karwinicchy 2 1 kartrwckhluniffahwic 2 2 kartrwceluxd 3 karrksa 4 phyakrnorkh 5 xangxingxakar aekikhxakarkhxngklamenuxhwictayechiybphlnthiphbbxyidaekecbhnaxkkathnhn sungmkrawipyngaekhnsayhruxdansaykhxngkhx xakarhayiclabak khlunis xaeciyn icsn ehnguxxxk aelawitkkngwlthimkxthibaywarusukehmuxnekhraahrayiklekhama xakarehlaniphbinphuhyingnxykwainphuchay sungmkphbxakarhayiclabak xxnaerng rusukxaharimyxy aelaehnuxyla 10 raw 1 in 4 khxngphupwyklamenuxhwictaycaimmixakar khuximmixakarpwdekhnhnaxkhruxxakarxunely nxkcakni nganwicyswnhnungidraynganwa inbrrdaphupwyorkhklamenuxhwictayehtukhadeluxd phuthimixayumakaelaphupwyorkhebahwanxacaesdngxakarecbhnaxknxykwaphuthixayunxyhruxphuthiimidpwyepnorkhebahwan 11 karwinicchy aekikhphupwythisngsycaidrbkartrwckhluniffahwic ECG karthayphaphexkserythrwngxk aelakartrwceluxdephuxdukhwamesiyhaykhxngklamenuxhwic kartrwckhluniffahwic aekikh kartrwckhluniffahwiccachwyihaephthyaeykrahwang ST elevation MI STEMI aela non ST elevation MI non STEMI hrux NSTEMI sungcamikhwamaetktangknindanwithikarrksa STEMI epnphawahwickhadeluxdechiybphlnthiphbkaryktw elevation xyangphidpktikhxngchwng ST ST segment inkhluniffahwic sungmkaesdngthungkarxudtnkhxnghlxdeluxdokhornariesnsakhy thaihekidphawakhadeluxdkhxngklamenuxhwicswnhnungtlxdkhwamhnakhxngphnngklamenux transmural infarction hrux full thickness infarction NSTEMI epnphawahwickhadeluxdechiybphlnthiimphbkaryktwkhxngchwng ST aetmkphbkarldtwkhxngchwng ST ST segment depression aelaxacphbkhlun T hwklb T wave inversion NSTEMI bngbxkthungkarxudtnkhxnghlxdeluxdokhornariyxy hruxkarxudtnbangswnhruxkartiblngkhxnghlxdeluxdokhornariihy krniniklamenuxhwiccakhadeluxdephiyngswnhnungkhxngkhwamhnakhxngphnngklamenuxkartrwceluxd aekikh nxkcakkartrwckhluniffahwicaelw karwinicchyphawahwickhadeluxdcaichkartrwceluxdephuxtrwchasarthibngchithungkhwamesiyhaykhxngesllklamenuxhwic cardiomyocyte sarphwknieriykwa iboxmarkekxrkhxnghwic cardiac biomarker pccubn twchiwdkhwamesiyhaykhxngklamenuxhwicthiichbxykhuxradboprtinothropnin troponin T aela I rwmthungsdswnkhriextinikhens exmbi creatine kinase MB CK MB ineluxdothroprninepnoprtinthimikhwamcaephaasungaetesllklamenuxhwic kartrwcphbradbothropninthisungkhunkwapkticungmktikhwamidwaklamenuxhwicnnekidkhwamesiyhayaelaidplxyoprtinothropninekhasukraaeseluxd xyangirktam khwamesiyhaykhxngklamenuxhwicnnimcaepntxngekidcakkarkhadeluxd MI esmxip xakarid thithaxntraytxklamenuxhwickyxmthaihradbkhxngothropninsungkhunidechnkn xathi phawaitway renal failure 12 phawahwicway heart failure hruxkarxkesbkhxngklamenuxhwic myocarditis dwyehtunikarwinicchyphawahwickhadeluxdcungtxngtharwmkbkarskprawtiphupwyaelakartrwckhluniffahwicdwy ephuxihidphlsrupthichdecnyingkhunkarrksa aekikhkarrksaphupwythisngsyklamenuxhwictayechiybphlnidaekkarihxxksiecn aexsiphrin aelainotrkliesxrinchnidxmitlin hakcaepntxngichyarangbpwdephimmkphicarnaihmxrfin sleft 13 karthbthwnwrrnkrrminpi kh s 2009 ekiywkbkarihxxksiecnxtrakarihlsungephuxrksaklamenuxhwictayphbwakarihxxksiecnxtrakarihlsungephimxtraesiychiwitaelakhnadkhxngklamenuxhwicthitay thaihekidkhxsngsythungkaraenanaihichxxksiecninkarrksaepnkicwtr 14 phupwy STEMI swnihyrksaiddwyyaslaylimeluxdhruxkarkhyayhlxdeluxdokhornarithangphiwhnng Percutaneous coronary intervention PCI swnphupwy NSTEMI rksadwyyaaemwamkcatha PCI inrahwangphupwyphkinorngphyabal inphupwythimikarxudknhlxdeluxdokhornarihlaytaaehnngaelaphupwythiesthiyrhruxinphupwychukechinnxyrayxacphicarnathakarphatdthangeliynghlxdeluxdokhornarihruxthieriykknwa karphatdbayphasklamenuxhwictaynbepnsaehtukaresiychiwitxndbtn khxngthngphuchayaelaphuhyingthwolk 15 odypccyesiyngthisakhykhuxorkhhwicaelahlxdeluxdthiekhyepnmakxn xayumak karsubbuhri ikhmnchniditrkliesxirdaelailopoprtinchnidkhwamhnaaennta low density lipoprotein LDL ineluxdsung aelamiradb ilopoprtinchnidkhwamhnaaennsung high density lipoprotein HDL ineluxdta ebahwan khwamdnolhitsung orkhxwn orkhiteruxrng hwiclmehlw kardumsuramakekin karichsaresphtidbangchnid echn okhekhnaelaemthaexmeftamin aelaradbkhwamekhriyderuxrng 16 17 phyakrnorkh aekikhphyakrnorkhkhxng MI xacaetktangknidmakinphupwyaetlakhn khunxyukbsphaphrangkaykhxngphupwy taaehnngaelakhnadkhxngklamenuxhwicthikhadeluxd aelakarrksa inshrthxemrikachwng kh s 2005 2008 mikarekbkhxmulphbwamthythankaresiychiwitthi 30 wn khxngphupwy MI xyuthi 16 6 10 9 24 9 karnakhatang thitrwcidinhxngchukechinmapraemincathaihsamarthaebngphupwyxxkepnklum tamkhwamesiyngkhxngkarekidphlimphungprasngkhhlngkarrksaid nganwicychinhnungphbwaphupwychnidkhwamesiyngta 0 4 esiychiwitthi 90 wn hlngidrbkarrksa inkhnathiphupwykhwamesiyngsungesiychiwit 21 1 xangxing aekikh What Are the Signs and Symptoms of Coronary Heart Disease www nhlbi nih gov September 29 2014 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 24 February 2015 subkhnemux 23 February 2015 Unknown parameter deadurl ignored help 2 0 2 1 What Is a Heart Attack www nhlbi nih gov December 17 2013 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 19 February 2015 subkhnemux 24 February 2015 Unknown parameter deadurl ignored help Heart Attack or Sudden Cardiac Arrest How Are They Different www heart org Jul 30 2014 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 24 February 2015 subkhnemux 24 February 2015 Unknown parameter deadurl ignored help Mehta PK Wei J Wenger NK February 2015 Ischemic heart disease in women a focus on risk factors Trends in Cardiovascular Medicine 25 2 140 51 doi 10 1016 j tcm 2014 10 005 PMC 4336825 PMID 25453985 Mendis Shanthi Puska Pekka Norrving Bo 2011 Global atlas on cardiovascular disease prevention and control PDF 1st ed Geneva World Health Organization in collaboration with the World Heart Federation and the World Stroke Organization pp 3 18 ISBN 978 92 4 156437 3 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim PDF emux 2014 08 17 Unknown parameter deadurl ignored help CS1 maint extra punctuation link How Is a Heart Attack Diagnosed www nhlbi nih gov December 17 2013 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 24 February 2015 subkhnemux 24 February 2015 Unknown parameter deadurl ignored help 7 0 7 1 7 2 Steg PG James SK Atar D Badano LP Blomstrom Lundqvist C Borger MA Di Mario C Dickstein K Ducrocq G Fernandez Aviles F Gershlick AH Giannuzzi P Halvorsen S Huber K Juni P Kastrati A Knuuti J Lenzen MJ Mahaffey KW Valgimigli M van t Hof A Widimsky P Zahger D October 2012 ESC Guidelines for the management of acute myocardial infarction in patients presenting with ST segment elevation European Heart Journal 33 20 2569 619 doi 10 1093 eurheartj ehs215 PMID 22922416 O Connor RE Brady W Brooks SC Diercks D Egan J Ghaemmaghami C Menon V O Neil BJ Travers AH Yannopoulos D November 2010 Part 10 acute coronary syndromes 2010 American Heart Association Guidelines for Cardiopulmonary Resuscitation and Emergency Cardiovascular Care Circulation 122 18 Suppl 3 S787 817 doi 10 1161 CIRCULATIONAHA 110 971028 PMID 20956226 GBD 2015 Disease and Injury Incidence and Prevalence Collaborators 8 October 2016 Global regional and national incidence prevalence and years lived with disability for 310 diseases and injuries 1990 2015 a systematic analysis for the Global Burden of Disease Study 2015 Lancet 388 10053 1545 1602 doi 10 1016 S0140 6736 16 31678 6 PMC 5055577 PMID 27733282 Kosuge M March 2006 Differences between men and women in terms of clinical features of ST segment elevation acute myocardial infarction Circulation Journal 70 3 222 226 doi 10 1253 circj 70 222 PMID 16501283 khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2009 01 13 subkhnemux 2008 05 31 Unknown parameter coauthors ignored author suggested help https www ncbi nlm nih gov pmc articles PMC2247416 http circ ahajournals org content 112 20 3036 Erhardt L Herlitz J Bossaert L aelakhna 2002 Task force on the management of chest pain PDF Eur Heart J 23 15 1153 76 doi 10 1053 euhj 2002 3194 PMID 12206127 Explicit use of et al in author help CS1 maint multiple names authors list link Routine use of oxygen in the treatment of myocardial infarction systematic review Wijesinghe et al 95 3 198 Heart Robert Beaglehole aelakhna 2004 The World Health Report 2004 Changing History PDF World Health Organization pp 120 4 ISBN 92 4 156265 X Explicit use of et al in author help Bax L Algra A Mali WP Edlinger M Beutler JJ van der Graaf Y 2008 07 00768 X Renal function as a risk indicator for cardiovascular events in 3216 patients with manifest arterial disease Check url value help Atherosclerosis 200 1 184 doi 10 1016 j atherosclerosis 2007 12 006 PMID 18241872 CS1 maint multiple names authors list link Pearte CA Furberg CD O Meara ES aelakhna 2006 Characteristics and baseline clinical predictors of future fatal versus nonfatal coronary heart disease events in older adults the Cardiovascular Health Study Circulation 113 18 2177 85 doi 10 1161 CIRCULATIONAHA 105 610352 PMID 16651468 Explicit use of et al in author help CS1 maint multiple names authors list link bthkhwamekiywkbaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy aephthysastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title klamenuxhwictayehtukhadeluxd amp oldid 9613396, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม