fbpx
วิกิพีเดีย

คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นคณะวิชาที่เน้นการบูรณาการศาสตร์แห่งการสื่อสาร คือ "นิเทศศาสตร์" กับ "เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร" เพื่อสร้างองค์ความรู้และผลิตบัณฑิตแห่ง "สังคมสารสนเทศ" (information society) และ "สังคมฐานความรู้" (knowledge-based society) ที่จะต้องพร้อมด้วยศักยภาพในการสื่อสาร การเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีอย่างเชี่ยวชาญ สร้างสรรค์ และรู้เท่าทัน อีกทั้งยังสามารถประยุกต์ความรู้เพื่อพัฒนาตนให้เป็นผู้นำทางวิชาชีพ ทางวิชาการ และทางสังคมในอนาคต

คณะวิทยาการสื่อสาร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วิทยาเขตปัตตานี
ชื่ออังกฤษFaculty of Communication Sciences, Prince of Songkla University
ที่อยู่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ตำบลรูสะมิแล อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี 94000
วันก่อตั้งพ.ศ. 2545
คณบดีดร.มูอัสซัล บิลแสละ
สีประจําคณะ███ สีเงิน
สัญลักษณ์ดอกชมพูพันธุ์ทิพย์
เว็บไซต์commsci.psu.ac.th

ประวัติ

เมื่อปี 2532 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี เล็งเห็นว่าคณะวิชาด้านการสื่อสารเป็นสาขาวิชาที่กำลังได้รับความสนใจจากนักเรียน และตลาดแรงงานในขณะนั้นเป็นอย่างมาก จึงได้ริเริ่มดำเนินการ “โครงการจัดตั้งคณะเทคโนโลยีและวิทยาการสื่อสารและสารสนเทศ” ซึ่งภายหลังได้เปลี่ยนเป็น “โครงการจัดตั้งคณะวิทยาการสื่อสาร” และได้เริ่มต้นร่างหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ และหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ในปี 2539

ต่อมาในปี 2540 ประเทศไทยประสบกับภาวะเศรษฐกิจวิกฤติ ทำให้การจัดตั้งหน่วยงานใหม่ภายในมหาวิทยาลัยหลายโครงการต้องหยุดชะงักไป รวมทั้งโครงการจัดตั้งคณะวิทยาการสื่อสารด้วย คณะกรรมการดำเนินงานฯ จึงร่วมมือกับภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เปิดสอนหลักสูตรวิชาโทนิเทศศาสตร์ โดยเริ่มรับนักศึกษาวิชาโทรุ่นแรกในปีการศึกษา 2542

จนกระทั่งในปีการศึกษา 2545 โครงการจัดตั้งคณะวิทยาการสื่อสารได้รับอนุมัติให้จัดตั้งเป็น “คณะวิทยาการสื่อสาร” เป็นหน่วยงานภายในของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และในปีเดียวกันนั้นก็ได้เปิดสอนและรับนักศึกษารุ่นแรก ในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ และในปีการศึกษา 2547 เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัดการ

ในปีการศึกษา 2548 คณะวิทยาการสื่อสารเปิดสอนอีก 2 หลักสูตร คือ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสื่อสารการตลาดเพื่อการพัฒนา และหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบสื่อและการผลิตสื่อ

วัตถุประสงค์

คณะวิทยาการสื่อสาร เป็นคณะวิชาที่เน้นวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่สามารถสนับสนุนการผลิต บัณฑิตอย่างมีคุณภาพ และนำไปสู่การพัฒนา และแก้ปัญหาชุมชนท้องถิ่น ประเทศและภูมิภาค

  1. เพื่อสร้างงานวิจัยที่มีคุณภาพ ได้องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการพัฒนาชุมชน และเป็นฐานในการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
  2. เพื่อปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กรให้บุคลากรทำวิจัยมากขึ้น และนำผลการวิจัยไปสู่การเรียนการสอน การเผยแพร่การบริการวิชาการ การยื่นขอสิทธิบัตรหรือการประยุกต์ใช้ในระดับที่สามารถแข่งขันได้
  3. เพื่อสร้างศักยภาพของบุคลากรและองค์กรในการแสวงหาทุนวิจัยทั้งภายในและต่างประเทศ และสร้างความสามารถในการพึ่งพาตนเองในด้านทุนวิจัย
  4. เพื่อร่วมพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นองค์ความรู้ มีคุณค่าและมีมูลค่าเพิ่ม อันเป็นการเพิ่มความเข้าใจท้องถิ่น เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและขยายผลสู่ระดับชาติและนานาชาติ
  5. เพื่อพัฒนาศักยภาพของภาคใต้และประเทศ ให้สามารถสร้างโอกาสและความเป็นผู้นำท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงและการแข่งขัน ในระดับภูมิภาคและระดับโลก โดยคำนึงถึงความสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาประเทศ
  6. เพื่อให้มีระบบการพัฒนางานวิจัย ผลงานทางวิชาการ มีโครงสร้างการบริหารงานวิจัย รวมทั้งระบบการสนับสนุนให้มีการเผยแพร่และการใช้ประโยชน์จากงานวิจัย

หน่วยงาน

  • ภาควิชานิเทศศาสตร์
  • ภาควิชาการสื่อสารการตลาดเพื่อการพัฒนา
  • ภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัดการ
  • ภาควิชานวัตกรรมการออกแบบสื่อและการผลิตสื่อ

หลักสูตร

ระดับปริญญาตรี

หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต

  • สาขาวิชานิเทศศาสตร์

หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต

  • สาขาวิชาการสื่อสารการตลาดเพื่อการพัฒนา

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต

  • สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัดการ
  • สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบสื่อและการผลิตสื่อ

กิจกรรมฝึกปฏิบัติ

  • กลุ่มข้าวยำการละคร
  • สถานีวิทยุฝึกปฏิบัติ CommSci Radio105.5
  • สถานีโทรทัศน์ฝึกปฏิบัติ CommSciTV
  • หนังสือพิมพ์ฝึกปฏิบัติรายปักษ์ บูมีตานี

แหล่งข้อมูลอื่น

  • คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

คณะว, ทยาการส, อสาร, มหาว, ทยาล, ยสงขลานคร, นทร, บทความน, ไม, การอ, างอ, งจากแหล, งท, มาใดกร, ณาช, วยปร, บปร, งบทความน, โดยเพ, มการอ, างอ, งแหล, งท, มาท, าเช, อถ, เน, อความท, ไม, แหล, งท, มาอาจถ, กค, ดค, านหร, อลบออก, เร, ยนร, าจะนำสารแม, แบบน, ออกได, อย, างไร. bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir khnawithyakarsuxsar mhawithyalysngkhlankhrinthr epnkhnawichathiennkarburnakarsastraehngkarsuxsar khux niethssastr kb ethkhonolyisarsnethsaelakarsuxsar ephuxsrangxngkhkhwamruaelaphlitbnthitaehng sngkhmsarsneths information society aela sngkhmthankhwamru knowledge based society thicatxngphrxmdwyskyphaphinkarsuxsar karekhathungkhxmulsarsneths aelakarichethkhonolyixyangechiywchay srangsrrkh aelaruethathn xikthngyngsamarthprayuktkhwamruephuxphthnatnihepnphunathangwichachiph thangwichakar aelathangsngkhminxnakhtkhnawithyakarsuxsarmhawithyalysngkhlankhrinthrwithyaekhtpttanichuxxngkvsFaculty of Communication Sciences Prince of Songkla Universitythixyumhawithyalysngkhlankhrinthr withyaekhtpttani tablrusamiael xaephxemuxng cnghwdpttani 94000wnkxtngph s 2545khnbdidr muxssl bilaeslasipracakhna sienginsylksndxkchmphuphnthuthiphyewbistcommsci psu ac thdkhk enuxha 1 prawti 2 wtthuprasngkh 3 hnwyngan 4 hlksutr 5 kickrrmfukptibti 6 aehlngkhxmulxunprawti aekikhemuxpi 2532 mhawithyalysngkhlankhrinthr withyaekhtpttani elngehnwakhnawichadankarsuxsarepnsakhawichathikalngidrbkhwamsniccaknkeriyn aelatladaerngnganinkhnannepnxyangmak cungidrierimdaeninkar okhrngkarcdtngkhnaethkhonolyiaelawithyakarsuxsaraelasarsneths sungphayhlngidepliynepn okhrngkarcdtngkhnawithyakarsuxsar aelaiderimtnranghlksutrsilpsastrbnthit sakhawichaniethssastr aelahlksutrwithyasastrbnthit sakhawichaethkhonolyisarsneths inpi 2539txmainpi 2540 praethsithyprasbkbphawaesrsthkicwikvti thaihkarcdtnghnwynganihmphayinmhawithyalyhlayokhrngkartxnghyudchangkip rwmthngokhrngkarcdtngkhnawithyakarsuxsardwy khnakrrmkardaeninngan cungrwmmuxkbphakhwichabrrnarkssastr khnamnusysastraelasngkhmsastr epidsxnhlksutrwichaothniethssastr odyerimrbnksuksawichaothrunaerkinpikarsuksa 2542cnkrathnginpikarsuksa 2545 okhrngkarcdtngkhnawithyakarsuxsaridrbxnumtiihcdtngepn khnawithyakarsuxsar epnhnwynganphayinkhxngmhawithyalysngkhlankhrinthr aelainpiediywknnnkidepidsxnaelarbnksuksarunaerk inhlksutrsilpsastrbnthit sakhawichaniethssastr aelainpikarsuksa 2547 epidsxnhlksutrwithyasastrbnthit sakhawichaethkhonolyisarsnethsaelakarsuxsarephuxkarcdkarinpikarsuksa 2548 khnawithyakarsuxsarepidsxnxik 2 hlksutr khux hlksutrsilpsastrbnthit sakhawichakarsuxsarkartladephuxkarphthna aelahlksutrwithyasastrbnthit sakhawichanwtkrrmkarxxkaebbsuxaelakarphlitsuxwtthuprasngkh aekikhkhnawithyakarsuxsar epnkhnawichathiennwicyephuxsrangxngkhkhwamruihmthisamarthsnbsnunkarphlit bnthitxyangmikhunphaph aelanaipsukarphthna aelaaekpyhachumchnthxngthin praethsaelaphumiphakh ephuxsrangnganwicythimikhunphaph idxngkhkhwamruthicaepntxkarphthnachumchn aelaepnthaninkarcdkarsuksaradbbnthitsuksa ephuxprbepliynwthnthrrmxngkhkrihbukhlakrthawicymakkhun aelanaphlkarwicyipsukareriynkarsxn karephyaephrkarbrikarwichakar karyunkhxsiththibtrhruxkarprayuktichinradbthisamarthaekhngkhnid ephuxsrangskyphaphkhxngbukhlakraelaxngkhkrinkaraeswnghathunwicythngphayinaelatangpraeths aelasrangkhwamsamarthinkarphungphatnexngindanthunwicy ephuxrwmphthnaphumipyyathxngthinihepnxngkhkhwamru mikhunkhaaelamimulkhaephim xnepnkarephimkhwamekhaicthxngthin esrimsrangkhwamekhmaekhngkhxngchumchnaelakhyayphlsuradbchatiaelananachati ephuxphthnaskyphaphkhxngphakhitaelapraeths ihsamarthsrangoxkasaelakhwamepnphunathamklangkhwamepliynaeplngaelakaraekhngkhn inradbphumiphakhaelaradbolk odykhanungthungkhwamsxdkhlxngkbaenwthangkarphthnapraeths ephuxihmirabbkarphthnanganwicy phlnganthangwichakar miokhrngsrangkarbriharnganwicy rwmthngrabbkarsnbsnunihmikarephyaephraelakarichpraoychncaknganwicyhnwyngan aekikhphakhwichaniethssastr phakhwichakarsuxsarkartladephuxkarphthna phakhwichaethkhonolyisarsnethsaelakarsuxsarephuxkarcdkar phakhwichanwtkrrmkarxxkaebbsuxaelakarphlitsuxhlksutr aekikhradbpriyyatrihlksutrniethssastrbnthit sakhawichaniethssastrhlksutrsilpsastrbnthit sakhawichakarsuxsarkartladephuxkarphthnahlksutrwithyasastrbnthit sakhawichaethkhonolyisarsnethsaelakarsuxsarephuxkarcdkar sakhawichanwtkrrmkarxxkaebbsuxaelakarphlitsuxkickrrmfukptibti aekikhklumkhawyakarlakhr sthaniwithyufukptibti CommSci Radio105 5 sthaniothrthsnfukptibti CommSciTV hnngsuxphimphfukptibtiraypks bumitaniaehlngkhxmulxun aekikhkhnawithyakarsuxsar mhawithyalysngkhlankhrinthr bthkhwamekiywkbsthansuksaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmulekhathungcak https th wikipedia org w index php title khnawithyakarsuxsar mhawithyalysngkhlankhrinthr amp oldid 9356279, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม