fbpx
วิกิพีเดีย

การผลิตไฮโดรเจน

การผลิตไฮโดรเจน เป็นกระบวนการสร้างไฮโดรเจนจากสารเคมีอื่น เทคโนโลยีการผลิตที่ใช้กันอย่างแพร่หลายในปัจจุบันคือการนำสารไฮโดรคาร์บอนมาทำการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างโมเลกุลด้วยไอน้ำ (steam reforming) นอกจากนั้นก็ยังมีวิธีการแยกสลายสารที่อยู่ในสถานะของเหลวด้วยไฟฟ้า (electrolysis) และ การแยกสลายสารด้วยความร้อน(thermolysis)


Steam reforming

 
ไดอะแกรมแสดงชั้นตอนการทำ steam reforming ของมีเทน

พลังงานจากซากดึกดำบรรพ์ เป็นแหล่งผลิตหลักของอุตสาหกรรมไฮโดรเจน จากแก๊สธรรมชาติด้วยประสิทธิภาพ 80% หรือจากสารไฮโดรคาร์บอนอื่นด้วยประสิทธิภาพแตกต่างกันไป ขั้นตอนแรก ไอน้ำ (H2O) ที่อุณหภูมิ 700-1100°C ทำปฏิกิริยาดูดความร้อนกับมีเทน (CH4) จะได้ซินแก๊ส(syngas) ตามสูตร

CH4 + H2O → CO + 3 H2

ขั้นตอนที่สอง ปฏิกิริยาคายความร้อนที่เรียกว่า water gas shift reaction จะเกิดขึ้นที่อุณหภูมิ ต่ำลงประมาณ 130°C จะได้ไฮโดรเจนเพิ่มชึ้น

CO + H2O → CO2 + H2

จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใส่น้ำ(ไอน้ำ)เข้าไป อะตอมของอ๊อกซิเจน (O) จะถูกดึงออกจากน้ำ ไปทำปฏิกิริยาอ๊อกซิเดชั่นกับ CO ได้ CO2 เกิดความร้อนทำให้ขบวนการดำเนินต่อไป ความร้อนที่ต้องการขับเคลื่อนขบวนการนี้ทั่วไปแล้วได้มาจากการเผาบางส่วนของมีเทน

===การแยกเอา CO2 ออก ขบวนการนี้ จะได้ CO2 ออกมาด้วย ถ้าโรงผลิตนี้ ผลิตแต่ไฮโดรเจนอย่างเดียว วิธีกำจัด CO2 โดยไม่ให้มีผลกระทบกับสิ่งแวดล้อม สามารถทำได้โดยการฉีดมันเข้าไปในถังเก็บน้ำมันหรือแก๊ส

วิธีผลิตอื่นๆจากซากดึกดำบรรพ์

  • Partial oxidation เป็นปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นเมื่อสารผสมระหว่างเชี้อเพลิงบางชนิดและอากาศถูกเผาเป็นบางส่วนในขบวนการ reformer เหมือน steam reformer แล้วได้ไฮโดรเจนออกมาในรูปซินแก๊สเหมือนกัน มีสองแบบคือ thermal partial oxidation (TPOX) กับ catalytic partial oxidation (CPOX) หลักการก็คือ การนำแก๊สธรรมชาติหรือเชื่อเพลิงไฮโดรคาร์บอนหนัก(น้ำมันร้อน)ไปผสมกับอ๊อกซิเจนจำนวนจำกัดในขบวนการคายความร้อน น้ำจะถูกเติมลงไปเพื่อให้ได้ทั้งความร้อนสูงและเพื่อการควบคุมเขม่า
  • TPOX จะขึ้นอยุ่กับส่วนผสมของอากาศกับเชื้อเพลิง อุณหภูมิจะอยู่ที่ 1200°C หรือสูงกว่า
  • CPOX จะใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเพื่อลดอุณหภูมิลงให้เหลือ 800-900°C

เราจะใช้ TPOX หรือ CPOX ขึ้นอยู่กับสารซัลเฟอร์ในเชื้อเพลิงที่นำมาใช้ CPOX จะถูกใช้เมื่อ ปริมาณซัลเฟอร์ต่ำกว่า 50 ppm แต่จากการค้นคว้าเร็วๆนี้ CPOX สามารถใช้กับปริมาณซัลเฟอร์ได้ถึง 400 ppm

  • Plasma reforming ใช้ความร้อนสูงจากการ arc ไปเผาสารไฮโดรคาร์บอน ได้ไฮโดรเจน คารืบอนและน้ำ
  • Coal Gasification การทำให้ถ่านหินแปรสภาพเป็นแก๊ส ดูการแปรสภาพเป็นแก๊ส

ผลิตจากน้ำ

ขบวนการแยกไฮโดรเจนจากน้ำด้วยไฟฟ้า

 
Electrolysis

แบ่งออกเป็น 3 แบบใหญ่ๆตามชนิดของเซลล์คือ solid oxide electrolysis cells (SOEC's), polymer electrolyte membrane cells (PEM) and alkaline electrolysis cells (AEC's). SOEC ทำงานที่อุณหภูมิสูง ราว 800°C. PEM electrolysis cells ทำงานที่อุณหภูมิต่ำกว่า 100°C ซึ่งง่ายที่สุด ส่วน AEC ใช้ KOH(potassium carbonate) ชนิดเข้มข้นเป็น electrolyte และทำงานที่อุณหภูมิสูงถึง 200 °C.

ขบวนการแยกไฮโดรเจนจากน้ำด้วยไฟฟ้า

น้ำจะแตกตัวได้เองที่อุณหภูมิ 2500 C ซึ่งการผลิตวิธีนี้ใช้อุณหภูมิสูงเกินกว่าระบบท่อและอุปกรณ์จะรับได้ ต้องใช้ตัวช่วยเพื่อให้อุณหภูมิลดลงมา

ขบวนการแยกไฮโดรเจนจากน้ำด้วย photobiological

 
การใช้สาหร่ายผลิตไฮโดรเจน

เป็นการใช้สาหร่ายผลิตไฮโดรเจน ในขบวนการสังเคราะห์แสงของสาหร่าย ถ้าขาดซัลเฟอร์ มันจะผลิตไฮโดรเจนออกมา แทนที่จะเป็นอ๊อกซิเจน อัตราการเปลี่ยนแสงจากดวงอาทิตย์ให้เป็นไฮโดรเจนก็จะสูงกว่า 10 เปอร์เซนต์ โดยผลิตได้ถึง 12 cc ต่อ ชม.

ขบวนการแยกไฮโดรเจนจากน้ำด้วย photocatalytic

เหมือนการแยกน้ำด้วยไฟฟ้า แต่ใช้ตัว photocatalyst แขวนไว้ในน้ำ แทนที่จะใช้ photovoltaic ซึ่งทำให้มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

Sulfur-iodine cycle

เป็นขบวนการทางเคมีที่มีประสิทธิภาพในการแยกไฮโดรเจนออกจากน้ำได้ดีกว่ามากๆ ซัลเฟอร์และไอโอดีนสามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้ และไม่ใช่วัสดุสิ้นเปลือง เหมาะกับการผลิตไฮโดรเจนด้วยอุณหภูมิสูงจากเตาปฏิกรนิวเคลียร์หรือระบบผลิตพลังแสงอาทิตย์เข้มข้น concentrating solar power systems (CSP)

Biohydrogen routes

มวลชีวภาพและเชื้อเพลิงขยะ สามารถนำมาผลิตไฮโดรเจนได้ ด้วยวิธีการแปรสภาพเป็นแก๊ส

การหมัก

การหมักเป็นการเปลี่ยนสารอินทรีย์ให้เป็นแก็สไฮโดรเจนชีวภาพโดยใช้แบคทีเรียที่มีระบบการย่อยหลายๆอย่างทั้งแบบใช้แสงและแบบไม่ใช้แสง เช่นแบคทีเรียแบบใช้แสง ชื่อ Rhodobacter sphaeroides SH2C สามารถเปลี่ยนโมเลกุลของกรดไขมันเล็กๆให้เป็นไฮโดรเจนได้

Synthetic biology

 
electrolysis cell โดยใช้จุลินทรีย์

Biocatalysed electrolysis

นอกเหนือจากการหมักแบบมืด ก็คือ electrohydrogenesis (การแยกน้ำด้วยไฟฟ้าโดยการใช้จุลินทรีย์) การใช้เซลล์เชื้อเพลิงจุลินทรีย์ ทำให้น้ำเสียหรือซากพืชต่างๆสามารถถูกนำมาใช้ผลิตพลังงานได้ Biocatalysed electrolysis ไม่เหมือน biological electrolysis เพราะ biological ทำให้สาหร่ายผลิตไฮโดรเจนได้ทันที แต่ biocatalysed electrolysis จะผลิตไฮโดรเจนได้โดยต้องผ่านเซลล์เชื้อเพลิงจุลินทรีย์ก่อน ขบวนการนี้ใช้ได้กับพืชน้ำเช่น ต้นกก หญ้าหวาน cordgrass ข้าว มะเขือเทศ lupines และสาหร่าย เป็นต้น

ไฮโดรเจนหมุนเวียน

ปัจจุบัน สามารถผลิตไฮโดรเจนได้จากพลังงานหมุนเวียน เช่นใช้แก๊สจากการฝังกลบขยะ หรือใช้ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนเพื่อผลิตไฮโดรเจนโดยการแยกจากน้ำ เป็นต้น

อ้างอิง

  1. [1], วิธีพลาสมาฟอร์มิง

การผล, ตไฮโดรเจน, เป, นกระบวนการสร, างไฮโดรเจนจากสารเคม, เทคโนโลย, การผล, ตท, ใช, นอย, างแพร, หลายในป, จจ, นค, อการนำสารไฮโดรคาร, บอนมาทำการเปล, ยนแปลงโครงสร, างโมเลก, ลด, วยไอน, steam, reforming, นอกจากน, นก, งม, การแยกสลายสารท, อย, ในสถานะของเหลวด, วยไฟฟ, el. karphlitihodrecn epnkrabwnkarsrangihodrecncaksarekhmixun ethkhonolyikarphlitthiichknxyangaephrhlayinpccubnkhuxkarnasarihodrkharbxnmathakarepliynaeplngokhrngsrangomelkuldwyixna steam reforming nxkcaknnkyngmiwithikaraeykslaysarthixyuinsthanakhxngehlwdwyiffa electrolysis aela karaeykslaysardwykhwamrxn thermolysis enuxha 1 Steam reforming 2 withiphlitxuncaksakdukdabrrph 3 phlitcakna 3 1 khbwnkaraeykihodrecncaknadwyiffa 3 2 khbwnkaraeykihodrecncaknadwyiffa 3 3 khbwnkaraeykihodrecncaknadwy photobiological 3 4 khbwnkaraeykihodrecncaknadwy photocatalytic 3 5 Sulfur iodine cycle 3 6 Biohydrogen routes 3 7 karhmk 4 Synthetic biology 4 1 Biocatalysed electrolysis 5 ihodrecnhmunewiyn 6 xangxingSteam reforming aekikh idxaaekrmaesdngchntxnkartha steam reforming khxngmiethn phlngngancaksakdukdabrrph epnaehlngphlithlkkhxngxutsahkrrmihodrecn cakaeksthrrmchatidwyprasiththiphaph 80 hruxcaksarihodrkharbxnxundwyprasiththiphaphaetktangknip khntxnaerk ixna H2O thixunhphumi 700 1100 C thaptikiriyadudkhwamrxnkbmiethn CH4 caidsinaeks syngas tamsutr CH4 H2O CO 3 H2khntxnthisxng ptikiriyakhaykhwamrxnthieriykwa water gas shift reaction caekidkhunthixunhphumi talngpraman 130 C caidihodrecnephimchun CO H2O CO2 H2caepnxyangyingthicatxngisna ixna ekhaip xatxmkhxngxxksiecn O cathukdungxxkcakna ipthaptikiriyaxxksiedchnkb CO id CO2 ekidkhwamrxnthaihkhbwnkardaenintxip khwamrxnthitxngkarkhbekhluxnkhbwnkarnithwipaelwidmacakkarephabangswnkhxngmiethn karaeykexa CO2 xxk khbwnkarni caid CO2 xxkmadwy thaorngphlitni phlitaetihodrecnxyangediyw withikacd CO2 odyimihmiphlkrathbkbsingaewdlxm samarththaidodykarchidmnekhaipinthngekbnamnhruxaekswithiphlitxuncaksakdukdabrrph aekikhPartial oxidation epnptikiriyaekhmithiekidkhunemuxsarphsmrahwangechixephlingbangchnidaelaxakasthukephaepnbangswninkhbwnkar reformer ehmuxn steam reformer aelwidihodrecnxxkmainrupsinaeksehmuxnkn misxngaebbkhux thermal partial oxidation TPOX kb catalytic partial oxidation CPOX hlkkarkkhux karnaaeksthrrmchatihruxechuxephlingihodrkharbxnhnk namnrxn ipphsmkbxxksiecncanwncakdinkhbwnkarkhaykhwamrxn nacathuketimlngipephuxihidthngkhwamrxnsungaelaephuxkarkhwbkhumekhma TPOX cakhunxyukbswnphsmkhxngxakaskbechuxephling xunhphumicaxyuthi 1200 C hruxsungkwa CPOX caichtwerngptikiriyaephuxldxunhphumilngihehlux 800 900 Ceracaich TPOX hrux CPOX khunxyukbsarslefxrinechuxephlingthinamaich CPOX cathukichemux primanslefxrtakwa 50 ppm aetcakkarkhnkhwaerwni CPOX samarthichkbprimanslefxridthung 400 ppm Plasma reforming ichkhwamrxnsungcakkar arc ipephasarihodrkharbxn idihodrecn kharubxnaelana 1 Coal Gasification karthaihthanhinaeprsphaphepnaeks dukaraeprsphaphepnaeksphlitcakna aekikhkhbwnkaraeykihodrecncaknadwyiffa aekikh Electrolysis aebngxxkepn 3 aebbihytamchnidkhxngesllkhux solid oxide electrolysis cells SOEC s polymer electrolyte membrane cells PEM and alkaline electrolysis cells AEC s SOEC thanganthixunhphumisung raw 800 C PEM electrolysis cells thanganthixunhphumitakwa 100 C sungngaythisud swn AEC ich KOH potassium carbonate chnidekhmkhnepn electrolyte aelathanganthixunhphumisungthung 200 C khbwnkaraeykihodrecncaknadwyiffa aekikh nacaaetktwidexngthixunhphumi 2500 C sungkarphlitwithiniichxunhphumisungekinkwarabbthxaelaxupkrncarbid txngichtwchwyephuxihxunhphumildlngma khbwnkaraeykihodrecncaknadwy photobiological aekikh karichsahrayphlitihodrecn epnkarichsahrayphlitihodrecn inkhbwnkarsngekhraahaesngkhxngsahray thakhadslefxr mncaphlitihodrecnxxkma aethnthicaepnxxksiecn xtrakarepliynaesngcakdwngxathityihepnihodrecnkcasungkwa 10 epxresnt odyphlitidthung 12 cc tx chm khbwnkaraeykihodrecncaknadwy photocatalytic aekikh ehmuxnkaraeyknadwyiffa aetichtw photocatalyst aekhwniwinna aethnthicaich photovoltaic sungthaihmiprasiththiphaphephimkhun Sulfur iodine cycle aekikh epnkhbwnkarthangekhmithimiprasiththiphaphinkaraeykihodrecnxxkcaknaiddikwamak slefxraelaixoxdinsamarthnaklbmaichihmid aelaimichwsdusinepluxng ehmaakbkarphlitihodrecndwyxunhphumisungcaketaptikrniwekhliyrhruxrabbphlitphlngaesngxathityekhmkhn concentrating solar power systems CSP Biohydrogen routes aekikh mwlchiwphaphaelaechuxephlingkhya samarthnamaphlitihodrecnid dwywithikaraeprsphaphepnaeks karhmk aekikh karhmkepnkarepliynsarxinthriyihepnaeksihodrecnchiwphaphodyichaebkhthieriythimirabbkaryxyhlayxyangthngaebbichaesngaelaaebbimichaesng echnaebkhthieriyaebbichaesng chux Rhodobacter sphaeroides SH2C samarthepliynomelkulkhxngkrdikhmnelkihepnihodrecnidSynthetic biology aekikh electrolysis cell odyichculinthriy Biocatalysed electrolysis aekikh nxkehnuxcakkarhmkaebbmud kkhux electrohydrogenesis karaeyknadwyiffaodykarichculinthriy karichesllechuxephlingculinthriy thaihnaesiyhruxsakphuchtangsamarththuknamaichphlitphlngnganid Biocatalysed electrolysis imehmuxn biological electrolysis ephraa biological thaihsahrayphlitihodrecnidthnthi aet biocatalysed electrolysis caphlitihodrecnidodytxngphanesllechuxephlingculinthriykxn khbwnkarniichidkbphuchnaechn tnkk hyahwan cordgrass khaw maekhuxeths lupines aelasahray epntnihodrecnhmunewiyn aekikhpccubn samarthphlitihodrecnidcakphlngnganhmunewiyn echnichaekscakkarfngklbkhya hruxichiffacakphlngnganhmunewiynephuxphlitihodrecnodykaraeykcakna epntnxangxing aekikh 1 withiphlasmafxrming khxmmxns miphaphaelasuxekiywkb karphlitihodrecnekhathungcak https th wikipedia org w index php title karphlitihodrecn amp oldid 9105484, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม