fbpx
วิกิพีเดีย

เลนส์บาง

เลนส์บาง เลนส์บางคือ ตัวกลางโปร่งแสง สามารถให้แสงผ่านไปได้ สามารถรวมแสงหรือกระจายแสงได้โดยหลักการหักเหของแสง มีผิวหน้าเป็นผิวโค้ง เป็นเลนส์ที่มีความหนาน้อยเมื่อเทียบกับระยะวัตถุ ระยะภาพ และรัศมีความโค้งของทรงกลม เลนส์แบ่งออกเป็นสองชนิด คือ เลนส์นูน (Convex lens) กับเลนส์เว้า (Concave lens)

- เลนส์นูน คือ เลนส์ที่มีตรงกลางหนากว่าตรงขอบเสมอ เมื่อลำแสงส่องขนานเข้าหาเลนส์จะทำให้รังสีตีบเข้าหากัน และตัดกัน ที่จุดโฟกัสจริง (Real focus)

- เลนส์เว้า คือ เลนส์ที่มีตรงกลางบางกว่าตรงขอบเสมอ เมื่อลำแสงส่องขนานเข้าหาเลนส์ทำให้รังสีถ่างออกจากกัน ละจะไปตัดกันที่จุดโฟกัสเสมือน (Virtual focus)

ส่วนประกอบที่สำคัญของเลนส์

 
ส่วนประกอบที่สำคัญของเลนส์

- แกนมุขสำคัญ (Principle Axis) ของเลนส์ คือเส้นตรงที่ลากผ่านจุดศูนย์กลางความโค้ง

- จุดโฟกัสของเลนส์นูน (Principle Focus ,จุด F) คือ จุดที่รังสีขนานเดิมตีบไปตัดกัน

– Optical Center ของเลนส์ (จุด O) คือ จุดที่อยู่บนแกนมุขสำคัญ ซึ่งรังสีเมื่อผ่านเข้าเลนส์และผ่านจุดนี้แล้ว แสงที่ผ่านออกมาจะมีแนวขนานกับรังสีเดิม

– จุดโฟกัสจริง เป็นจุดที่อยู่บนแกนมุขสำคัญของเลนส์นูน ลำแสงขนานเมื่อผ่านเลนส์นูนจะหักเหไปตัดกันจริงที่จุดโฟกัส ซึ่งอยู่ในด้านตรงข้ามกับวัตถุ

– จุดโฟกัสเสมือน เป็นจุดที่อยู่บนแกนมุขสำคัญของเลนส์เว้า ลำแสงขนานเมื่อผ่านเลนส์เว้าจะหักเหออกจากกัน โดยมีแนวรังสีเสมือนไปตัดกันที่จุดโฟกัสเสมือน ซึ่งอยู่ด้านเดียวกับวัตถุ

– ความยาวโฟกัส (f) คือ ระยะจากจุดโฟกัสถึงจุด Optical Center ดังรูปด้านบน

วิธีเขียนทางเดินแสงเพื่อหาตำแหน่งภาพของวัตถุ ของเลนส์ทั้งสอง

1. จากวัตถุลากรังสีขนานกับแกนมุขสำคัญ ตกกระทบกับเลนส์ แล้วหักเหผ่านจุดโฟกัส

2. จากวัตถุลากรังสีผ่านจุด Optical Center แล้วต่อรังสีให้ตัดกับรังสีในขั้นตอนแรกตำแหน่งที่รังสีตัดกัน

ภาพที่เกิดจากการวางวัตถุ ณ ตำแหน่งต่าง ๆ ของเลนส์นูน

-ถ้าวัตถุอยู่ที่ตำแหน่งที่ไกลมากหรือระยะอนันต์ จะได้ภาพจริงมีขนาดเป็นจุดอยู่ที่จุดโฟกัส

-ถ้าวัตถุอยู่ห่างมากกว่าจุดศูนย์กลางความโค้ง แต่ไม่ถึงระยะอนันต์ จะเกิดภาพจริงหัวกลับ ขนาดเล็กกว่าวัตถุ อยู่ระหว่างจุด F และ ซึ่งอยู่คนละด้านกับวัตถุ

-ถ้าวัตถุอยู่ที่จุด C จะเกิดภาพจริงหัวกลับที่ตำแหน่ง ขนาดเท่ากับวัตถุ และอยู่คนละด้านกลับวัตถุ

-ถ้าวัตถุอยู่ระหว่างจุด C และจุด F จะเกิดภาพจริงหัวกลับ ขนาดขยายอยู่นอกจุด ซึ่งอยู่คนละด้านกับวัตถุ

-ถ้าวัตถุอยู่ที่จุด F จะทำให้เกิดภาพที่ระยะอนันต์ เพราะรังสีแสงที่ออกมาจะเป็นรังสีแสงขนาน

-ถ้าวัตถุอยู่ระหว่างจุด F กับจุด O จะพบว่ารังสีรังสีที่ผ่านเลนส์มีการเบนออก และเมื่อเราต่อแนวรังสีที่หักเหผ่านเลนส์ จะพบว่าเกิดภาพเสมือนขนาดขยาย หัวตั้งอยู่ด้านเดียวกับวัตถุ

ข้อสังเกต


1. ภาพของเลนส์นูน มีลักษณะเดียวกับการให้ภาพของกระจกเว้า คือเลนส์จะให้ทั้งภาพจริงและภาพเสมือน
2. การเกิดภาพของเลนส์เว้า จะเหมือนกับการเกิดภาพของกระจกนูน คือ จะให้ภาพเสมือน หัวตั้ง และมีขนาดเล็กกว่าวัตถุเสมอ
3. สำหรับเลนส์ การที่จะรู้ว่าปริมาณใดเป็นปริมาณจริงหรือเสมือนนั้น ดูได้จากตำแหน่งของปริมาณต่าง ๆ คือ ถ้าปริมาณนั้นมีตำแหน่งอยู่คนละด้านกับวัตถุ ก็ถือว่าเป็นปริมาณจริง แต่ถ้าปริมาณนั้นมีตำแหน่งอยู่ด้านเดียวกับวัตถุ ก็ให้ถือว่าเป็นปริมาณเสมือน
4.ภาพจากเลนส์นูน จะมีทั้งภาพจริงและภาพเสมือน
5. ภาพจากเลนส์เว้ามีแต่ภาพเสมือนขนาดเล็กกว่าวัตถุ ดังรูป ต่อไปนี้




อ้างอิง

http://ikaen2520.wordpress.com/1-%E0%B8%9F%E0%B8%B4%E0%B8%AA%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B9%8C%E0%B8%A1-4/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88/

http://orapanwaipan.wordpress.com/%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A/%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%87/%E0%B9%81%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A8%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C/%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%99%E0%B8%AA%E0%B9%8C%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%87-%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%8F%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B8%82/

เลนส, บาง, วกลางโปร, งแสง, สามารถให, แสงผ, านไปได, สามารถรวมแสงหร, อกระจายแสงได, โดยหล, กการห, กเหของแสง, วหน, าเป, นผ, วโค, เป, นเลนส, ความหนาน, อยเม, อเท, ยบก, บระยะว, ตถ, ระยะภาพ, และร, ศม, ความโค, งของทรงกลม, เลนส, แบ, งออกเป, นสองชน, เลนส, convex, lens, บ. elnsbang elnsbangkhux twklangoprngaesng samarthihaesngphanipid samarthrwmaesnghruxkracayaesngidodyhlkkarhkehkhxngaesng miphiwhnaepnphiwokhng epnelnsthimikhwamhnanxyemuxethiybkbrayawtthu rayaphaph aelarsmikhwamokhngkhxngthrngklm elnsaebngxxkepnsxngchnid khux elnsnun Convex lens kbelnsewa Concave lens elnsnun khux elnsthimitrngklanghnakwatrngkhxbesmx emuxlaaesngsxngkhnanekhahaelnscathaihrngsitibekhahakn aelatdkn thicudofkscring Real focus elnsewa khux elnsthimitrngklangbangkwatrngkhxbesmx emuxlaaesngsxngkhnanekhahaelnsthaihrngsithangxxkcakkn lacaiptdknthicudofksesmuxn Virtual focus enuxha 1 swnprakxbthisakhykhxngelns 1 1 withiekhiynthangedinaesngephuxhataaehnngphaphkhxngwtthu khxngelnsthngsxng 2 phaphthiekidcakkarwangwtthu n taaehnngtang khxngelnsnun 2 1 khxsngekt 3 xangxingswnprakxbthisakhykhxngelns aekikh swnprakxbthisakhykhxngelns aeknmukhsakhy Principle Axis khxngelns khuxesntrngthilakphancudsunyklangkhwamokhng cudofkskhxngelnsnun Principle Focus cud F khux cudthirngsikhnanedimtibiptdkn Optical Center khxngelns cud O khux cudthixyubnaeknmukhsakhy sungrngsiemuxphanekhaelnsaelaphancudniaelw aesngthiphanxxkmacamiaenwkhnankbrngsiedim cudofkscring epncudthixyubnaeknmukhsakhykhxngelnsnun laaesngkhnanemuxphanelnsnuncahkehiptdkncringthicudofks sungxyuindantrngkhamkbwtthu cudofksesmuxn epncudthixyubnaeknmukhsakhykhxngelnsewa laaesngkhnanemuxphanelnsewacahkehxxkcakkn odymiaenwrngsiesmuxniptdknthicudofksesmuxn sungxyudanediywkbwtthu khwamyawofks f khux rayacakcudofksthungcud Optical Center dngrupdanbn withiekhiynthangedinaesngephuxhataaehnngphaphkhxngwtthu khxngelnsthngsxng aekikh 1 cakwtthulakrngsikhnankbaeknmukhsakhy tkkrathbkbelns aelwhkehphancudofks2 cakwtthulakrngsiphancud Optical Center aelwtxrngsiihtdkbrngsiinkhntxnaerktaaehnngthirngsitdknphaphthiekidcakkarwangwtthu n taaehnngtang khxngelnsnun aekikh thawtthuxyuthitaaehnngthiiklmakhruxrayaxnnt caidphaphcringmikhnadepncudxyuthicudofks thawtthuxyuhangmakkwacudsunyklangkhwamokhng aetimthungrayaxnnt caekidphaphcringhwklb khnadelkkwawtthu xyurahwangcud F aela sungxyukhnladankbwtthu thawtthuxyuthicud C caekidphaphcringhwklbthitaaehnng khnadethakbwtthu aelaxyukhnladanklbwtthu thawtthuxyurahwangcud C aelacud F caekidphaphcringhwklb khnadkhyayxyunxkcud sungxyukhnladankbwtthu thawtthuxyuthicud F cathaihekidphaphthirayaxnnt ephraarngsiaesngthixxkmacaepnrngsiaesngkhnan thawtthuxyurahwangcud F kbcud O caphbwarngsirngsithiphanelnsmikarebnxxk aelaemuxeratxaenwrngsithihkehphanelns caphbwaekidphaphesmuxnkhnadkhyay hwtngxyudanediywkbwtthu khxsngekt aekikh 1 phaphkhxngelnsnun milksnaediywkbkarihphaphkhxngkrackewa khuxelnscaihthngphaphcringaelaphaphesmuxn 2 karekidphaphkhxngelnsewa caehmuxnkbkarekidphaphkhxngkracknun khux caihphaphesmuxn hwtng aelamikhnadelkkwawtthuesmx 3 sahrbelns karthicaruwaprimanidepnprimancringhruxesmuxnnn duidcaktaaehnngkhxngprimantang khux thaprimannnmitaaehnngxyukhnladankbwtthu kthuxwaepnprimancring aetthaprimannnmitaaehnngxyudanediywkbwtthu kihthuxwaepnprimanesmuxn 4 phaphcakelnsnun camithngphaphcringaelaphaphesmuxn 5 phaphcakelnsewamiaetphaphesmuxnkhnadelkkwawtthu dngrup txipni xangxing aekikhhttp ikaen2520 wordpress com 1 E0 B8 9F E0 B8 B4 E0 B8 AA E0 B8 B4 E0 B8 81 E0 B8 AA E0 B9 8C E0 B8 A1 4 E0 B8 81 E0 B8 B2 E0 B8 A3 E0 B9 80 E0 B8 84 E0 B8 A5 E0 B8 B7 E0 B9 88 E0 B8 AD E0 B8 99 E0 B8 97 E0 B8 B5 E0 B9 88 http orapanwaipan wordpress com E0 B9 80 E0 B8 81 E0 B8 B5 E0 B9 88 E0 B8 A2 E0 B8 A7 E0 B8 81 E0 B8 B1 E0 B8 9A E0 B9 80 E0 B8 AA E0 B8 B5 E0 B8 A2 E0 B8 87 E0 B9 81 E0 B8 AA E0 B8 87 E0 B9 81 E0 B8 A5 E0 B8 B0 E0 B8 97 E0 B8 B1 E0 B8 A8 E0 B8 99 E0 B8 AD E0 B8 B8 E0 B8 9B E0 B8 81 E0 B8 A3 E0 B8 93 E0 B9 8C E0 B9 80 E0 B8 A5 E0 B8 99 E0 B8 AA E0 B9 8C E0 B8 9A E0 B8 B2 E0 B8 87 E0 B9 81 E0 B8 A5 E0 B8 B0 E0 B8 9B E0 B8 A3 E0 B8 B2 E0 B8 81 E0 B8 8F E0 B8 81 E0 B8 B2 E0 B8 A3 E0 B8 93 E0 B9 8C E0 B8 82 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title elnsbang amp oldid 9246210, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม