fbpx
วิกิพีเดีย

ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์

ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์ เป็นการต่อสู้ที่กำลังดำเนินอยู่ระหว่างชาวอิสราเอลและชาวปาเลสไตน์ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ความขัดแย้งนี้เกิดเป็นวงกว้าง และบางครั้งยังใช้คำนี้อ้างอิงถึงความขัดแย้งนิกายในปาเลสไตน์ในอาณัติระหว่างยีชูฟ (yishuv) ขบวนการไซออนิสต์กับประชากรอาหรับภายใต้การปกครองของอังกฤษ ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์ก่อเกิดเป็นส่วนสำคัญของความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอลที่ใหญ่กว่า ถูกเรียกอย่างกว้างขวางว่าเป็น "ความขัดแย้งที่หายยากที่สุด" ของโลก

ความขัดแย้งอิสราเอล–ปาเลสไตน์
ส่วนหนึ่งของ ความขัดแย้งอาหรับ–อิสราเอล

แผนที่ประเทศอิสราเอล: พื้นที่เอและบี (สีส้ม) เป็นพื้นที่ที่องค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ปกครอง ส่วนพื้นที่ซี (สีฟ้า) อยู่ภายใต้การควบคุมของอิสราเอล ในปี 2554
สำหรับแผนที่ทันสมัยและโต้ตอบ ดูที่นี่
วันที่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 – ปัจจุบัน
ช่วงหลัก: 2507–2536
สถานที่ตะวันออกกลาง, แต่อยู่ในประเทศอิสราเอล เวสต์แบงก์ ฉนวนกาซาและประเทศเลบานอนเป็นหลัก
สถานะ กระบวนการสันติภาพอิสราเอล–ปาเลสไตน์
การสู้รบระดับต่ำ ส่วนใหญ่ระหว่างอิสราเอลและกาซา
ดินแดน
เปลี่ยนแปลง
  • การสถาปนาและยุบรัฐในอารักขาปาเลสไตน์ (2491–2502) ในกาซา
  • การผนวกเวสต์แบงก์ของจอร์แดน (2491–2510)
  • การยึดครองเวสต์แบงก์และกาซาโดยอิสราเอลในปี 2510
  • การเปลี่ยนสภาพพื้นที่ "เอ" และ "บี" จากฝ่ายปกครองพลเรือนอิสราเอลสู่องค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ในปี 2537–38
  • การปลดปล่อยกาซาของอิสราเอลในปี 2548
คู่สงคราม
 อิสราเอล
ฮามาส (2530–ปัจจุบัน)
ญิฮัดอิสลาม (2530–ปัจจุบัน)
ความสูญเสีย
21,500 คน (2508–2556)

ความพยายามระงับข้อพิพาทในระยะแรกลงเอยด้วยแผนแบ่งปาเลสไตน์ของสหประชาชาติ ปี 2490 ซึ่งยิวยอมรับแต่อาหรับปฏิเสธ นำไปสู่สงครามปาเลสไตน์ ปี 2490–2492 สถานะเดิมอย่างในปัจจุบันเกิดขึ้นหลังการยึดครองดินแดนปาเลสไตน์ในสงครามหกวัน ปี 2510

แม้มีกระบวนการสันติภาพระยะยาวและการปรองดองทั่วไปของอิสราเอลกับอียิปต์และจอร์แดน แต่อิสราเอลและปาเลสไตน์ไม่สามารถบรรลุความตกลงสันติภาพขั้นสุดท้ายได้ ประเด็นสำคัญที่ยังเหลืออยู่ คือ การรับรองร่วมกัน เขตแดน ความมั่นคง สิทธิน้ำ การควบคุมเยรูซาเลม นิคมอิสราเอล เสรีภาพในการเดินทางของปาเลสไตน์ และการแก้ไขการอ้างสิทธิการเดินทางกลับสำหรับผู้ลี้ภัยของปาเลสไตน์ ความรุนแรงของความขัดแย้งในภูมิภาคอันอุดมไปด้วยแหล่งความสนใจทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและศาสนาทั่วโลก กลายมาเป็นวัตถุประสงค์ของการประชุมระหว่างประเทศจำนวนมากว่าด้วยสิทธิทางประวัติศาสตร์ ประเด็นความมั่นคงและสิทธิมนุษยชน และเป็นปัจจัยขัดขวางการท่องเที่ยวและการเข้าถึงพื้นที่ซึ่งพิพาทกันอย่างดุเดือดโดยทั่วไป

มีความพยายามหลายครั้งเพื่อเป็นนายหน้าทางแก้สองรัฐ (two-state solution) อันเกี่ยวข้องกับการสถาปนารัฐปาเลสไตน์เอกราชขึ้นคู่กับรัฐอิสราเอล (หลังการสถาปนาอิสราเอลในปี 2491) ในปี 2550 ตามการหยั่งเสียงจำนวนหนึ่ง ทั้งชาวอิสราเอลและปาเลสไตน์ส่วนใหญ่เห็นชอบทางแก้สองรัฐเป็นวิธีแก้ไขความขัดแย้งมากกว่าทางแก้อื่น ยิ่งไปกว่านั้น สาธารณชนยิวส่วนใหญ่ยังมองว่าข้อเรียกร้องรัฐเอกราชของชาวปาเลสไตน์ชอบธรรม และคิดว่าประเทศอิสราเอลสามารถตกลงให้จัดตั้งรัฐเช่นว่าได้ ความไม่ไว้วางใจร่วมกันและความไม่ลงรอยอย่างสำคัญหยั่งลึกในประเด็นพื้นฐาน เช่นเดียวกับกังขาคติต่อกันและกันเกี่ยวกับการผูกมัดตามพันธกรณีที่รักษาในความตกลงท้ายที่สุด อย่างไรก็ดี ปัญหาสำคัญที่ทำให้ความคืบหน้าหยุดชะงัก ได้แก่ เรื่องความมั่นคง สิทธิน้ำ การควบคุมนครเยรูซาเล็ม นิคมอิสราเอล เสรีภาพในการเดินทาง และสิทธิในการกลับสู่มาตุภูมิของชาวปาเลสไตน์

ในสังคมอิสราเอลและปาเลสไตน์ ความขัดแย้งนี้ก่อให้เกิดมุมมองและความคิดเห็นหลากหลาย ซึ่งเน้นการแบ่งแยกลึกล้ำซึ่งไม่ได้มีเฉพาะระหว่างชาวอิสราเอลและชาวปาเลสไตน์เท่านั้น แต่ยังภายในแต่ละสังคมด้วย ลักษณะเด่นของความขัดแย้งนี้เป็นระดับความรุนแรงที่สังเกตได้แทบตลอดระยะของความขัดแย้ง มีการสู้รบโดยกองทัพตามแบบ กลุ่มกึ่งทหาร กลุ่มก่อการร้ายและปัจเจกบุคคล กำลังพลสูญเสียมิได้จำกัดแต่เฉพาะทหาร แต่ทั้งสองฝ่ายยังสูญเสียประชากรพลเรือนไปเป็นอันมาก มีตัวแสดงระหว่างประเทศที่โดดเด่นเกี่ยวข้องในความขัดแย้งนี้ด้วย

สองภาคีที่เข้าร่วมการเจรจาโดยตรง คือ รัฐบาลอิสราเอลและองค์การปลดปล่อยปาเลสไตน์ การเจรจาอย่างเป็นทางการมีผู้แทนระหว่างประเศเป็นสื่อกลาง เรียก กลุ่มสี่ว่าด้วยตะวันออกกลาง (Quartet on the Middle East) ซึ่งมีผู้แทนทางการทูตพิเศษเป็นผู้แทน ประกอบด้วย สหรัฐอเมริกา รัสเซีย สหภาพยุโรปและสหประชาชาติ สันนิบาตอาหรับเป็นอีกตัวแสดงหนึ่งที่สำคัญ ซึ่งเสนอแผนสันติภาพทางเลือด อียิปต์ สมาชิกผู้ก่อตั้งสันนิบาตอาหรับ ในอดีตเคยเป็นผู้มีส่วนหลัก

นับแต่ปี 2549 ฝ่ายปาเลสไตน์แตกแยกด้วยความขัดแย้งระหว่างสองกลุ่มแยกหลัก คือ ฟาตาห์ พรรคเด่นเดิม และผู้ท้าชิงเลือกตั้งในภายหลัง ฮามาส หลังฮามาสชนะการเลือกตั้งในปี 2549 สหรัฐ สหภาพยุโรป และอิสราเอลปฏิเสธการรับรองรัฐบาลฮามาสและเงินทุนให้องค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ส่วนมากถูกระงับ หนึ่งปีให้หลัง หลังการยึดอำนาจในฉนวนกาซาของฮามาสในเดือนมิถุนายน 2550 ดินแดนซึ่งรับรองอย่างเป็นทางการเป็นรัฐปาเลสไตน์ (อดีตองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ องค์การปกครองชั่วคราวของปาเลสไตน์) ถูกแบ่งระหว่างฟาตาห์ในเวสต์แบงก์และฮามาสในฉนวนกาซา การแบ่งการปกครองระหว่างภาคีนี้ส่งผลให้การปกครองสองพรรคขององค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์ล้มเหลวอย่างสิ้นเชิง การเจรจาสันติภาพรอบล่าสุดเริ่มขึ้นในเดือนกรกฎาคม 2556 และถูกระงับในปี 2557

แผนภาพ

วิวัฒนาการสมัยใหม่ของปาเลสไตน์
ข้อเสนอปี 1916–1922: สามข้อเสนอสำหรับการบริหารปาเลสไตน์หลังสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เส้นสีแดงคือ "ฝ่ายปกครองระหว่างประเทศ" ที่มีการเสนอในความตกลงไซส์-ปิโกปี 1916, เส้นประสีน้ำเงินคือข้อเสนอขององค์การไซออนิสต์ ณ การประชุมสันติภาพกรุงปารีส, และเส้นสีน้ำเงินบางหมายถึงเขตแดนสุดท้ายของปาเลสไตน์ในอาณัติ (1923–48)
ข้อเสนอปี 1937: ข้อเสนออย่างเป็นทางการแรกสำหรับการแบ่งดินแดน จัดพิมพ์โดยคณะกรรมการรพีลในปี 1937 มีการเสนอให้อาณัติของบริเตนคงอยู่ต่อไปเพื่อธำรงไว้ซึ่ง "ความศักดิ์สิทธิ์ของเยรูซาเล็มและเบธเลเฮ็ม" ในรูปของดินแดนแทรกตั้งแต่เยรูซาเล็มถึงจัฟฟา รวมทั้ง Lydda และ Ramle
1947 (ข้อเสนอ): ข้อเสนอตามแผนการแบ่งปาเลสไตน์สหประชาชาติ (ข้อมติสมัชชาสหประชาชาติที่ 181 (II), 1947), ก่อนสงครามอาหรับ–อิสราเอลปี 1948 ข้อเสนอนี้รวม Corpus Separatum สำหรับเยรูซาเล็มเป็นทางแพร่งสภาพนอกอาณาเขตระหว่างดินแดนที่ไม่ติดกัน โดยมีจาฟฟาเป็นดินแดนแทรกของอาหรับ
1947 (จริง): ปาเลสไตน์ในอาณัติ แสดงบริเวณที่ยิวเป็นเจ้าของในปาเลสไตน์ในปี 1947 ในสีน้ำเงิน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 6 ซึ่งกว่าครึ่งมี JNF และ PICA เป็นเจ้าของ ประชากรยิวเพิ่มขึ้นจาก 83,790 คนในปี 1922 เป็น 608,000 คนในปี 1946
1949–1967 (จริง): ดินแดนเวสต์แบงก์ที่ถูกจอร์แดนยึดครอง (สีเขียวอ่อน) และฉนวนกาซาที่อียิปต์ยึดครอง (สีเขียวแก่) หลังสงครามอาหรับ–อิสราเอลปี 1948 แสดงเส้นหยุดยิงปี 1949
1967–1994: ระหว่างสงครามหกวัน อิสราเอลยึดเวสต์แบงก์ ฉนวนกาซาและที่สูงโกลัน ร่วมกับคาบสมุทรไซนาย (ซึ่งยกให้อียิปต์เพื่อแลกกับสนธิสัญญาสันติภาพหลังสงครามยมคิปปูร์) ในปี 1980–81 อิสราเอลยึดครองเยรูซาเล็มตะวันออกและที่สูงโกลัน การยึดครองของอิสราเอลและการอ้างสิทธิ์ของปาเลสไตน์ซึ่งเยรูซาเล็มตะวันออกนั้นไม่ได้รับการรับรองจากนานาประเทศทั้งสองฝ่าย
1994–2005: ภายใต้ข้อตกลงกรุงออสโล มีการตั้งองค์การบริหารแห่งชาติปาเลสไตน์เพื่อเป็นรัฐบาลพลเรือนในเขตเมืองจำนวนหนึ่งในเวสต์แบงก์และฉนวนกาซา
2005–ปัจจุบัน: หลังอิสราเอลถอนตัวจากกาซาและการปะทะระหว่างพรรคการเมืองปาเลสไตน์สองพรรคใหญ่หลังฮามาสชนะการเลือกตั้งปี 2006 ทำให้รัฐบาลทั้งสองแยกขาดจากกันในฉนวนกาซาและเวสต์แบงก์

อ้างอิง

  1. Pollack, Kenneth, M., Arabs at War: Military Effectiveness, University of Nebraska Press, (2002), pp. 93–94, 96.
  2. "A History of Conflict: Introduction". A History of Conflict. BBC News.
  3. Monty G. Marshall. Major Episodes of Political Violence 1946-2012. SystemicPeace.org. "Ethnic War with Arab Palestinians / PLO 1965-2013". Updated 12 June 2013 [1] 2014-01-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  4. Chris Rice 2016-02-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน, quoted in Munayer Salim J, Loden Lisa, Through My Enemy's Eyes: Envisioning Reconciliation in Israel-Palestine, quote: "The Palestinian-Israeli divide may be the most intractable conflict of our time."
  5. Virginia Page Fortna, Peace Time: Cease-fire Agreements and the Durability of Peace, page 67, "Britain's contradictory promises to Arabs and Jews during World War I sowed the seeds of what would become the international community's most intractable conflict later in the century."
  6. Avner Falk, Fratricide in the Holy Land: A Psychoanalytic View of the Arab-Israeli Conflict, Chapter 1, page 8, "Most experts agree that the Arab-Israeli conflict is the most intractable conflict in our world, yet very few scholars have produced any psychological explanation—let alone a satisfactory one—of this conflict's intractability"
  7. "Canadian Policy on Key Issues in the Israeli-Palestinian Conflict". Government of Canada.
  8. "Movement and Access Restrictions in the West Bank: Uncertainty and Inefficiency in the Palestinian Economy" (PDF). World Bank. 9 May 2007. สืบค้นเมื่อ 29 March 2010. Currently, freedom of movement and access for Palestinians within the West Bank is the exception rather than the norm contrary to the commitments undertaken in a number of Agreements between GOI and the PA. In particular, both the Oslo Accords and the Road Map were based on the principle that normal Palestinian economic and social life would be unimpeded by restrictions อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "WorldBankReport" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  9. Edward Wright, 'Tourism Curbed in Palestinians Areas,' Los Angeles Times, May 28, 2000.
  10. Yaar, Ephraim; Hermann, Tamar (11 December 2007). "Just another forgotten peace summit". Haaretz.CS1 maint: ref=harv (link)
  11. Kurtzer, Daniel; Lasensky, Scott; Organization (2008). Negotiating Arab-Israeli Peace: American Leadership in the Middle East. United States Institute of Peace Press. p. 79. ISBN 9781601270306.
  12. Yaar & Hermann 2007: "The source of the Jewish public's skepticism – and even pessimism – is apparently the widespread belief that a peace agreement based on the 'two states for two peoples' formula would not lead the Palestinians to end their conflict with Israel."
  13. . Government of Canada. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 18 February 2018. สืบค้นเมื่อ 13 March 2010.

ความข, ดแย, งอ, สราเอล, ปาเลสไตน, งก, ามภาษา, ในบทความน, ไว, ให, านและผ, วมแก, ไขบทความศ, กษาเพ, มเต, มโดยสะดวก, เน, องจากว, เด, ยภาษาไทยย, งไม, บทความด, งกล, าว, กระน, ควรร, บสร, างเป, นบทความโดยเร, วท, เป, นการต, อส, กำล, งดำเน, นอย, ระหว, างชาวอ, สราเอลและช. lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisudkhwamkhdaeyngxisraexl paelsitn epnkartxsuthikalngdaeninxyurahwangchawxisraexlaelachawpaelsitnsungerimkhunemuxklangkhriststwrrsthi 20 2 khwamkhdaeyngniekidepnwngkwang aelabangkhrngyngichkhanixangxingthungkhwamkhdaeyngnikayinpaelsitninxantirahwangyichuf yishuv khbwnkarisxxnistkbprachakrxahrbphayitkarpkkhrxngkhxngxngkvs khwamkhdaeyngxisraexl paelsitnkxekidepnswnsakhykhxngkhwamkhdaeyngxahrb xisraexlthiihykwa thukeriykxyangkwangkhwangwaepn khwamkhdaeyngthihayyakthisud khxngolk 4 5 6 khwamkhdaeyngxisraexl paelsitnswnhnungkhxng khwamkhdaeyngxahrb xisraexlaephnthipraethsxisraexl phunthiexaelabi sism epnphunthithixngkhkarbriharaehngchatipaelsitnpkkhrxng swnphunthisi sifa xyuphayitkarkhwbkhumkhxngxisraexl inpi 2554sahrbaephnthithnsmyaelaottxb duthiniwnthiklangkhriststwrrsthi 20 2 pccubnchwnghlk 2507 2536sthanthitawnxxkklang aetxyuinpraethsxisraexl ewstaebngk chnwnkasaaelapraethselbanxnepnhlksthanakrabwnkarsntiphaphxisraexl paelsitnkarsurbradbta swnihyrahwangxisraexlaelakasadinaednepliynaeplngkarsthapnaaelayubrthinxarkkhapaelsitn 2491 2502 inkasakarphnwkewstaebngkkhxngcxraedn 2491 2510 karyudkhrxngewstaebngkaelakasaodyxisraexlinpi 2510karepliynsphaphphunthi ex aela bi cakfaypkkhrxngphleruxnxisraexlsuxngkhkarbriharaehngchatipaelsitninpi 2537 38karpldplxykasakhxngxisraexlinpi 2548khusngkhram xisraexlrthpaelsitnrthinxarkkhapaelsitn 2491 2502 xngkhkarpldplxypaelsitn 2507 36 xngkhkarbriharaehngchatipaelsitn 2543 47 chnwnkasa 2549 pccubn hamas 2530 pccubn yihdxislam 2530 pccubn snbsnunody shrth 2510 pccubn frngess 2496 2510 rthelbanxnesri 2522 27 kalngelbanxn 2518 33 snbsnunody snnibatxahrb shphaphosewiyt 2508 34 1 khwamsuyesiy21 500 khn 2508 2556 3 khwamphyayamrangbkhxphiphathinrayaaerklngexydwyaephnaebngpaelsitnkhxngshprachachati pi 2490 sungyiwyxmrbaetxahrbptiesth naipsusngkhrampaelsitn pi 2490 2492 sthanaedimxyanginpccubnekidkhunhlngkaryudkhrxngdinaednpaelsitninsngkhramhkwn pi 2510aemmikrabwnkarsntiphaphrayayawaelakarprxngdxngthwipkhxngxisraexlkbxiyiptaelacxraedn aetxisraexlaelapaelsitnimsamarthbrrlukhwamtklngsntiphaphkhnsudthayid praednsakhythiyngehluxxyu khux karrbrxngrwmkn ekhtaedn khwammnkhng siththina karkhwbkhumeyrusaelm nikhmxisraexl 7 esriphaphinkaredinthangkhxngpaelsitn 8 aelakaraekikhkarxangsiththikaredinthangklbsahrbphuliphykhxngpaelsitn khwamrunaerngkhxngkhwamkhdaeynginphumiphakhxnxudmipdwyaehlngkhwamsnicthangprawtisastr wthnthrrmaelasasnathwolk klaymaepnwtthuprasngkhkhxngkarprachumrahwangpraethscanwnmakwadwysiththithangprawtisastr praednkhwammnkhngaelasiththimnusychn aelaepnpccykhdkhwangkarthxngethiywaelakarekhathungphunthisungphiphathknxyangdueduxdodythwip 9 mikhwamphyayamhlaykhrngephuxepnnayhnathangaeksxngrth two state solution xnekiywkhxngkbkarsthapnarthpaelsitnexkrachkhunkhukbrthxisraexl hlngkarsthapnaxisraexlinpi 2491 inpi 2550 tamkarhyngesiyngcanwnhnung thngchawxisraexlaelapaelsitnswnihyehnchxbthangaeksxngrthepnwithiaekikhkhwamkhdaeyngmakkwathangaekxun 10 yingipkwann satharnchnyiwswnihyyngmxngwakhxeriykrxngrthexkrachkhxngchawpaelsitnchxbthrrm aelakhidwapraethsxisraexlsamarthtklngihcdtngrthechnwaid 11 khwamimiwwangicrwmknaelakhwamimlngrxyxyangsakhyhynglukinpraednphunthan echnediywkbkngkhakhtitxknaelaknekiywkbkarphukmdtamphnthkrnithirksainkhwamtklngthaythisud 12 xyangirkdi pyhasakhythithaihkhwamkhubhnahyudchangk idaek eruxngkhwammnkhng siththina karkhwbkhumnkhreyrusaelm nikhmxisraexl 13 esriphaphinkaredinthang 8 aelasiththiinkarklbsumatuphumikhxngchawpaelsitninsngkhmxisraexlaelapaelsitn khwamkhdaeyngnikxihekidmummxngaelakhwamkhidehnhlakhlay sungennkaraebngaeykluklasungimidmiechphaarahwangchawxisraexlaelachawpaelsitnethann aetyngphayinaetlasngkhmdwy lksnaednkhxngkhwamkhdaeyngniepnradbkhwamrunaerngthisngektidaethbtlxdrayakhxngkhwamkhdaeyng mikarsurbodykxngthphtamaebb klumkungthhar klumkxkarrayaelapceckbukhkhl kalngphlsuyesiymiidcakdaetechphaathhar aetthngsxngfayyngsuyesiyprachakrphleruxnipepnxnmak mitwaesdngrahwangpraethsthioddednekiywkhxnginkhwamkhdaeyngnidwysxngphakhithiekharwmkarecrcaodytrng khux rthbalxisraexlaelaxngkhkarpldplxypaelsitn karecrcaxyangepnthangkarmiphuaethnrahwangpraesepnsuxklang eriyk klumsiwadwytawnxxkklang Quartet on the Middle East sungmiphuaethnthangkarthutphiessepnphuaethn prakxbdwy shrthxemrika rsesiy shphaphyuorpaelashprachachati snnibatxahrbepnxiktwaesdnghnungthisakhy sungesnxaephnsntiphaphthangeluxd xiyipt smachikphukxtngsnnibatxahrb inxditekhyepnphumiswnhlknbaetpi 2549 faypaelsitnaetkaeykdwykhwamkhdaeyngrahwangsxngklumaeykhlk khux fatah phrrkhednedim aelaphuthachingeluxktnginphayhlng hamas hlnghamaschnakareluxktnginpi 2549 shrth shphaphyuorp aelaxisraexlptiesthkarrbrxngrthbalhamasaelaenginthunihxngkhkarbriharaehngchatipaelsitnswnmakthukrangb hnungpiihhlng hlngkaryudxanacinchnwnkasakhxnghamasineduxnmithunayn 2550 dinaednsungrbrxngxyangepnthangkarepnrthpaelsitn xditxngkhkarbriharaehngchatipaelsitn xngkhkarpkkhrxngchwkhrawkhxngpaelsitn thukaebngrahwangfatahinewstaebngkaelahamasinchnwnkasa karaebngkarpkkhrxngrahwangphakhinisngphlihkarpkkhrxngsxngphrrkhkhxngxngkhkarbriharaehngchatipaelsitnlmehlwxyangsineching karecrcasntiphaphrxblasuderimkhunineduxnkrkdakhm 2556 aelathukrangbinpi 2557aephnphaph aekikhwiwthnakarsmyihmkhxngpaelsitn dkhk khxesnxpi 1916 1922 samkhxesnxsahrbkarbriharpaelsitnhlngsngkhramolkkhrngthihnung esnsiaedngkhux faypkkhrxngrahwangpraeths thimikaresnxinkhwamtklngiss piokpi 1916 esnprasinaenginkhuxkhxesnxkhxngxngkhkarisxxnist n karprachumsntiphaphkrungparis aelaesnsinaenginbanghmaythungekhtaednsudthaykhxngpaelsitninxanti 1923 48 khxesnxpi 1937 khxesnxxyangepnthangkaraerksahrbkaraebngdinaedn cdphimphodykhnakrrmkarrphilinpi 1937 mikaresnxihxantikhxngbrietnkhngxyutxipephuxtharngiwsung khwamskdisiththikhxngeyrusaelmaelaebthelehm inrupkhxngdinaednaethrktngaeteyrusaelmthungcffa rwmthng Lydda aela Ramle 1947 khxesnx khxesnxtamaephnkaraebngpaelsitnshprachachati khxmtismchchashprachachatithi 181 II 1947 kxnsngkhramxahrb xisraexlpi 1948 khxesnxnirwm Corpus Separatum sahrbeyrusaelmepnthangaephrngsphaphnxkxanaekhtrahwangdinaednthiimtidkn odymicaffaepndinaednaethrkkhxngxahrb 1947 cring paelsitninxanti aesdngbriewnthiyiwepnecakhxnginpaelsitninpi 1947 insinaengin sungkhidepnrxyla 6 sungkwakhrungmi JNF aela PICA epnecakhxng prachakryiwephimkhuncak 83 790 khninpi 1922 epn 608 000 khninpi 1946 1949 1967 cring dinaednewstaebngkthithukcxraednyudkhrxng siekhiywxxn aelachnwnkasathixiyiptyudkhrxng siekhiywaek hlngsngkhramxahrb xisraexlpi 1948 aesdngesnhyudyingpi 1949 1967 1994 rahwangsngkhramhkwn xisraexlyudewstaebngk chnwnkasaaelathisungokln rwmkbkhabsmuthrisnay sungykihxiyiptephuxaelkkbsnthisyyasntiphaphhlngsngkhramymkhippur inpi 1980 81 xisraexlyudkhrxngeyrusaelmtawnxxkaelathisungokln karyudkhrxngkhxngxisraexlaelakarxangsiththikhxngpaelsitnsungeyrusaelmtawnxxknnimidrbkarrbrxngcaknanapraethsthngsxngfay 1994 2005 phayitkhxtklngkrungxxsol mikartngxngkhkarbriharaehngchatipaelsitnephuxepnrthbalphleruxninekhtemuxngcanwnhnunginewstaebngkaelachnwnkasa 2005 pccubn hlngxisraexlthxntwcakkasaaelakarpatharahwangphrrkhkaremuxngpaelsitnsxngphrrkhihyhlnghamaschnakareluxktngpi 2006 thaihrthbalthngsxngaeykkhadcakkninchnwnkasaaelaewstaebngkxangxing aekikh Pollack Kenneth M Arabs at War Military Effectiveness University of Nebraska Press 2002 pp 93 94 96 2 0 2 1 A History of Conflict Introduction A History of Conflict BBC News Monty G Marshall Major Episodes of Political Violence 1946 2012 SystemicPeace org Ethnic War with Arab Palestinians PLO 1965 2013 Updated 12 June 2013 1 Archived 2014 01 21 thi ewyaebkaemchchin Chris Rice Archived 2016 02 06 thi ewyaebkaemchchin quoted in Munayer Salim J Loden Lisa Through My Enemy s Eyes Envisioning Reconciliation in Israel Palestine quote The Palestinian Israeli divide may be the most intractable conflict of our time Virginia Page Fortna Peace Time Cease fire Agreements and the Durability of Peace page 67 Britain s contradictory promises to Arabs and Jews during World War I sowed the seeds of what would become the international community s most intractable conflict later in the century Avner Falk Fratricide in the Holy Land A Psychoanalytic View of the Arab Israeli Conflict Chapter 1 page 8 Most experts agree that the Arab Israeli conflict is the most intractable conflict in our world yet very few scholars have produced any psychological explanation let alone a satisfactory one of this conflict s intractability Canadian Policy on Key Issues in the Israeli Palestinian Conflict Government of Canada 8 0 8 1 Movement and Access Restrictions in the West Bank Uncertainty and Inefficiency in the Palestinian Economy PDF World Bank 9 May 2007 subkhnemux 29 March 2010 Currently freedom of movement and access for Palestinians within the West Bank is the exception rather than the norm contrary to the commitments undertaken in a number of Agreements between GOI and the PA In particular both the Oslo Accords and the Road Map were based on the principle that normal Palestinian economic and social life would be unimpeded by restrictions xangxingphidphlad payrabu lt ref gt imsmehtusmphl miniyamchux WorldBankReport hlaykhrngdwyenuxhatangkn Edward Wright Tourism Curbed in Palestinians Areas Los Angeles Times May 28 2000 Yaar Ephraim Hermann Tamar 11 December 2007 Just another forgotten peace summit Haaretz CS1 maint ref harv link Kurtzer Daniel Lasensky Scott Organization 2008 Negotiating Arab Israeli Peace American Leadership in the Middle East United States Institute of Peace Press p 79 ISBN 9781601270306 Yaar amp Hermann 2007 The source of the Jewish public s skepticism and even pessimism is apparently the widespread belief that a peace agreement based on the two states for two peoples formula would not lead the Palestinians to end their conflict with Israel Canadian Policy on Key Issues in the Israeli Palestinian Conflict Government of Canada khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 18 February 2018 subkhnemux 13 March 2010 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title khwamkhdaeyngxisraexl paelsitn amp oldid 9561596, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม