fbpx
วิกิพีเดีย

ประเทศคอซอวอ

พิกัดภูมิศาสตร์: 42°35′N 21°00′E / 42.583°N 21.000°E / 42.583; 21.000

คอซอวอ (เซอร์เบีย: Косово, Kosovo; แอลเบเนีย: Kosovë, Kosova) เป็นภูมิภาคหนึ่งในคาบสมุทรบอลข่าน ติดกับประเทศเซอร์เบียทางทิศเหนือ มอนเตเนโกรทางตะวันตก แอลเบเนียและนอร์ทมาซิโดเนียทางใต้ ไม่มีทางออกสู่ทะเล คอซอวอได้ประกาศเป็นรัฐเอกราชแบบเอกภาคีในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 ใช้ชื่อว่า สาธารณรัฐคอซอวอ (Republic of Kosovo) มีการรับรองจากบางประเทศ ในขณะที่เซอร์เบียยังคงถือว่าคอซอวอเป็นจังหวัดปกครองพิเศษของตน

สาธารณรัฐคอซอวอ

Republika e Kosovës (แอลเบเนีย)
Република Косово (เซอร์เบีย)
ตำแหน่งของคอซอวอในทวีปยุโรป
เมืองหลวง
และ ใหญ่สุด
พริสตีนา
42°40′N 21°10′E / 42.667°N 21.167°E / 42.667; 21.167
ภาษาราชการภาษาแอลเบเนียและภาษาเซอร์เบีย
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบรัฐสภา สาธารณรัฐรัฐธรรมนูญ
• ประธานาธิบดี
ฮาชิม ทาชี
• นายกรัฐมนตรี
อิซา มุสตาฟา
ประกาศเอกราช1 
• ประกาศ
17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
พื้นที่
• รวม
10,887 ตารางกิโลเมตร (4,203 ตารางไมล์) (171)
1.0
ประชากร
• 2020 ประมาณ
1,873,160 (152)
159 ต่อตารางกิโลเมตร (411.8 ต่อตารางไมล์)
จีดีพี (อำนาจซื้อ)2020 (ประมาณ)
• รวม
$23.524 พันล้าน
$13,017
จีดีพี (ราคาตลาด)2020 (ประมาณ)
• รวม
$8.402 พันล้าน
$4,649
จีนี (2017) 29.0
ต่ำ · 121
HDI (2016) 0.742
สูง
สกุลเงินยูโร2 (€) (EUR)
เขตเวลาUTC+1 (CET)
• ฤดูร้อน (DST)
UTC+2 (CEST)
1การประกาศเอกราชได้รับการรับรองในระดับนานาชาติเพียงบางส่วน
2ดีนาร์เซอร์เบียใช้กันในเขตอาศัยของชาวเซิร์บและเขตนอร์ทคอซอวอ

เมืองหลวงของคอซอวอคือพริสตีนา (Priština) จำนวนประชากรทั้งจังหวัดประมาณ 2 ล้าน 1 แสนคน ส่วนใหญ่เป็นชาติพันธุ์แอลเบเนีย (ร้อยละ 92) ชาวเซิร์บ (ร้อยละ 5.3) และมีชาวตุรกี ชาวบอสนีแอก กลุ่มชาติพันธุ์อื่น ๆ อีกเล็กน้อย (รวมกันร้อยละ 2.7)

คอซอวออยู่ภายใต้การบริหารของสหประชาชาติมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 ในขณะที่เอกราชของเซอร์เบียนั้นเป็นที่ยอมรับในประชาคมโลก โดยแท้จริงแล้ว การปกครองของเซอร์เบียมิได้ปรากฏในจังหวัดนี้เลย องค์กรที่ปกครองคอซอวออยู่คือคณะทำงานสหประชาชาติในคอซอวอ (United Nations Mission in Kosovo: UNMIK) และสถาบันการปกครองตนเองชั่วคราวของท้องถิ่น (Provisional Institutions of Self-Government) โดยมีกองกำลังคอซอวอ (Kosovo Force: KFOR) ภายใต้การนำขององค์การสนธิสัญญาแอตแลนติกเหนือ (NATO) เป็นผู้รักษาความมั่นคง

จังหวัดคอซอวอเป็นประเด็นความขัดแย้งทางการเมืองและดินแดนมานานระหว่างชาวเซอร์เบีย กับชาวแอลเบเนียซึ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของจังหวัด การเจรจาในระดับนานาชาติเริ่มขึ้นในปี พ.ศ. 2549 เพื่อตัดสินสถานะสุดท้าย จากรายงานของสื่อแขนงต่าง ๆ คาดกันว่า การเจรจาจะนำมาซึ่งเอกราชของดินแดนแห่งนี้ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 รัฐสภาของคอซอวอประกาศเอกราชของประเทศแต่เพียงฝ่ายเดียว

การออกเสียง

ชื่อ คอซอวอ นิยมใช้ในภาษาอังกฤษว่า Kosovo ซึ่งถอดรูปมาจาก Косово ออกเสียง /ˈkɔsɔvɔ/ (คอซอวอ) ในภาษาเซอร์เบีย ในขณะที่ภาษาแอลเบเนียใช้ชื่อว่า Kosova ออกเสียง /kɔˈsɔva/ (คอซอวา) ส่วนเว็บไซต์ของราชบัณฑิตยสถานได้ระบุชื่อในภาษาไทยไว้เป็น "คอซอวอ"

ประวัติศาสตร์

ดินแดนคอซอวอมีผู้อาศัยดั้งเดิมตั้งแต่ยุคสำริด คือชาวอิลลิเรีย เผ่าดาร์ดานี โดยที่หลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้ระบุถึงราชอาณาจักรดาร์ดาเนีย เมื่อ 400 ปีก่อนคริสตกาล ดินแดนคอซอวอถูกเรียกว่า ดาร์ดาเนีย มาจนถึงศตวรรษที่ 19 ต่อมาราว 100 ปีก่อนคริสตกาล ดาร์ดาเนียได้ตกอยู่ใต้การปกครองของโรมันและจักรวรรดิไบแซนไทน์ ชาวเซิร์บอพยพเข้ามาอยู่ในดินแดนนี้พร้อมคลื่นผู้อพยพกลุ่มต่าง ๆ ที่ทยอยกันมาจากเทือกเขาอูราลเมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 7-8 เพื่อมาตั้งรกรากในดินแดนภาคตะวันออกเฉียงใต้ของยุโรป และกระจัดกระจายกันออกไปในนามต่าง ๆ กัน เช่น เซิร์บ โครแอต มาซิโดเนีย และสโลวีเนีย การอพยพเข้ามาของกลุ่มเหล่านี้ทำให้เกิดการปะทะกับเจ้าของดินแดนเดิม จนปี พ.ศ. 1749 ชาวเซิร์บจึงเข้ายึดครองดินแดนแถบคอซอวอได้ แต่ต่อมาก็ต้องเจอกับอำนาจที่เหนือกว่าคือจักรวรรดิมุสลิมออตโตมันเติร์ก ซึ่งได้เข้ายึดและปกครองดินแดนแถบนี้ 500 ปี เริ่มตั้งแต่สงครามคอซอวอ (พ.ศ. 1932) ไปจนถึง พ.ศ. 2455

หลังสงครามบอลข่านใน พ.ศ. 2455 เซอร์เบียก็เข้ายึดครองคอซอวอ และกลายมาเป็นส่วนหนึ่งของยูโกสลาเวียใน พ.ศ. 2461 จากนั้นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศได้ถูกปกครองด้วยระบอบสังคมนิยม (ไม่ขึ้นต่อสหภาพโซเวียต) โดยมีนายพลติโต เป็นประธานาธิบดี และเมื่อระบอบคอมมิวนิสต์ล่มสลายในปี พ.ศ. 2532 รัฐต่างๆ ที่ประกอบกันเป็นยูโกสลาเวียก็พากันแยกตัวเป็นประเทศอิสระ ได้แก่ สโลวีเนีย โครเอเชีย มาซิโดเนีย บอสเนีย มอนเตเนโกร

คอซอวอเองเจอปัญหาจากความคลั่งชาติของอาชญากรสงคราม สลอบอดัน มีลอเชวิช มาตั้งแต่ พ.ศ. 2533 จนกระทั่งเหตุการณ์ตึงเครียดสุดเมื่อเซอร์เบียส่งกองทัพเข้าฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวมุสลิมในคอซอวอในปี พ.ศ. 2541 ทำให้นาโต ต้องยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือ โดยส่งเครื่องบินทิ้งระเบิดจนเซอร์เบียต้องยอมถอนทหาร และในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2542 กองทหารนาโต 40,000 คนเข้ารักษาความมั่นคงในคอซอวอ เป็นการยุติบทบาทของเซอร์เบียในคอซอวอ ทำให้ตั้งแต่ปี นั้นเป็นต้นมา คอซอวอจึงเป็นจังหวัดหนึ่งของเซอร์เบียเพียงแต่ในนาม ในขณะที่การบริหารงานทุกอย่างอยู่ภายใต้การดูแลของสหประชาชาติ โดยมีโดยกองกำลังทหารของสหประชาชาติ นำโดยนาโต รักษาความปลอดภัยในประเทศ

ทั้งนี้ หลังจากรัฐสภาคอซอวอลงมติเห็นชอบอย่างเป็นเอกฉันท์ ฮาชิม ทาชี นายกรัฐมนตรีคอซอวอ ได้ประกาศแยกคอซอวอออกจากเซอร์เบียเป็นประเทศอิสระ ในวันที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 โดยมีประเทศหลักที่ให้การสนับสนุนการประกาศเอกราชของคอซอวอคือ สหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรป

การรับรองเอกราช

 
แผนที่แสดงการรับรองการประกาศเอกราชของคอซอวอ

หลังจากการประกาศเอกราชของคอซอวอ มีหลายประเทศให้การรับรองการประกาศเอกราช เช่น สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส สหราชอาณาจักร ตุรกี แอลเบเนีย เยอรมนี สาธารณรัฐจีน (ไต้หวัน) และอีกหลายประเทศ รวมถึงประเทศไทย ในขณะเดียวกัน มีหลายประเทศที่ประกาศชัดเจนว่า ไม่รับรองเอกราชของคอซอวอ นอกจากเซอร์เบียซึ่งเป็นคู่กรณีแล้ว ยังมีรัสเซีย สเปน ไซปรัส และอีกหลายประเทศ

อ้างอิง

  1. "Water percentage in Kosovo (Facts about Kosovo; 2011 Agriculture Statistics)". Kosovo Agency of Statistics, KAS. จากแหล่งเดิมเมื่อ 29 August 2017.
  2. "Kosovo population (2019) live – Countrymeters".
  3. "World Economic Outlook Database, October 2019". International Monetary Fund. สืบค้นเมื่อ 24 September 2020.
  4. "GINI index (World Bank estimate)–Kosovo". World Bank. สืบค้นเมื่อ 24 September 2020.
  5. "Kosovo Human Development Report 2016". United Nations Development Programme (UNDP). 19 October 2016. จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 July 2020. สืบค้นเมื่อ 24 September 2020.
  6. ตัวสะกดตามที่ใช้ในประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างราชอาณาจักรไทยกับสาธารณรัฐคอซอวอ
  7. "Kosovo's status - the wheels grind on", The Economist, October 6, 2005.
  8. "A province prepares to depart", The Economist, November 2, 2006.
  9. "Kosovo May Soon Be Free of Serbia, but Not of Supervision", by Nicholas Wood, The New York Times, November 2, 2006.
  10. "Serbia shrinks, and sinks into dejection", by WILLIAM J. KOLE, The Associated Press, November 19, 2006.
  11. คำถามที่พบบ่อย: ชื่อประเทศ ราชบัณฑิตยสถาน เรียกข้อมูลวันที่ 28 ก.พ. 2551

แหล่งข้อมูลอื่น

  • คอซอวอ: ประเทศมุสลิมน้องใหม่ของยุโรป

ประเทศคอซอวอ, ดภ, ศาสตร, คอซอวอ, เซอร, เบ, Косово, kosovo, แอลเบเน, kosovë, kosova, เป, นภ, ภาคหน, งในคาบสม, ทรบอลข, าน, ดก, บประเทศเซอร, เบ, ยทางท, ศเหน, มอนเตเนโกรทางตะว, นตก, แอลเบเน, ยและนอร, ทมาซ, โดเน, ยทางใต, ไม, ทางออกส, ทะเล, คอซอวอได, ประกาศเป, นร, ฐ. phikdphumisastr 42 35 N 21 00 E 42 583 N 21 000 E 42 583 21 000 khxsxwx 6 esxrebiy Kosovo Kosovo aexlebeniy Kosove Kosova epnphumiphakhhnunginkhabsmuthrbxlkhan tidkbpraethsesxrebiythangthisehnux mxnetenokrthangtawntk aexlebeniyaelanxrthmasiodeniythangit immithangxxksuthael khxsxwxidprakasepnrthexkrachaebbexkphakhiinwnthi 17 kumphaphnth ph s 2551 ichchuxwa satharnrthkhxsxwx Republic of Kosovo mikarrbrxngcakbangpraeths inkhnathiesxrebiyyngkhngthuxwakhxsxwxepncnghwdpkkhrxngphiesskhxngtnsatharnrthkhxsxwxRepublika e Kosoves aexlebeniy Republika Kosovo esxrebiy thngchati traaephndinephlngchati yuorp Europe source source track track track track track taaehnngkhxngkhxsxwxinthwipyuorpemuxnghlwngaela ihysudphristina42 40 N 21 10 E 42 667 N 21 167 E 42 667 21 167phasarachkarphasaaexlebeniyaelaphasaesxrebiykarpkkhrxngrthediyw rabbrthspha satharnrthrththrrmnuy prathanathibdihachim thachi naykrthmntrixisa mustafaprakasexkrach1 cak esxrebiy prakas17 kumphaphnth ph s 2551phunthi rwm10 887 tarangkiolemtr 4 203 tarangiml 171 aehlngna 1 0 1 prachakr 2020 praman1 873 160 2 152 khwamhnaaenn159 txtarangkiolemtr 411 8 txtarangiml cidiphi xanacsux 2020 praman rwm 23 524 phnlan 3 txhw 13 017 3 cidiphi rakhatlad 2020 praman rwm 8 402 phnlan 3 txhw 4 649 3 cini 2017 29 0 4 ta 121HDI 2016 0 742 5 sungskulenginyuor2 EUR ekhtewlaUTC 1 CET vdurxn DST UTC 2 CEST 1karprakasexkrachidrbkarrbrxnginradbnanachatiephiyngbangswn2dinaresxrebiyichkninekhtxasykhxngchawesirbaelaekhtnxrthkhxsxwxemuxnghlwngkhxngkhxsxwxkhuxphristina Pristina canwnprachakrthngcnghwdpraman 2 lan 1 aesnkhn swnihyepnchatiphnthuaexlebeniy rxyla 92 chawesirb rxyla 5 3 aelamichawturki chawbxsniaexk klumchatiphnthuxun xikelknxy rwmknrxyla 2 7 khxsxwxxyuphayitkarbriharkhxngshprachachatimatngaetpi ph s 2542 inkhnathiexkrachkhxngesxrebiynnepnthiyxmrbinprachakhmolk odyaethcringaelw karpkkhrxngkhxngesxrebiymiidpraktincnghwdniely xngkhkrthipkkhrxngkhxsxwxxyukhuxkhnathanganshprachachatiinkhxsxwx United Nations Mission in Kosovo UNMIK aelasthabnkarpkkhrxngtnexngchwkhrawkhxngthxngthin Provisional Institutions of Self Government odymikxngkalngkhxsxwx Kosovo Force KFOR phayitkarnakhxngxngkhkarsnthisyyaaextaelntikehnux NATO epnphurksakhwammnkhngcnghwdkhxsxwxepnpraednkhwamkhdaeyngthangkaremuxngaeladinaednmananrahwangchawesxrebiy kbchawaexlebeniysungepnprachakrswnihykhxngcnghwd karecrcainradbnanachatierimkhuninpi ph s 2549 ephuxtdsinsthanasudthay cakrayngankhxngsuxaekhnngtang khadknwa karecrcacanamasungexkrachkhxngdinaednaehngniinrupaebbidrupaebbhnung 7 8 9 10 inwnthi 17 kumphaphnth ph s 2551 rthsphakhxngkhxsxwxprakasexkrachkhxngpraethsaetephiyngfayediyw enuxha 1 karxxkesiyng 2 prawtisastr 3 karrbrxngexkrach 4 xangxing 5 aehlngkhxmulxunkarxxkesiyng aekikhchux khxsxwx niymichinphasaxngkvswa Kosovo sungthxdrupmacak Kosovo xxkesiyng ˈkɔsɔvɔ khxsxwx inphasaesxrebiy inkhnathiphasaaexlebeniyichchuxwa Kosova xxkesiyng kɔˈsɔva khxsxwa swnewbistkhxngrachbnthitysthanidrabuchuxinphasaithyiwepn khxsxwx 11 prawtisastr aekikhdinaednkhxsxwxmiphuxasydngedimtngaetyukhsarid khuxchawxillieriy ephadardani odythihlkthanthangprawtisastridrabuthungrachxanackrdardaeniy emux 400 pikxnkhristkal dinaednkhxsxwxthukeriykwa dardaeniy macnthungstwrrsthi 19 txmaraw 100 pikxnkhristkal dardaeniyidtkxyuitkarpkkhrxngkhxngormnaelackrwrrdiibaesnithn chawesirbxphyphekhamaxyuindinaednniphrxmkhlunphuxphyphklumtang thithyxyknmacakethuxkekhaxuralemuxkhriststwrrsthi 7 8 ephuxmatngrkrakindinaednphakhtawnxxkechiyngitkhxngyuorp aelakracdkracayknxxkipinnamtang kn echn esirb okhraext masiodeniy aelasolwieniy karxphyphekhamakhxngklumehlanithaihekidkarpathakbecakhxngdinaednedim cnpi ph s 1749 chawesirbcungekhayudkhrxngdinaednaethbkhxsxwxid aettxmaktxngecxkbxanacthiehnuxkwakhuxckrwrrdimuslimxxtotmnetirk sungidekhayudaelapkkhrxngdinaednaethbni 500 pi erimtngaetsngkhramkhxsxwx ph s 1932 ipcnthung ph s 2455hlngsngkhrambxlkhanin ph s 2455 esxrebiykekhayudkhrxngkhxsxwx aelaklaymaepnswnhnungkhxngyuokslaewiyin ph s 2461 caknnhlngsngkhramolkkhrngthisxng praethsidthukpkkhrxngdwyrabxbsngkhmniym imkhuntxshphaphosewiyt odyminayphltiot epnprathanathibdi aelaemuxrabxbkhxmmiwnistlmslayinpi ph s 2532 rthtang thiprakxbknepnyuokslaewiykphaknaeyktwepnpraethsxisra idaek solwieniy okhrexechiy masiodeniy bxseniy mxnetenokrkhxsxwxexngecxpyhacakkhwamkhlngchatikhxngxachyakrsngkhram slxbxdn milxechwich matngaet ph s 2533 cnkrathngehtukarntungekhriydsudemuxesxrebiysngkxngthphekhakhalangephaphnthuchawmusliminkhxsxwxinpi ph s 2541 thaihnaot txngyunmuxekhamachwyehlux odysngekhruxngbinthingraebidcnesxrebiytxngyxmthxnthhar aelaineduxnmithunayn ph s 2542 kxngthharnaot 40 000 khnekharksakhwammnkhnginkhxsxwx epnkaryutibthbathkhxngesxrebiyinkhxsxwx thaihtngaetpi nnepntnma khxsxwxcungepncnghwdhnungkhxngesxrebiyephiyngaetinnam inkhnathikarbriharnganthukxyangxyuphayitkarduaelkhxngshprachachati odymiodykxngkalngthharkhxngshprachachati naodynaot rksakhwamplxdphyinpraethsthngni hlngcakrthsphakhxsxwxlngmtiehnchxbxyangepnexkchnth hachim thachi naykrthmntrikhxsxwx idprakasaeykkhxsxwxxxkcakesxrebiyepnpraethsxisra inwnthi 17 kumphaphnth ph s 2551 odymipraethshlkthiihkarsnbsnunkarprakasexkrachkhxngkhxsxwxkhux shrthxemrikaaelashphaphyuorpkarrbrxngexkrach aekikh aephnthiaesdngkarrbrxngkarprakasexkrachkhxngkhxsxwx hlngcakkarprakasexkrachkhxngkhxsxwx mihlaypraethsihkarrbrxngkarprakasexkrach echn shrthxemrika frngess shrachxanackr turki aexlebeniy eyxrmni satharnrthcin ithwn aelaxikhlaypraeths rwmthungpraethsithy inkhnaediywkn mihlaypraethsthiprakaschdecnwa imrbrxngexkrachkhxngkhxsxwx nxkcakesxrebiysungepnkhukrniaelw yngmirsesiy sepn isprs aelaxikhlaypraethsxangxing aekikh Water percentage in Kosovo Facts about Kosovo 2011 Agriculture Statistics Kosovo Agency of Statistics KAS ekb cakaehlngedimemux 29 August 2017 Kosovo population 2019 live Countrymeters 3 0 3 1 3 2 3 3 World Economic Outlook Database October 2019 International Monetary Fund subkhnemux 24 September 2020 GINI index World Bank estimate Kosovo World Bank subkhnemux 24 September 2020 Kosovo Human Development Report 2016 United Nations Development Programme UNDP 19 October 2016 ekb cakaehlngedimemux 14 July 2020 subkhnemux 24 September 2020 twsakdtamthiichinprakassanknaykrthmntri eruxng karsthapnakhwamsmphnththangkarthutrahwangrachxanackrithykbsatharnrthkhxsxwx Kosovo s status the wheels grind on The Economist October 6 2005 A province prepares to depart The Economist November 2 2006 Kosovo May Soon Be Free of Serbia but Not of Supervision by Nicholas Wood The New York Times November 2 2006 Serbia shrinks and sinks into dejection by WILLIAM J KOLE The Associated Press November 19 2006 khathamthiphbbxy chuxpraeths rachbnthitysthan eriykkhxmulwnthi 28 k ph 2551aehlngkhxmulxun aekikhkhxsxwx praethsmuslimnxngihmkhxngyuorpekhathungcak https th wikipedia org w index php title praethskhxsxwx amp oldid 9446674, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม