fbpx
วิกิพีเดีย

การสนทนากลุ่ม

การสนทนากลุ่ม (focus group) เป็นรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการสอบถามบุคคลในกลุ่มเพื่อให้ได้มาถึงความคิดเห็น ความเชื่อ หรือทัศนคติ ต่อสินค้า บริการ หรือแนวคิด โดยคำถามจะถูกถามในรูปแบบของการปฏิสัมพันธ์แบบต่างๆ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมมีโอกาสพูดคุยและแสดงความเห็นได้อย่างอิสระระหว่างผู้ร่วมวิจัยหรือผู้เข้าร่วมด้วยกันเอง โดยในขณะเดียวกันผู้ทำวิจัยทำการจดบันทึกการสนทนาที่เกิดขึ้น

การสนทนากลุ่มจำเป็นต้องคัดเลือกลุ่มอย่างเหมาะสม เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับความต้องการ

จุดเด่นของการสนทนากลุ่ม

  • การสนทนากลุ่มสามารถนำข้อมูลเชิงลึกให้แก่ผู้ร่วมวิจัยได้ ส่วนใหญ่เกิดจากการนำเสนอแนวคิดของผู้หนึ่งไปกระตุ้นแนวคิด ความจำ หรือประสบการณ์ของผู้ที่อยู่ในกลุ่ม ทำให้มีแนวคิดที่หลากหลายเกิดขึ้นระหว่างการสนทนากลุ่ม โดยจะเกิดขึ้นในลักษณะลูกโซ่ได้
  • การสนทนากลุ่ม ช่วยเปิดโอกาสให้มีการพูดถึงในเรื่องที่หลายคนอาจไม่อยากพูดถึง เช่น การละเมิดทางเพศในที่ทำงาน ที่ผู้เข้าร่วมรู้สึกไม่ควรพูดถึง

การสนทนากลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพ

การสนทนากลุ่มมีรูปแบบที่หลากหลายโดยมีแนวทางดำเนินการที่สามารถให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดได้โดย

  • มีผู้ดำเนินรายการที่ดี ที่สามารถเชิญชวนให้ทุกคนมีส่วนร่วม และกล้าที่จะเสนอความเห็นและยังคงรักษาเป้าหมายของการวิจัยนั้นได้
  • มีการวางคำถามที่เหมาะสมให้ตรงประเด็นหัวข้องานวิจัย โดยคำถามประกอบด้วย คำถามเริ่มต้นที่ช่วยให้ผู้เข้าร่วมรู้สึกคุ้นเคยกับหัวข้อ คำถามวิจัยช่วยให้ผู้วิจัยได้คำตอบตามที่ต้องการ และคำถามสิ้นสุดที่ช่วยให้แน่ใจว่าไม่มีอะไรผิดพลาดหรือหลุดรอด
  • จำนวนคำถามไม่ควรมีมากเกินไป และระยะเวลาในการทำการสนทนากลุ่มไม่ควรเกิน 90 นาที เพื่อทำให้ผู้เข้าร่วมสามารถมีสมาธิกับคำถามได้

ข้อจำกัดและปัญหาที่เกิดขึ้น

ปัญหาของการสนทนากลุ่มประกอบด้วยสองส่วนหลักคือการอคติของกลุ่ม และการโอนเอียงของผู้ดำเนินรายการที่มีการชี้นำตามเป้าของการวิจัย ซึ่งแตกต่างจากการเก็บข้อมูลการทำวิจัยเชิงคุณภาพประเภทอื่นที่ผู้มีส่วนร่วมไม่มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกัน

ปัญหาที่มักจะเกิดในระหว่างการสนทนาคือการไม่มีส่วนร่วม หรือไม่กล้ามีส่วนร่วมที่เกิดจากการจัดกลุ่มสนทนาไม่ดี อาทิ จับกลุ่มหัวหน้ากับลูกน้องมาร่วมแสดงความเห็นกันและกัน

ตัวอย่างการสนทนากลุ่มที่ล้มเหลวที่เห็นได้ชัดคือ New Coke ในปี พ.ศ. 2523 ที่เป็นการชี้นำคำถามเพื่อให้ได้มาถึงผลลัพธ์ที่ต้องการจากเหตุผลด้านใดด้านหนึ่ง

อ้างอิง

  1. Lindlof, T. R., & Taylor, B. C. (2002). Qualitative Communication Research Methods, 2nd Edition. Thousand Oaks, CA: Sage.
  2. Tracy, S. J., Lutgen-Sandvik, P., & Alberts, J. K. (2006). Nightmares, demons and slaves: Exploring the painful metaphors of workplace bullying. Management Communication Quarterly, 20, 148-185.
  3. Guidelines for Conducting a Focus Group
  4. Nachmais, Chava Frankfort; Nachmais, David. 2008. Research methods in the Social Sciences: Seventh Edition New York, NY: Worth Publishers
  5. Rushkoff, Douglas, Get back in the box : innovation from the inside out, New York : Collins, 2005

การสนทนากล, focus, group, เป, นร, ปแบบการว, ยเช, งค, ณภาพ, จากการสอบถามบ, คคลในกล, มเพ, อให, ได, มาถ, งความค, ดเห, ความเช, หร, อท, ศนคต, อส, นค, บร, การ, หร, อแนวค, โดยคำถามจะถ, กถามในร, ปแบบของการปฏ, มพ, นธ, แบบต, างๆ, โดยเป, ดโอกาสให, เข, าร, วมม, โอกาสพ, ดค. karsnthnaklum focus group epnrupaebbkarwicyechingkhunphaph cakkarsxbthambukhkhlinklumephuxihidmathungkhwamkhidehn khwamechux hruxthsnkhti txsinkha brikar hruxaenwkhid odykhathamcathukthaminrupaebbkhxngkarptismphnthaebbtang odyepidoxkasihphuekharwmmioxkasphudkhuyaelaaesdngkhwamehnidxyangxisrarahwangphurwmwicyhruxphuekharwmdwyknexng odyinkhnaediywknphuthawicythakarcdbnthukkarsnthnathiekidkhunkarsnthnaklumcaepntxngkhdeluxklumxyangehmaasm ephuxihidphllphththisxdkhlxngkbkhwamtxngkar enuxha 1 cudednkhxngkarsnthnaklum 2 karsnthnaklumxyangmiprasiththiphaph 3 khxcakdaelapyhathiekidkhun 4 xangxingcudednkhxngkarsnthnaklum aekikhkarsnthnaklumsamarthnakhxmulechinglukihaekphurwmwicyid swnihyekidcakkarnaesnxaenwkhidkhxngphuhnungipkratunaenwkhid khwamca hruxprasbkarnkhxngphuthixyuinklum thaihmiaenwkhidthihlakhlayekidkhunrahwangkarsnthnaklum odycaekidkhuninlksnalukosid 1 karsnthnaklum chwyepidoxkasihmikarphudthungineruxngthihlaykhnxacimxyakphudthung echn karlaemidthangephsinthithangan thiphuekharwmrusukimkhwrphudthung 2 karsnthnaklumxyangmiprasiththiphaph aekikhkarsnthnaklummirupaebbthihlakhlayodymiaenwthangdaeninkarthisamarthihekidprasiththiphaphsungsudidody 3 miphudaeninraykarthidi thisamarthechiychwnihthukkhnmiswnrwm aelaklathicaesnxkhwamehnaelayngkhngrksaepahmaykhxngkarwicynnid mikarwangkhathamthiehmaasmihtrngpraednhwkhxnganwicy odykhathamprakxbdwy khathamerimtnthichwyihphuekharwmrusukkhunekhykbhwkhx khathamwicychwyihphuwicyidkhatxbtamthitxngkar aelakhathamsinsudthichwyihaenicwaimmixairphidphladhruxhludrxd canwnkhathamimkhwrmimakekinip aelarayaewlainkarthakarsnthnaklumimkhwrekin 90 nathi ephuxthaihphuekharwmsamarthmismathikbkhathamid 3 khxcakdaelapyhathiekidkhun aekikhpyhakhxngkarsnthnaklumprakxbdwysxngswnhlkkhuxkarxkhtikhxngklum 4 aelakaroxnexiyngkhxngphudaeninraykarthimikarchinatamepakhxngkarwicy sungaetktangcakkarekbkhxmulkarthawicyechingkhunphaphpraephthxunthiphumiswnrwmimmiptismphnthtxknaelaknpyhathimkcaekidinrahwangkarsnthnakhuxkarimmiswnrwm hruximklamiswnrwmthiekidcakkarcdklumsnthnaimdi xathi cbklumhwhnakbluknxngmarwmaesdngkhwamehnknaelakntwxyangkarsnthnaklumthilmehlwthiehnidchdkhux New Coke inpi ph s 2523 thiepnkarchinakhathamephuxihidmathungphllphththitxngkarcakehtuphldaniddanhnung 5 xangxing aekikh Lindlof T R amp Taylor B C 2002 Qualitative Communication Research Methods 2nd Edition Thousand Oaks CA Sage Tracy S J Lutgen Sandvik P amp Alberts J K 2006 Nightmares demons and slaves Exploring the painful metaphors of workplace bullying Management Communication Quarterly 20 148 185 3 0 3 1 Guidelines for Conducting a Focus Group Nachmais Chava Frankfort Nachmais David 2008 Research methods in the Social Sciences Seventh Edition New York NY Worth Publishers Rushkoff Douglas Get back in the box innovation from the inside out New York Collins 2005ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karsnthnaklum amp oldid 8993482, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม