fbpx
วิกิพีเดีย

การเมือง

การเมือง (อังกฤษ: politics) คือ กระบวนการและวิธีการ ที่จะนำไปสู่การตัดสินใจของกลุ่มคน คำนี้มักจะถูกนำไปประยุกต์ใช้กับรัฐบาล แต่กิจกรรมทางการเมืองสามารถเกิดขึ้นได้ทั่วไปในทุกกลุ่มคนที่มีปฏิสัมพันธ์กัน ซึ่งรวมไปถึงใน บรรษัท, แวดวงวิชาการ และในวงการศาสนา

ฮาโรลด์ ลาสเวลล์ (Harold LasSwell) พหุปราชญ์อเมริกันคนหนึ่ง ได้นิยามการเมืองว่า เป็นการตัดสินว่า "ใครจะได้อะไร เมื่อใด และอย่างไร"

วิชาแนะแนวคือ วิชาที่ศึกษาพฤติกรรมทางการเมือง และวิเคราะห์การได้มาซึ่งอำนาจและการนำอำนาจไปใช้ ซึ่งหมายถึง ความสามารถที่จะบังคับให้ผู้อื่นกระทำตามสิ่งที่ตนตั้งใจ

แนวความคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการเมือง

เราอาจเคยสงสัยและตั้งคำถามว่า เหตุใดมนุษย์จึงต้องปกครองกัน ทำไมไม่ปล่อยให้มนุษย์อยู่กันเอง กระทั่งอาจเคยได้ยินคำกล่าวที่ว่า การเมืองกับการปกครองเป็นเรื่องใกล้ตัว ซึ่งหลายคนจำเพาะในกลุ่มผู้ที่ขาดความสนใจต่อความเป็นมาในกิจการทางการเมืองอาจฟังดูไม่กระจ่างนัก ว่าเป็นเรื่องใกล้ตัวประการใด.

คำตอบต่อความสงสัยข้อแรกนั้นโยงใยไปถึงข้อความต่อมากล่าวคือ มนุษย์นั้นโดยธรรมชาติเป็นสัตว์สังคม ที่ต้องอาศัยอยู่รวมกันเป็นกลุ่มเป็นหมู่คณะ เมื่อมนุษย์มาอยู่ร่วมกัน หากมิได้กำหนดกติกาอะไรสักอย่างขึ้นมากำกับการอยู่ร่วมกันของมนุษย์แล้วนั้น มนุษย์ด้วยกันเองยังเชื่อว่าน่าจะก่อให้เกิดความสับสนวุ่นวายขึ้นในสังคมและการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ เนื่องจากโดยธรรมชาติของมนุษย์นั้น ป่าเถื่อน ขลาดกลัวและไม่เป็นระเบียบดังที่ โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) นักปรัชญาการเมืองโบราณ ซึ่งมีชีวิตอยู่ในช่วงปี ค.ศ. 1588-1679 ได้เคยกล่าวไว้ในผลงานปรัชญาการเมืองเลื่องชื่อเรื่อง “Leviathan” ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1651 ว่า เมื่อมนุษย์จำเป็นต้องอาศัยอยู่ร่วมกันในสังคมภายใต้กติกาแล้ว ก็จำเป็นจะต้องกำหนดตัวผู้นำมาทำหน้าที่ควบคุมดูแลให้สังคมหรือการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ดำเนินไปได้ด้วยความเรียบร้อย เช่นที่กล่าวมาเราคงพอจะทราบบ้างแล้วว่าเหตุใดจึงเกิดมีระบบการปกครองขึ้น

และโดยนัยที่มนุษย์จำต้องปกครองกันนั้น หากเกิดปัญหาขึ้นในระหว่างมนุษย์ด้วยกัน หรือการจะทำให้สังคมมีความเจริญก้าวหน้าขึ้นไป หลีกเลี่ยงมิได้เสียที่จะต้องเกี่ยวข้องกับการใช้อำนาจทางการเมือง อันมีความหมายและบริบทที่สะท้อนออกมาในเรื่องของการใช้อำนาจเพื่อการปกครองประชาชน การเมืองการปกครองซึ่งเป็นสภาพการณ์และผลที่เกิดจากการกระทำของมนุษย์ (Eulau 1963, 3) จึงเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับชีวิตของมนุษย์อย่างมิอาจปฏิเสธได้ ซึ่งก็เป็นธรรมดาอยู่เองที่ผู้ใดก็ตาม จำเป็นต้องให้ความสนใจกับเรื่องการเมืองการปกครองไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เนื่องจากสิ่งใดที่ออกมาจากสถาบันทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนิติบัญญัติที่ทำหน้าที่ในการตรากฎหมายต่าง ๆ เพื่อบังคับใช้ มาจากรัฐบาลในรูปของนโยบายสาธารณะ (Public Policies) โครงการพัฒนา (Developmental Program) และงานต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นหรือดำเนินไปโดยภาคราชการ รวมไปถึงการตัดสินคดีความหรือข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลต่อบุคคล และบุคคลกับรัฐ เหล่านี้ล้วนแต่เป็นเรื่องที่การเมืองส่งผลกระทบต่อทุกคนอย่างที่ไม่อาจมองข้ามไปได้

โดยบริบทดังกล่าวการศึกษาเรื่องการเมืองและการปกครองของประเทศ จึงเป็นสิ่งที่ถูกบรรจุอยู่ในแทบทุกสาขาวิชาในระดับอุดมศึกษาให้นักศึกษาได้ร่ำเรียน ทำความรู้ความเข้าใจในฐานะที่เป็นสมาชิกคนหนึ่งในสังคม และเป็นเรื่องภาคราชการทั้งหลายต่างรณรงค์ให้ความรู้แก่ประชาชนทั่วไป ภายใต้ความมุ่งประสงค์ที่จะหยั่งรากประชาธิปไตยในสังคมไทย และหากได้มองย้อนไปถึงแนวคิดของนักปรัชญาการเมืองโบราณเช่น อริสโตเติล (Aristotle) ปรัชญาเมธีชาวกรีกโบราณ ซึ่งได้รับยกย่องว่าเป็น “บิดาแห่งวิชารัฐศาสตร์” ผู้กล่าวไว้ว่า มนุษย์ตามธรรมชาติเป็นสัตว์การเมืองต้องอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มหรือชุมชน อันแตกต่างไปจากสัตว์โลกอื่น ๆ ซึ่งใช้ชีวิตอยู่ด้วยสัญชาตญาณเป็นหลัก หากแต่มนุษย์ นอกจากจะอยู่ด้วยสัญชาตญาณแล้ว ยังมีเป้าหมายอยู่ร่วมกันอีกด้วย ดังนั้นการอยู่ร่วมกันของมนุษย์จึงมิใช่มีชีวิตอยู่ไปเพียงวันๆหนึ่งเท่านั้น หากแต่เป็นการอยู่ร่วมกันเพื่อจะให้มีชีวิตที่ดีขึ้นอีกด้วย เราก็จะมองเห็นภาพของการเมืองในแง่หนึ่งว่าการเมืองนั้นก็คือ การอยู่ร่วมกันของมนุษย์ในชุมชนหรือสังคมเพื่อให้มีความสงบสุข

ความหมายของการเมือง

ในทางทฤษฎีรัฐศาสตร์ มุมมองที่ใช้พิจารณาการเมืองหรือพูดเป็นศัพท์ทางวิชาการก็คือแนวการศึกษาวิเคราะห์การเมือง (Approach to Political Analysis) ก็ย่อมแตกต่างกันออกไปบ้างตามแต่ใครจะเห็นว่าแนวการมองการเมืองนั้นเป็นสิ่งที่ใกล้เคียงต่อการอธิบายความเป็นการเมืองได้มากที่สุด โดยคำว่า “การเมือง” นี้ นักวิชาการด้านรัฐศาสตร์ ได้ให้ความหมายไว้แตกต่างกันไปบ้างในรายละเอียด ตามแต่จะใช้ตัวแบบใดในการศึกษาวิเคราะห์ปรากฏการณ์ทางการเมือง และด้วยตัวแบบที่เป็นกรอบในการศึกษาวิเคราะห์นี้ จะยังผลให้กรอบการมองคำว่าการเมืองต่างกันไป ในขณะที่สาระสำคัญของคำจำกัดความเป็นไปในทำนองเดียวกันกล่าวคือเป็นเรื่องของการใช้อำนาจแบบสองทางระหว่างฝ่ายที่เป็นผู้ปกครอง (Rulers) และฝ่ายผู้ถูกปกครอง (Ruled) ดังจะได้ยกมากล่าวถึง ซึ่งสำหรับผู้ศึกษารัฐศาสตร์มือใหม่แล้ว การทำความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของคำว่าการเมืองนั้น จึงดูจะเป็นเรื่องที่สร้างความสับสนอยู่มิใช่น้อย เนื่องมาจากความหมายของการเมืองที่ปรากฏอยู่ในตำราเล่มต่าง ๆ ที่เขียนขึ้นเผยแพร่นั้นมีอยู่หลากหลายต่างกันไปตามความเจตนารมณ์และมุ่งประสงค์ในการนำความหมายของการเมืองเพื่อไปอธิบายปรากฏการณ์ของผู้ให้คำนิยามความหมายของการเมือง ดังได้กล่าวไปแล้ว

คำจำกัดความของการเมืองที่ชัดเจนและรัดกุมมากที่สุดโดยนัยที่ได้กล่าวไปนี้ พิจารณาได้จากทัศนะของชัยอนันต์ สมุทวณิช (2517, 61) ที่ว่า การเมืองเป็นเรื่องเกี่ยวกับรูปของรัฐและการจัดระเบียบความสัมพันธ์ภายในรัฐระหว่างผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง โดยเมื่อสังคมมนุษย์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องมีรัฐบาล คนเราจึงต้องแบ่งออกเป็นสองพวกใหญ่ ๆ คือ ผู้ที่ทำหน้าที่บังคับกับผู้ถูกบังคับเสมอ

ผู้เรียบเรียงได้รวบรวมและประมวลคำนิยามหรือความหมายของคำว่าการเมือง มานำเสนอโดยจำแนกได้เป็น 6 กลุ่ม ดังนี้

กลุ่มแรก การเมืองเป็นเรื่องของอำนาจ โดยเป็นการต่อสู้กันเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจและอิทธิพลในการบริหารกิจการบ้านเมือง โดยคำนิยามของการเมืองในเชิงอำนาจที่น่าสนใจอันหนึ่ง ที่ได้ให้คำอธิบายที่ชัดเจนมากได้แก่นิยามของ เพนนอคและสมิธ (Pennock and Smith 1964, 9) ที่กล่าวว่า การเมือง หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวกับอำนาจ สถาบันและองค์กรในสังคม ซึ่งได้รับการยอมรับว่ามีอำนาจเด็ดขาดครอบคลุมสังคมนั้น ในการสถาปนาและทำนุรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อยของสังคม มีอำนาจในการทำให้จุดประสงค์ร่วมกันของสมาชิกในสังคมได้บังเกิดผลขึ้นมา และมีอำนาจในการประนีประนอมความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม

อีกหนึ่งคำนิยามการเมืองที่ถือได้ว่าครอบคลุมและช่วยให้เห็นภาพความเกี่ยวพันของการเมืองกับบุคคลในสังคมได้แก่ ณรงค์ สินสวัสดิ์ (2539, 3) ที่กล่าวว่า การเมืองเป็นการต่อสู้ช่วงชิง การรักษาไว้และการใช้อำนาจทางการเมือง โดยที่อำนาจทางการเมืองหมายถึง อำนาจในการที่จะวางนโยบายในการบริหารประเทศหรือสังคม อำนาจที่จะแต่งตั้งบุคคลเพื่อช่วยในการนำนโยบายไปปฏิบัติ และ อำนาจที่จะใช้ข้าราชการ งบประมาณหรือเครื่องมืออื่น ๆ ในการนำนโยบายไปปฏิบัติ แนวการมองการเมืองเป็นเรื่องของอำนาจ (Power Approach) ดังที่ได้ยกตัวอย่างไปนี้ เป็นแนวทางการศึกษาหนึ่งที่ได้รับความนิยมชมชอบในหมู่นักรัฐศาสตร์และนักสังคมศาสตร์ทั่วไป ที่เห็นว่าการเมืองเป็นเรื่องหรือมีบริบทเกี่ยวกับการใช้อำนาจเพื่อการปกครองประชาชน ก็มักให้คำนิยามของการเมืองว่าเป็นปฏิสัมพันธ์ในเชิงการใช้อำนาจของรัฐาธิปัตย์ ต่อผู้อยู่ใต้อำนาจซึ่งก็คือประชาชนนั่นเอง โดยคำนิยามเช่นนี้ สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่ออกมาจากสถาบันทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายนิติบัญญัติที่ทำหน้าที่ในการตรากฎหมายต่าง ๆ เพื่อบังคับใช้ มาจากรัฐบาลในรูปของนโยบายสาธารณะ (Public Policies) โครงการพัฒนา (development program) และงานต่าง ๆ ที่ประกอบขึ้นหรือดำเนินไปโดยภาคราชการ รวมไปถึงการตัดสินคดีความหรือข้อพิพาทที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลต่อบุคคล และบุคคลกับรัฐ จึงล้วนแต่เป็นเรื่องที่การเมืองส่งผลกระทบต่อนักศึกษาและบุคคลทั่วไป โดยบริบทดังกล่าวการศึกษาเรื่องการเมืองและการปกครองของประเทศ จึงเป็นสิ่งที่ถูกบรรจุอยู่ในแทบทุกสาขาวิชาในระดับอุดมศึกษาให้นักศึกษาได้ร่ำเรียน ทำความรู้ความเข้าใจในฐานะที่อย่างน้อยก็เป็นสมาชิกคนหนึ่งในสังคม และเป็นความรู้หนึ่งที่ประเทศที่ปกครองโดยระบอบประชาธิปไตยสมควรสั่งสมให้แก่พลเมืองของรัฐ เพื่อประโยชน์เป็นพื้นฐานของการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตย

นักรัฐศาสตร์บางท่านมองว่า แท้จริงนั้น การเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องการต่อสู่แย่งชิงกันของกลุ่มผลประโยชน์ (Interest Group) ที่ดำเนินกิจกรรมทางการเมืองต่าง ๆ ในอันที่จะแย่งชิงกันเข้าสู่อำนาจการบริหารประเทศ หรืออย่างน้อยที่สุดก็ให้ผลผลิตจากระบบการเมือง (Political Outputs-ผลผลิตของระบบการเมือง เป็นคำศัพท์เทคนิคทางรัฐศาสตร์ตามทัศนะของอีสตัน (David Easton) นักรัฐศาสตร์อเมริกัน ที่ได้ชื่อว่าเป็นเจ้าของแนวคิดทฤษฎีการเมืองเชิงระบบ (the Systems Theory) อันได้แก่ นโยบาย กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ โครงการหรือแผนงานพัฒนาของภาครัฐและภาคราชการ ซึ่งผลในทางที่เป็นประโยชน์ต่อกลุ่มของตนมากที่สุด เราเรียกการวิเคราะห์การเมืองแนวทางนี้ว่าเป็น การวิเคราะห์เชิงกลุ่มผลประโยชน์ ซึ่งดูไปก็เป็นส่วนสำคัญหนึ่งของแนวการมองการเมืองเชิงอำนาจที่จะกล่าวถึงต่อไป ความหมายของการเมืองในมุมมองนี้ จึงเป็นว่า การเมืองการเมืองคือการที่บุคคลใดหรือกลุ่มใดในสังคม ซึ่งอาจมีผลประโยชน์ร่วมกัน หรือขัดกันก็ตาม หรือมีความเห็นเหมือนกันหรือไม่เหมือนกันก็ตาม มาทำการต่อสู้เพื่อสรรหาบุคคลมาทำหน้าที่ในการปกครองและเพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจที่จะให้เขาสามารถตัดสินใจในเรื่องของส่วนรวมได้โดยชอบธรรม ซึ่งจัดเป็นแนวที่นักรัฐศาสตร์เชิงพฤติกรรมการเมือง (Political Scientist) นิยมกัน

กลุ่มที่สอง มองว่า การเมืองเป็นเรื่องของการจัดสรรทรัพยากรของรัฐหรือสิ่งที่มีคุณค่าทางสังคม ดังเช่นมุมมองของอีสตัน (David Easton) ซึ่งได้อธิบายไว้ว่า การเมือง เป็นการใช้อำนาจหน้าที่ในการจัดสรรแจกแจงสิ่งที่มีคุณค่าต่าง ๆ ให้กับสังคมอย่างชอบธรรม (The authoritative allocation of values to society) ความหมายของการเมืองดังที่ยกตัวอย่างมานี้ เป็นนิยามที่ได้รับการยอมรับอย่างสูงจากสำนักพหุนิยม (Pluralism) อย่างไรก็ดี ชัยอนันต์ สมุทวณิช (2535, 4-5) อธิบายว่า เราจะใช้ความหมายการเมืองดังกล่าวนี้ได้ก็ต่อเมื่อ ในสังคมนั้น ๆ บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้รับผลกระทบจากทั้งทางตรงและทางอ้อม มีความเห็นพ้องต้องกันและยอมรับในกติกาที่กำหนดการใช้อำนาจเพื่อแบ่งปันสิ่งที่มีคุณค่าเท่านั้น ส่วนในสังคมที่ยังไม่มีความเห็นพ้องต้องกันเกี่ยวกับกติกาการกำหนดสิ่งที่มีคุณค่าในสังคม ชัยอนันต์ อธิบายว่า การเมืองยังคงเป็นเรื่องของการแข่งขันกันเพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ในการแบ่งปันคุณค่าที่ให้ประโยชน์แก่ฝ่ายตนมากที่สุด เท่าที่จะเป็นได้ หรือ “The competition for the authority to determine the authoritative allocation of values to society” โดยนัยเช่นนี้ การเมืองจึงมีสองระดับ ระดับแรก การเมืองอยู่ภายใต้การแข่งขัน ขัดแย้งของฝ่ายต่าง ๆ เพื่อให้ได้มาซึ่งอำนาจทางการเมืองที่ทุก ๆ ฝ่ายยอมรับได้ ในขณะที่การเมืองในความหมายอย่างแรกดังทัศนะของนักคิดกลุ่มพหุนิยมที่ได้กล่าวไปแล้ว ดูจะยอมรับในจุดเน้นว่ารัฐ เป็นการรวมกันหรือประกอบกันของกลุ่มหลากหลายในสังคม และรัฐมิได้เป็นเครื่องมือทางการบริหาร โดยที่มิได้เป็นตัวกระทำทางการเมือง (actors) ที่จะชี้นำการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและเศรษฐกิจ แต่รัฐเป็นเพียงรัฐบาล (State as government) ที่ทำหน้าที่เพียงเอื้ออำนวยความสะดวกในการแข่งขันกันของกลุ่มหลากหลายเท่านั้น (ชัยอนันต์ สมุทวณิช 2535, 6)

นอกจากนี้ คำนิยามการเมืองในกลุ่มที่สอง ซึ่งได้รับการกล่าวถึงอย่างสูงยังได้แก่ ทัศนะของลาสเวลล์ (Harold D. Lasswell) ที่กล่าวว่า การเมือง เป็นเรื่องของการศึกษาเกี่ยวกับอิทธิพลและผู้มีอิทธิพล และการเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับว่า ใคร ทำอะไร เมื่อไร และอย่างไร (Politics is, who gets “What”, “When” and “How”)

กลุ่มที่สาม มองว่า การเมืองเป็นเรื่องของความขัดแย้ง ทั้งนี้เนื่องจากทรัพยากรของชาติที่มีอยู่อย่างจำกัด ขณะที่ผู้คนซึ่งต้องการใช้ทรัพยากรนั้นมีอยู่มากและความต้องการใช้ไม่มีขีดจำกัด การเมืองจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการที่คนในสังคมไม่อาจตกลงกันได้หรือเกิดมีความขัดแย้งขึ้น อย่างไรก็ดี การมองการเมืองในลักษณะนี้มีข้อโต้แย้งอยู่มากว่า หากไม่อาจยุติข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้ บ้านเมืองย่อมตกอยู่ในสภาวะยุ่งยากวุ่นวาย ต่อมาจึงมีผู้ให้มุมมองการเมืองใหม่ว่าเป็นเรื่องของการประนีประนอมความขัดแย้งมากว่าเป็นเรื่องของความขัดแย้ง

กลุ่มที่สี่ มองว่าการเมืองเป็นเรื่องของการประนีประนอมผลประโยชน์ เพื่อหลีกเลี่ยงมิให้เกิดความขัดแย้งจากการดำเนินงานทางการเมืองที่ไม่มีทางออก

กลุ่มที่ห้า ถือว่าการเมืองเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับรัฐและการบริหารประเทศในกิจกรรมหลัก 3 ด้านคือ งานที่เกี่ยวกับรัฐ การบริหารประเทศในส่วนที่เกี่ยวกับนโยบาย และการอำนวยการบริหารราชการแผ่นดินซึ่งเป็นการควบคุมให้มีการดำเนินงานตามนโยบาย ซึ่งหากพิจารณาให้ละเอียดแล้ว การเมืองโดยนัยยะความหมายประการนี้ เป็นเรื่องที่คาบเกี่ยวกับการเมืองในความหมายเชิงอำนาจ ซึ่งก็เป็นเพราะอำนาจทางการเมืองนั้น ได้ถูกนำไปใช้ผ่านกระบวนการนโยบายและการแต่งตั้งคัดสรรผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ (ข้าราชการและเจ้าหน้าที่ของรัฐ) ในรูปของอำนาจและการปฏิบัติงานทางการปกครอง และแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างการเมืองและการบริหารหรือการปกครองที่ยากจะแยกออกจากกันได้

กลุ่มที่หก การเมืองเป็นเรื่องของการกำหนดนโยบายของรัฐ กล่าวคือ การเมืองคือกิจกรรมใดใดที่เกี่ยวกับการกำหนดนโยบาย หน่วยงานและเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการกำหนดนโยบาย โดยนัยหนึ่ง การเมืองก็คือกระบวนการกำหนดนโยบายของรัฐ นั่นเอง

อ้างอิง

  • ชัยอนันต์ สมุทวณิช.2517. ความคิดอิสระ : รวมบทความทางการเมืองระหว่างปี 2511-2516. กรุงเทพฯ: พิฆเณศ
  • ชัยอนันต์ สมุทวณิช. 2535. รัฐ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ณรงค์ สินสวัสดิ์. 2539. การเมืองไทย: การวิเคราะห์เชิงจิตวิทยา. กรุงเทพฯ: วัชรินทร์การพิมพ์
  • Eulau, Heinz. 1963. The Behavioral Persuation in Politics. New York: Random House
  • Pennock, Roland J., and Smith, David G. 1964. Political Science. New York: McMillan

ดูเพิ่ม

การเม, อง, มมองและกรณ, วอย, างในบทความน, อาจไม, ได, แสดงถ, งม, มมองท, เป, นสากลของเร, องค, ณสามารถช, วยแก, ไขบทความน, โดยเพ, มม, มมองสากลให, มากข, หร, อแยกประเด, นย, อยไปสร, างเป, นบทความใหม, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไรและเม, อไร, งกฤษ, politics. mummxngaelakrnitwxyanginbthkhwamnixacimidaesdngthungmummxngthiepnsaklkhxngeruxngkhunsamarthchwyaekikhbthkhwamni odyephimmummxngsaklihmakkhun hruxaeykpraednyxyipsrangepnbthkhwamihm eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir karemuxng xngkvs politics khux krabwnkaraelawithikar thicanaipsukartdsinickhxngklumkhn khanimkcathuknaipprayuktichkbrthbal aetkickrrmthangkaremuxngsamarthekidkhunidthwipinthukklumkhnthimiptismphnthkn sungrwmipthungin brrsth aewdwngwichakar aelainwngkarsasnahaorld lasewll Harold LasSwell phhuprachyxemriknkhnhnung idniyamkaremuxngwa epnkartdsinwa ikhrcaidxair emuxid aelaxyangir wichaaenaaenwkhux wichathisuksaphvtikrrmthangkaremuxng aelawiekhraahkaridmasungxanacaelakarnaxanacipich sunghmaythung khwamsamarththicabngkhbihphuxunkrathatamsingthitntngic enuxha 1 aenwkhwamkhidebuxngtnekiywkbkaremuxng 2 khwamhmaykhxngkaremuxng 3 xangxing 4 duephimaenwkhwamkhidebuxngtnekiywkbkaremuxng aekikheraxacekhysngsyaelatngkhathamwa ehtuidmnusycungtxngpkkhrxngkn thaimimplxyihmnusyxyuknexng krathngxacekhyidyinkhaklawthiwa karemuxngkbkarpkkhrxngepneruxngikltw sunghlaykhncaephaainklumphuthikhadkhwamsnictxkhwamepnmainkickarthangkaremuxngxacfngduimkracangnk waepneruxngikltwprakarid khatxbtxkhwamsngsykhxaerknnoyngiyipthungkhxkhwamtxmaklawkhux mnusynnodythrrmchatiepnstwsngkhm thitxngxasyxyurwmknepnklumepnhmukhna emuxmnusymaxyurwmkn hakmiidkahndktikaxairskxyangkhunmakakbkarxyurwmknkhxngmnusyaelwnn mnusydwyknexngyngechuxwanacakxihekidkhwamsbsnwunwaykhuninsngkhmaelakarxyurwmknkhxngmnusy enuxngcakodythrrmchatikhxngmnusynn paethuxn khladklwaelaimepnraebiybdngthi othms hxbs Thomas Hobbes nkprchyakaremuxngobran sungmichiwitxyuinchwngpi kh s 1588 1679 idekhyklawiwinphlnganprchyakaremuxngeluxngchuxeruxng Leviathan tiphimphinpi kh s 1651 wa emuxmnusycaepntxngxasyxyurwmkninsngkhmphayitktikaaelw kcaepncatxngkahndtwphunamathahnathikhwbkhumduaelihsngkhmhruxkarxyurwmknkhxngmnusydaeninipiddwykhwameriybrxy echnthiklawmaerakhngphxcathrabbangaelwwaehtuidcungekidmirabbkarpkkhrxngkhunaelaodynythimnusycatxngpkkhrxngknnn hakekidpyhakhuninrahwangmnusydwykn hruxkarcathaihsngkhmmikhwamecriykawhnakhunip hlikeliyngmiidesiythicatxngekiywkhxngkbkarichxanacthangkaremuxng xnmikhwamhmayaelabribththisathxnxxkmaineruxngkhxngkarichxanacephuxkarpkkhrxngprachachn karemuxngkarpkkhrxngsungepnsphaphkarnaelaphlthiekidcakkarkrathakhxngmnusy Eulau 1963 3 cungepnsingthiekiywkhxngsmphnthkbchiwitkhxngmnusyxyangmixacptiesthid sungkepnthrrmdaxyuexngthiphuidktam caepntxngihkhwamsnickberuxngkaremuxngkarpkkhrxngimthangidkthanghnung enuxngcaksingidthixxkmacaksthabnthangkaremuxng imwacaepnfaynitibyytithithahnathiinkartrakdhmaytang ephuxbngkhbich macakrthbalinrupkhxngnoybaysatharna Public Policies okhrngkarphthna Developmental Program aelangantang thiprakxbkhunhruxdaeninipodyphakhrachkar rwmipthungkartdsinkhdikhwamhruxkhxphiphaththiekidkhunrahwangbukhkhltxbukhkhl aelabukhkhlkbrth ehlanilwnaetepneruxngthikaremuxngsngphlkrathbtxthukkhnxyangthiimxacmxngkhamipidodybribthdngklawkarsuksaeruxngkaremuxngaelakarpkkhrxngkhxngpraeths cungepnsingthithukbrrcuxyuinaethbthuksakhawichainradbxudmsuksaihnksuksaidraeriyn thakhwamrukhwamekhaicinthanathiepnsmachikkhnhnunginsngkhm aelaepneruxngphakhrachkarthnghlaytangrnrngkhihkhwamruaekprachachnthwip phayitkhwammungprasngkhthicahyngrakprachathipityinsngkhmithy aelahakidmxngyxnipthungaenwkhidkhxngnkprchyakaremuxngobranechn xrisotetil Aristotle prchyaemthichawkrikobran sungidrbykyxngwaepn bidaaehngwicharthsastr phuklawiwwa mnusytamthrrmchatiepnstwkaremuxngtxngxasyxyurwmknepnklumhruxchumchn xnaetktangipcakstwolkxun sungichchiwitxyudwysychatyanepnhlk hakaetmnusy nxkcakcaxyudwysychatyanaelw yngmiepahmayxyurwmknxikdwy dngnnkarxyurwmknkhxngmnusycungmiichmichiwitxyuipephiyngwnhnungethann hakaetepnkarxyurwmknephuxcaihmichiwitthidikhunxikdwy erakcamxngehnphaphkhxngkaremuxnginaenghnungwakaremuxngnnkkhux karxyurwmknkhxngmnusyinchumchnhruxsngkhmephuxihmikhwamsngbsukhkhwamhmaykhxngkaremuxng aekikhinthangthvsdirthsastr mummxngthiichphicarnakaremuxnghruxphudepnsphththangwichakarkkhuxaenwkarsuksawiekhraahkaremuxng Approach to Political Analysis kyxmaetktangknxxkipbangtamaetikhrcaehnwaaenwkarmxngkaremuxngnnepnsingthiiklekhiyngtxkarxthibaykhwamepnkaremuxngidmakthisud odykhawa karemuxng ni nkwichakardanrthsastr idihkhwamhmayiwaetktangknipbanginraylaexiyd tamaetcaichtwaebbidinkarsuksawiekhraahpraktkarnthangkaremuxng aeladwytwaebbthiepnkrxbinkarsuksawiekhraahni cayngphlihkrxbkarmxngkhawakaremuxngtangknip inkhnathisarasakhykhxngkhacakdkhwamepnipinthanxngediywknklawkhuxepneruxngkhxngkarichxanacaebbsxngthangrahwangfaythiepnphupkkhrxng Rulers aelafayphuthukpkkhrxng Ruled dngcaidykmaklawthung sungsahrbphusuksarthsastrmuxihmaelw karthakhwamekhaicekiywkbkhwamhmaykhxngkhawakaremuxngnn cungducaepneruxngthisrangkhwamsbsnxyumiichnxy enuxngmacakkhwamhmaykhxngkaremuxngthipraktxyuintaraelmtang thiekhiynkhunephyaephrnnmixyuhlakhlaytangkniptamkhwamectnarmnaelamungprasngkhinkarnakhwamhmaykhxngkaremuxngephuxipxthibaypraktkarnkhxngphuihkhaniyamkhwamhmaykhxngkaremuxng dngidklawipaelwkhacakdkhwamkhxngkaremuxngthichdecnaelardkummakthisudodynythiidklawipni phicarnaidcakthsnakhxngchyxnnt smuthwnich 2517 61 thiwa karemuxngepneruxngekiywkbrupkhxngrthaelakarcdraebiybkhwamsmphnthphayinrthrahwangphupkkhrxngaelaphuthukpkkhrxng odyemuxsngkhmmnusyyngmikhwamcaepnthicatxngmirthbal khneracungtxngaebngxxkepnsxngphwkihy khux phuthithahnathibngkhbkbphuthukbngkhbesmxphueriyberiyngidrwbrwmaelapramwlkhaniyamhruxkhwamhmaykhxngkhawakaremuxng manaesnxodycaaenkidepn 6 klum dngniklumaerk karemuxngepneruxngkhxngxanac odyepnkartxsuknephuxihidmasungxanacaelaxiththiphlinkarbriharkickarbanemuxng odykhaniyamkhxngkaremuxnginechingxanacthinasnicxnhnung thiidihkhaxthibaythichdecnmakidaekniyamkhxng ephnnxkhaelasmith Pennock and Smith 1964 9 thiklawwa karemuxng hmaythung thuksingthukxyangthiekiywkbxanac sthabnaelaxngkhkrinsngkhm sungidrbkaryxmrbwamixanaceddkhadkhrxbkhlumsngkhmnn inkarsthapnaaelathanurksakhwamepnraebiyberiybrxykhxngsngkhm mixanacinkarthaihcudprasngkhrwmknkhxngsmachikinsngkhmidbngekidphlkhunma aelamixanacinkarpranipranxmkhwamkhidehnthiaetktangknkhxngkhninsngkhmxikhnungkhaniyamkaremuxngthithuxidwakhrxbkhlumaelachwyihehnphaphkhwamekiywphnkhxngkaremuxngkbbukhkhlinsngkhmidaek nrngkh sinswsdi 2539 3 thiklawwa karemuxngepnkartxsuchwngching karrksaiwaelakarichxanacthangkaremuxng odythixanacthangkaremuxnghmaythung xanacinkarthicawangnoybayinkarbriharpraethshruxsngkhm xanacthicaaetngtngbukhkhlephuxchwyinkarnanoybayipptibti aela xanacthicaichkharachkar ngbpramanhruxekhruxngmuxxun inkarnanoybayipptibti aenwkarmxngkaremuxngepneruxngkhxngxanac Power Approach dngthiidyktwxyangipni epnaenwthangkarsuksahnungthiidrbkhwamniymchmchxbinhmunkrthsastraelanksngkhmsastrthwip thiehnwakaremuxngepneruxnghruxmibribthekiywkbkarichxanacephuxkarpkkhrxngprachachn kmkihkhaniyamkhxngkaremuxngwaepnptismphnthinechingkarichxanackhxngrthathipty txphuxyuitxanacsungkkhuxprachachnnnexng odykhaniyamechnni singhnungsingidthixxkmacaksthabnthangkaremuxng imwacaepnfaynitibyytithithahnathiinkartrakdhmaytang ephuxbngkhbich macakrthbalinrupkhxngnoybaysatharna Public Policies okhrngkarphthna development program aelangantang thiprakxbkhunhruxdaeninipodyphakhrachkar rwmipthungkartdsinkhdikhwamhruxkhxphiphaththiekidkhunrahwangbukhkhltxbukhkhl aelabukhkhlkbrth cunglwnaetepneruxngthikaremuxngsngphlkrathbtxnksuksaaelabukhkhlthwip odybribthdngklawkarsuksaeruxngkaremuxngaelakarpkkhrxngkhxngpraeths cungepnsingthithukbrrcuxyuinaethbthuksakhawichainradbxudmsuksaihnksuksaidraeriyn thakhwamrukhwamekhaicinthanathixyangnxykepnsmachikkhnhnunginsngkhm aelaepnkhwamruhnungthipraethsthipkkhrxngodyrabxbprachathipitysmkhwrsngsmihaekphlemuxngkhxngrth ephuxpraoychnepnphunthankhxngkarmiswnrwmthangkaremuxngkarpkkhrxnginrabxbprachathipitynkrthsastrbangthanmxngwa aethcringnn karemuxngepneruxngthiekiywkhxngkartxsuaeyngchingknkhxngklumphlpraoychn Interest Group thidaeninkickrrmthangkaremuxngtang inxnthicaaeyngchingknekhasuxanackarbriharpraeths hruxxyangnxythisudkihphlphlitcakrabbkaremuxng Political Outputs phlphlitkhxngrabbkaremuxng epnkhasphthethkhnikhthangrthsastrtamthsnakhxngxistn David Easton nkrthsastrxemrikn thiidchuxwaepnecakhxngaenwkhidthvsdikaremuxngechingrabb the Systems Theory xnidaek noybay kdhmay raebiybkhxbngkhb okhrngkarhruxaephnnganphthnakhxngphakhrthaelaphakhrachkar sungphlinthangthiepnpraoychntxklumkhxngtnmakthisud eraeriykkarwiekhraahkaremuxngaenwthangniwaepn karwiekhraahechingklumphlpraoychn sungduipkepnswnsakhyhnungkhxngaenwkarmxngkaremuxngechingxanacthicaklawthungtxip khwamhmaykhxngkaremuxnginmummxngni cungepnwa karemuxngkaremuxngkhuxkarthibukhkhlidhruxklumidinsngkhm sungxacmiphlpraoychnrwmkn hruxkhdknktam hruxmikhwamehnehmuxnknhruximehmuxnknktam mathakartxsuephuxsrrhabukhkhlmathahnathiinkarpkkhrxngaelaephuxihidmasungxanacthicaihekhasamarthtdsinicineruxngkhxngswnrwmidodychxbthrrm sungcdepnaenwthinkrthsastrechingphvtikrrmkaremuxng Political Scientist niymknklumthisxng mxngwa karemuxngepneruxngkhxngkarcdsrrthrphyakrkhxngrthhruxsingthimikhunkhathangsngkhm dngechnmummxngkhxngxistn David Easton sungidxthibayiwwa karemuxng epnkarichxanachnathiinkarcdsrraeckaecngsingthimikhunkhatang ihkbsngkhmxyangchxbthrrm The authoritative allocation of values to society khwamhmaykhxngkaremuxngdngthiyktwxyangmani epnniyamthiidrbkaryxmrbxyangsungcaksankphhuniym Pluralism xyangirkdi chyxnnt smuthwnich 2535 4 5 xthibaywa eracaichkhwamhmaykaremuxngdngklawniidktxemux insngkhmnn bukhkhlhruxklumbukhkhlthiekiywkhxng sungidrbphlkrathbcakthngthangtrngaelathangxxm mikhwamehnphxngtxngknaelayxmrbinktikathikahndkarichxanacephuxaebngpnsingthimikhunkhaethann swninsngkhmthiyngimmikhwamehnphxngtxngknekiywkbktikakarkahndsingthimikhunkhainsngkhm chyxnnt xthibaywa karemuxngyngkhngepneruxngkhxngkaraekhngkhnknephuxkahndhlkeknthinkaraebngpnkhunkhathiihpraoychnaekfaytnmakthisud ethathicaepnid hrux The competition for the authority to determine the authoritative allocation of values to society odynyechnni karemuxngcungmisxngradb radbaerk karemuxngxyuphayitkaraekhngkhn khdaeyngkhxngfaytang ephuxihidmasungxanacthangkaremuxngthithuk fayyxmrbid inkhnathikaremuxnginkhwamhmayxyangaerkdngthsnakhxngnkkhidklumphhuniymthiidklawipaelw ducayxmrbincudennwarth epnkarrwmknhruxprakxbknkhxngklumhlakhlayinsngkhm aelarthmiidepnekhruxngmuxthangkarbrihar odythimiidepntwkrathathangkaremuxng actors thicachinakarepliynaeplngthangsngkhmaelaesrsthkic aetrthepnephiyngrthbal State as government thithahnathiephiyngexuxxanwykhwamsadwkinkaraekhngkhnknkhxngklumhlakhlayethann chyxnnt smuthwnich 2535 6 nxkcakni khaniyamkaremuxnginklumthisxng sungidrbkarklawthungxyangsungyngidaek thsnakhxnglasewll Harold D Lasswell thiklawwa karemuxng epneruxngkhxngkarsuksaekiywkbxiththiphlaelaphumixiththiphl aelakaremuxngepneruxngthiekiywkhxngkbwa ikhr thaxair emuxir aelaxyangir Politics is who gets What When and How klumthisam mxngwa karemuxngepneruxngkhxngkhwamkhdaeyng thngnienuxngcakthrphyakrkhxngchatithimixyuxyangcakd khnathiphukhnsungtxngkarichthrphyakrnnmixyumakaelakhwamtxngkarichimmikhidcakd karemuxngcungepneruxngthiekiywkhxngkbkarthikhninsngkhmimxactklngknidhruxekidmikhwamkhdaeyngkhun xyangirkdi karmxngkaremuxnginlksnanimikhxotaeyngxyumakwa hakimxacyutikhxkhdaeyngthiekidkhunid banemuxngyxmtkxyuinsphawayungyakwunway txmacungmiphuihmummxngkaremuxngihmwaepneruxngkhxngkarpranipranxmkhwamkhdaeyngmakwaepneruxngkhxngkhwamkhdaeyngklumthisi mxngwakaremuxngepneruxngkhxngkarpranipranxmphlpraoychn ephuxhlikeliyngmiihekidkhwamkhdaeyngcakkardaeninnganthangkaremuxngthiimmithangxxkklumthiha thuxwakaremuxngepneruxngthiekiywkbrthaelakarbriharpraethsinkickrrmhlk 3 dankhux nganthiekiywkbrth karbriharpraethsinswnthiekiywkbnoybay aelakarxanwykarbriharrachkaraephndinsungepnkarkhwbkhumihmikardaeninngantamnoybay sunghakphicarnaihlaexiydaelw karemuxngodynyyakhwamhmayprakarni epneruxngthikhabekiywkbkaremuxnginkhwamhmayechingxanac sungkepnephraaxanacthangkaremuxngnn idthuknaipichphankrabwnkarnoybayaelakaraetngtngkhdsrrphunanoybayipptibti kharachkaraelaecahnathikhxngrth inrupkhxngxanacaelakarptibtinganthangkarpkkhrxng aelaaesdngihehnthungkhwamsmphnthrahwangkaremuxngaelakarbriharhruxkarpkkhrxngthiyakcaaeykxxkcakknidklumthihk karemuxngepneruxngkhxngkarkahndnoybaykhxngrth klawkhux karemuxngkhuxkickrrmididthiekiywkbkarkahndnoybay hnwynganaelaekhruxngmuxtang thiichinkarkahndnoybay odynyhnung karemuxngkkhuxkrabwnkarkahndnoybaykhxngrth nnexngxangxing aekikhchyxnnt smuthwnich 2517 khwamkhidxisra rwmbthkhwamthangkaremuxngrahwangpi 2511 2516 krungethph phikhens chyxnnt smuthwnich 2535 rth phimphkhrngthi 3 krungethph culalngkrnmhawithyaly nrngkh sinswsdi 2539 karemuxngithy karwiekhraahechingcitwithya krungethph wchrinthrkarphimph Eulau Heinz 1963 The Behavioral Persuation in Politics New York Random House Pennock Roland J and Smith David G 1964 Political Science New York McMillanduephim aekikhkaremuxngithy ekhathungcak https th wikipedia org w index php title karemuxng amp oldid 9750713, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม