fbpx
วิกิพีเดีย

การหมุนควงลาร์เมอร์

การหมุนควงลาร์เมอร์ (Larmor precession) เป็นการหมุนควงของเวกเตอร์โมเมนต์แม่เหล็กรอบเส้นสนามแม่เหล็กจากภายนอก พบได้ในอิเล็กตรอน มิวออน และอะตอม จากทฤษฎี เมื่อมีสนามแม่เหล็กจากภายนอกมากระทำกับโมเมนต์แม่เหล็ก จะทำให้เกิดทอร์ก

ทิศทางการหมุนควงรอบแกนของอนุภาคที่มีประจุเป็นลบ

โดยที่ แทนทอร์ก แทนโมเมนต์ขั้วคู่แม่เหล็ก แทนโมเมนตัมเชิงมุม แทนสนามแม่เหล็กภายนอก และ แทนอัตราส่วนไจโรแมกเนติกซึ่งเป็นอัตราส่วนที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างโมเมนตัมเชิงมุมและโมเมนต์แม่เหล็ก

ความถี่ลาร์เมอร์

เวกเตอร์โมเมนตัมเชิงมุม   จะหมุนควง (คือ มีจุดหนึ่งยันกับแกนอ้างอิง ที่เหลือหมุนไปรอบ ๆ ในลักษณะกวาดเป็นรูปทรงกรวย) รอบเส้นสนามแม่เหล็กจากภายนอกด้วยความถี่เชิงมุมค่าหนึ่ง เรียกความถี่นี้ว่าความถี่ลาร์เมอร์ (Larmor frequency) ความถี่ลาร์เมอร์กำหนดตามสมการ

 

หรือ

 

โดยที่   แทนความถี่ลาร์เมอร์   แทนอัตราส่วนไจโรแมกเนติก อัตราส่วนใจโรแมกเนติกคำนวณจากตัวแปรต่อไปนี้คือ   แทนมวล   แทนประจุมูลฐาน   แทนขนาดของสนามแม่เหล็ก และ   เป็นตัวประกอบจี ซึ่งปกติอยู่ที่ 1 สำหรับอนุภาคเดี่ยว แต่จะเป็นค่าอื่นเมื่ออนุภาครวมตัวเป็นนิวเคลียส ค่าจีไม่สามารถคำนวณได้โดยตรง แต่สามารถวัดได้ ซึ่งสมบัติในข้อนี้เป็นส่วนสำคัญของสเปกโทรสโคปีด้วยวิธีการสั่นพ้องของนิวเคลียสโดยใช้สนามแม่เหล็ก (NMR spectroscopy)


การหมุนควงลาร์เมอร์แบบซับซ้อน

สมการข้างต้นเป็นสมการความถี่ของการหมุนควงลาร์เมอร์แบบที่ใช้โดยทั่วไป ซึ่งยังไม่ได้คิดการหมุนควงโทมัส (Thomas precession) ซึ่งกำหนดตามสมการ

 

โดยที่   เป็นตัวประกอบลอเรนซ์ (Lorentz factor) ซึ่งเป็นค่าที่คำนวณในสัมพัทธภาพพิเศษ Lorentz factor (ระวังสับสนกับอัตราส่วนไจโรแมกเนติก) มีข้อสังเกตอย่างหนึ่งคือ ถ้าค่า g = 2 แล้วความถี่ของการหมุนควงจะได้เป็น

 

สมการบาร์กมันน์-มิเชล-เทเลกดิ

การหมุนควงลาร์เมอร์ของอิเล็กตรอนโดยสนามแม่เหล็กไฟฟ้าจากภายนอก อธิบายได้ตามสมการบาร์กมันน์-มิเชล-เทเลกดิ หรือสมการบีเอ็มที (Bargmann–Michel–Telegdi equation; BMT equation) ซึ่งเขียนได้ว่า

 

โดยที่  ,  ,  , and   แทนเวกเตอร์สี่มิติแทนโพลาไรเซชัน, ประจุ, มวล และโมเมนต์แม่เหล็ก   เป็นความเร็วสี่มิติของอิเล็กตรอน  ,  , และ   แทนเทนเซอร์ขนาดของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า ต่อไป จากสมการการเคลื่อนที่

 

ทำให้ได้ว่า พจน์แรกของด้านขวาสมการบีเอ็มที สามารถเขียนใหม่ได้เป็น  โดยที่   เป็นเวกเตอร์สี่มิติของความเร่ง อนึ่ง พจน์แรกด้านขวาสมการบีเอ็มที แสดงถึงปรากฎการณ์ขนส่งแฟร์มี-วอล์กเกอร์ (Fermi–Walker transport) ซึ่งทำให้เกิดการหมุนควงโทมัส ส่วนพจน์ที่สองแสดงถึงการหมุนควงลาร์เมอร์

หากสนามแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นแบบสม่ำเสมอ (ขนาดเท่ากัน ทิศทางเดียวกันตลอด) หรือในกรณีที่ต้องการไม่คิดถึงผลของแรงจากความต่างศักย์   การเคลื่อนที่แบบเลื่อนตำแหน่งของอนุภาคสามารถอธิบายได้โดยสมการ

 

จากนั้น สมการบีเอ็มทีสามารถเขียนได้เป็น

 

การประยุกต์ใช้

เลฟ ลันเดา และเอฟเกนี ลิฟชิตซ์ (Evgeny Lifshitz) ได้พยากรณ์การค้นพบการหมุนควงลาร์เมอร์ในสารเฟอร์โรแมกเนติก เมื่อปี พ.ศ. 2478 ซึ่ง 11 ปีต่อมาได้มีการทดลองเพื่อพิสูจน์ยืนยันข้อความดังกล่าว

ความถี่ลาร์มอร์เป็นสมบัติของนิวเคลียสซึ่งใช้ในการศึกษาการสร้างภาพด้วยการสั่นพ้องผ่านสนามแม่เหล็ก อิเล็กตรอนพาราแมกเนติกเรโซแนนซ์ และมิวออนสปินสเปกโทรสโคปี

เชิงอรรถ

  1. Spin Dynamics, Malcolm H. Levitt, Wiley, 2001
  2. Louis N. Hand and Janet D. Finch. (1998). Analytical Mechanics. Cambridge, England: Cambridge University Press. p. 192. ISBN 978-0-521-57572-0.
  3. V. Bargmann, L. Michel, and V. L. Telegdi, Precession of the Polarization of Particles Moving in a Homogeneous Electromagnetic Field, Phys. Rev. Lett. 2, 435 (1959).
  4. Jackson, J. D., Classical Electrodynamics, 3rd edition, Wiley, 1999, p. 563.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • Georgia State University HyperPhysics page on Larmor Frequency
  • Larmor Frequency Calculator
  • here รายการไอโซโทปที่พบในการสั่นพ้องนิวเคลียสโดยใช้แม่เหล็ก

การหม, นควงลาร, เมอร, larmor, precession, เป, นการหม, นควงของเวกเตอร, โมเมนต, แม, เหล, กรอบเส, นสนามแม, เหล, กจากภายนอก, พบได, ในอ, เล, กตรอน, วออน, และอะตอม, จากทฤษฎ, เม, อม, สนามแม, เหล, กจากภายนอกมากระทำก, บโมเมนต, แม, เหล, จะทำให, เก, ดทอร, กท, ศทางการหม, . karhmunkhwnglaremxr Larmor precession epnkarhmunkhwngkhxngewketxromemntaemehlkrxbesnsnamaemehlkcakphaynxk phbidinxielktrxn miwxxn aelaxatxm cakthvsdi emuxmisnamaemehlkcakphaynxkmakrathakbomemntaemehlk cathaihekidthxrkthisthangkarhmunkhwngrxbaeknkhxngxnuphakhthimipracuepnlb G m B g J B displaystyle vec Gamma vec mu times vec B gamma vec J times vec B odythi G displaystyle vec Gamma aethnthxrk m displaystyle vec mu aethnomemntkhwkhuaemehlk J displaystyle vec J aethnomemntmechingmum B displaystyle vec B aethnsnamaemehlkphaynxk aela g displaystyle gamma aethnxtraswnicoraemkentiksungepnxtraswnthiaesdngkhwamsmphnthrahwangomemntmechingmumaelaomemntaemehlk enuxha 1 khwamthilaremxr 2 karhmunkhwnglaremxraebbsbsxn 3 smkarbarkmnn miechl ethelkdi 4 karprayuktich 5 echingxrrth 6 aehlngkhxmulxunkhwamthilaremxr aekikhewketxromemntmechingmum J displaystyle vec J cahmunkhwng khux micudhnungynkbaeknxangxing thiehluxhmuniprxb inlksnakwadepnrupthrngkrwy rxbesnsnamaemehlkcakphaynxkdwykhwamthiechingmumkhahnung eriykkhwamthiniwakhwamthilaremxr Larmor frequency khwamthilaremxrkahndtamsmkar w g B displaystyle omega gamma B hrux w e g B 2 m displaystyle omega frac egB 2m odythi w displaystyle omega aethnkhwamthilaremxr 1 g e g 2 m displaystyle gamma frac eg 2m aethnxtraswnicoraemkentik xtraswnicoraemkentikkhanwncaktwaeprtxipnikhux m displaystyle m aethnmwl e displaystyle e aethnpracumulthan B displaystyle B aethnkhnadkhxngsnamaemehlk 2 aela g displaystyle g epntwprakxbci sungpktixyuthi 1 sahrbxnuphakhediyw aetcaepnkhaxunemuxxnuphakhrwmtwepnniwekhliys khaciimsamarthkhanwnidodytrng aetsamarthwdid sungsmbtiinkhxniepnswnsakhykhxngsepkothrsokhpidwywithikarsnphxngkhxngniwekhliysodyichsnamaemehlk NMR spectroscopy karhmunkhwnglaremxraebbsbsxn aekikhsmkarkhangtnepnsmkarkhwamthikhxngkarhmunkhwnglaremxraebbthiichodythwip sungyngimidkhidkarhmunkhwngothms Thomas precession sungkahndtamsmkar w s g e B 2 m c 1 g e B m c g displaystyle omega s frac geB 2mc 1 gamma frac eB mc gamma odythi g displaystyle gamma epntwprakxblxerns Lorentz factor sungepnkhathikhanwninsmphththphaphphiess Lorentz factor rawngsbsnkbxtraswnicoraemkentik mikhxsngektxyanghnungkhux thakha g 2 aelwkhwamthikhxngkarhmunkhwngcaidepn w s g 2 e B m c g displaystyle omega s g 2 frac eB mc gamma smkarbarkmnn miechl ethelkdi aekikhkarhmunkhwnglaremxrkhxngxielktrxnodysnamaemehlkiffacakphaynxk xthibayidtamsmkarbarkmnn miechl ethelkdi hruxsmkarbiexmthi Bargmann Michel Telegdi equation BMT equation 3 sungekhiynidwa d a t d s e m u t u s F s l a l 2 m F t l u t u s F s l a l displaystyle frac da tau ds frac e m u tau u sigma F sigma lambda a lambda 2 mu F tau lambda u tau u sigma F sigma lambda a lambda odythi a t displaystyle a tau e displaystyle e m displaystyle m and m displaystyle mu aethnewketxrsimitiaethnophlaireschn pracu mwl aelaomemntaemehlk u t displaystyle u tau epnkhwamerwsimitikhxngxielktrxn a t a t u t u t 1 displaystyle a tau a tau u tau u tau 1 u t a t 0 displaystyle u tau a tau 0 aela F t s displaystyle F tau sigma aethnethnesxrkhnadkhxngsnamaemehlkiffa txip caksmkarkarekhluxnthi m d u t d s e F t s u s displaystyle m frac du tau ds eF tau sigma u sigma thaihidwa phcnaerkkhxngdankhwasmkarbiexmthi samarthekhiynihmidepn u t w l u l w t a l displaystyle u tau w lambda u lambda w tau a lambda odythi w t d u t d s displaystyle w tau du tau ds epnewketxrsimitikhxngkhwamerng xnung phcnaerkdankhwasmkarbiexmthi aesdngthungprakdkarnkhnsngaefrmi wxlkekxr Fermi Walker transport sungthaihekidkarhmunkhwngothms swnphcnthisxngaesdngthungkarhmunkhwnglaremxrhaksnamaemehlkiffaepnaebbsmaesmx khnadethakn thisthangediywkntlxd hruxinkrnithitxngkarimkhidthungphlkhxngaerngcakkhwamtangsky m B displaystyle nabla boldsymbol mu cdot boldsymbol B karekhluxnthiaebbeluxntaaehnngkhxngxnuphakhsamarthxthibayidodysmkar d u a d t e m F a b u b displaystyle du alpha over d tau e over m F alpha beta u beta caknn smkarbiexmthisamarthekhiynidepn 4 d S a d t e m g 2 F a b S b g 2 1 u a S l F l m U m displaystyle dS alpha over d tau e over m bigg g over 2 F alpha beta S beta left g over 2 1 right u alpha left S lambda F lambda mu U mu right bigg karprayuktich aekikhelf lneda aelaexfekni lifchits Evgeny Lifshitz idphyakrnkarkhnphbkarhmunkhwnglaremxrinsarefxroraemkentik emuxpi ph s 2478 sung 11 pitxmaidmikarthdlxngephuxphisucnyunynkhxkhwamdngklawkhwamthilarmxrepnsmbtikhxngniwekhliyssungichinkarsuksakarsrangphaphdwykarsnphxngphansnamaemehlk xielktrxnpharaaemkentikerosaenns aelamiwxxnspinsepkothrsokhpiechingxrrth aekikh Spin Dynamics Malcolm H Levitt Wiley 2001 Louis N Hand and Janet D Finch 1998 Analytical Mechanics Cambridge England Cambridge University Press p 192 ISBN 978 0 521 57572 0 V Bargmann L Michel and V L Telegdi Precession of the Polarization of Particles Moving in a Homogeneous Electromagnetic Field Phys Rev Lett 2 435 1959 Jackson J D Classical Electrodynamics 3rd edition Wiley 1999 p 563 aehlngkhxmulxun aekikhGeorgia State University HyperPhysics page on Larmor Frequency Larmor Frequency Calculator here raykarixosothpthiphbinkarsnphxngniwekhliysodyichaemehlkekhathungcak https th wikipedia org w index php title karhmunkhwnglaremxr amp oldid 5722564, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม