fbpx
วิกิพีเดีย

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน หรือ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หรือ ความเบี่ยงเบนมาตรฐาน (อังกฤษ: standard deviation: SD) ในทางสถิติศาสตร์และความน่าจะเป็น เป็นการวัดการกระจายแบบหนึ่งของกลุ่มข้อมูล สามารถนำไปใช้กับการแจกแจงความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม ประชากร หรือมัลติเซต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานมักเขียนแทนด้วยอักษรกรีกซิกมาตัวเล็ก (σ) นิยามขึ้นจากส่วนเบี่ยงเบนแบบ root mean square (RMS) กับค่าเฉลี่ย หรือนิยามขึ้นจากรากที่สองของความแปรปรวน

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานคิดค้นโดย ฟรานซิส กาลตัน (Francis Galton) ในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษ 1860 เป็นการวัดการกระจายทางสถิติที่เป็นปกติทั่วไป ใช้สำหรับเปรียบเทียบว่าค่าต่างๆ ในเซตข้อมูลกระจายตัวออกไปมากน้อยเท่าใด หากข้อมูลส่วนใหญ่อยู่ใกล้ค่าเฉลี่ยมาก ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานก็จะมีค่าน้อย ในทางกลับกัน ถ้าข้อมูลแต่ละจุดอยู่ห่างไกลจากค่าเฉลี่ยเป็นส่วนมาก ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานก็จะมีค่ามาก และเมื่อข้อมูลทุกตัวมีค่าเท่ากันหมด ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานจะมีค่าเท่ากับศูนย์ นั่นคือไม่มีการกระจายตัว คุณสมบัติที่เป็นประโยชน์อย่างหนึ่งก็คือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานใช้หน่วยอันเดียวกันกับข้อมูล แต่กับความแปรปรวนนั้นไม่ใช่

เมื่อตัวอย่างของข้อมูลกลุ่มหนึ่งถูกเลือกมาจากประชากรทั้งหมด ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากรสามารถประมาณค่าได้จากค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุ่มตัวอย่างนั้น

นิยาม

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรสุ่ม X มีการนิยามไว้ดังนี้

 

เมื่อ E(X) หมายถึงค่าคาดหมายของ X (เป็นอีกความหมายหนึ่งของมัชฌิม) และ Var(X) หมายถึงความแปรปรวนของ X

แต่ก็ไม่ใช่ว่าตัวแปรสุ่มทุกตัวจะมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ถ้าหากค่าคาดหมายไม่มีอยู่จริงหรือไม่นิยาม ตัวอย่างเช่น ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรสุ่มภายใต้การแจกแจงโคชี (Cauchy distribution) จะไม่นิยาม เพราะว่า E(X) ก็ไม่นิยามเช่นกัน

ถ้าตัวแปรสุ่ม X มีพื้นฐานอยู่บนเซตข้อมูล   ซึ่งสมาชิกเป็นจำนวนจริงและมีความน่าจะเป็นเท่ากัน ดังนั้นค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานสามารถคำนวณได้จากสูตรข้างล่างนี้ อันดับแรกต้องคำนวณหาค่าเฉลี่ยของ X เสียก่อน ค่าเฉลี่ยเขียนแทนด้วย   ซึ่งนิยามด้วยผลรวม (summation) ดังนี้

 

เมื่อ N คือจำนวนสมาชิกของเซตข้อมูล จากนั้นจึงสามารถคำนวณค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานได้จาก

 

ในทางปฏิบัติ การคำนวณค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรสุ่มชนิดไม่ต่อเนื่องข้างต้น สามารถสรุปได้ดังนี้

  1. สำหรับแต่ละค่าของ   ให้คำนวณผลต่างของ  
  2. นำผลต่างแต่ละตัวมายกกำลังสอง
  3. บวกผลลัพธ์ทั้งหมดเข้าด้วยกันแล้วหารด้วย N ค่าที่ได้นี้คือความแปรปรวน  
  4. คำนวณหารากที่สองที่เป็นบวกของความแปรปรวน จะได้ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

นอกจากนั้นสูตรดังกล่าวสามารถดัดแปลงให้เป็นอีกรูปแบบหนึ่งได้ดังนี้

 

ซึ่งความเท่ากันของทั้งสองสูตร สามารถพิสูจน์ได้ด้วยความรู้ทางพีชคณิต

 

การประมาณค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร

ในความเป็นจริง การคำนวณหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากรทั่วทั้งหมดนั้น อาจไม่สามารถทำให้เกิดขึ้นจริงได้ เว้นแต่ในกรณีเฉพาะเช่นการทดสอบมาตรฐาน (standardized test) ซึ่งทุกสมาชิกของประชากรจะถือว่าเป็นกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด แต่ในกรณีส่วนใหญ่ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานจะถูกคาดคะเนจากจากส่วนเบี่ยงเบนของตัวอย่างกลุ่มหนึ่งที่มาจากประชากร การวัดที่มักถูกใช้เป็นปกติทั่วไปคือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวอย่าง (sample standard deviation) ซึ่งนิยามโดย

 

เมื่อ   คือตัวอย่างและ   คือค่าเฉลี่ยของตัวอย่าง ตัวส่วน N − 1 คือองศาเสรี (degrees of freedom) ของเวกเตอร์  

เหตุผลของการนิยามเช่นนี้คือ   เป็นตัวประมาณค่าไม่เอนเอียง (unbiased estimator) สำหรับความแปรปรวน   บนประชากรที่เป็นพื้นฐาน ถ้าหากความแปรปรวนนั้นมีค่า และค่าต่างๆ ของตัวอย่างได้รับการสุ่มออกมาโดยอิสระต่อกัน อย่างไรก็ตาม s ไม่ใช่ตัวประมาณค่าไม่เอนเอียงของ σ แต่เป็นการประเมินค่าที่ต่ำกว่าค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร และถึงแม้ว่าตัวประมาณค่าไม่เอนเอียงของ σ จะสามารถทราบได้เมื่อตัวแปรสุ่มมีการแจกแจงปกติ แต่สูตรดังกล่าวจะซับซ้อนขึ้นและมีการปรับแต่งตัวเลข ยิ่งกว่านั้นความไม่เอนเอียงก็ไม่ได้เป็นที่ต้องการเสมอไป

ตัวประมาณค่าอีกแบบหนึ่งบางครั้งก็ถูกใช้เหมือนสูตรเดิม

 

รูปแบบนี้จะทำให้เกิดค่าคลาดเคลื่อนประเภท mean squared error น้อยกว่าตัวประมาณค่าไม่เอนเอียง และเป็นการประมาณความควรจะเป็นสูงสุด (maximum likelihood) เมื่อการกระจายของประชากรนั้นเป็นการแจกแจงปกติ

ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง

การแจกแจงต่อเนื่อง (continuous distribution) มักจะเป็นการให้สูตรมาเพื่อคำนวณหาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานเป็นฟังก์ชันของพารามิเตอร์ของการแจกแจง ในกรณีทั่วไปค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรสุ่มชนิดต่อเนื่อง X โดยมี p(x) เป็นฟังก์ชันความหนาแน่นของความน่าจะเป็น (probability density function) สามารถคำนวณได้จาก

 

เมื่อ

 

คุณสมบัติของค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

  •  
  •  
  •  

เมื่อ c เป็นค่าคงตัว และ Covar(X, Y) คือความแปรปรวนร่วมเกี่ยว (covariance) ของตัวแปรสุ่ม X และ Y

อ้างอิง

  1. Sir Francis Galton discovered the standard deviation

แหล่งข้อมูลอื่น

  • A Guide to Understanding & Calculating Standard Deviation
  • Standard Deviation - an explanation without maths
  • Standard Deviation, an elementary introduction
  • Standard Deviation, a simpler explanation for writers and journalists
  • Standard Deviation Calculator
  • Texas A&M Standard Deviation and Confidence Interval Calculators

าเบ, ยงเบนมาตรฐาน, หร, วนเบ, ยงเบนมาตรฐาน, หร, ความเบ, ยงเบนมาตรฐาน, งกฤษ, standard, deviation, ในทางสถ, ศาสตร, และความน, าจะเป, เป, นการว, ดการกระจายแบบหน, งของกล, มข, อม, สามารถนำไปใช, บการแจกแจงความน, าจะเป, วแปรส, ประชากร, หร, อม, ลต, เซต, กเข, ยนแทนด, วยอ. khaebiyngebnmatrthan hrux swnebiyngebnmatrthan hrux khwamebiyngebnmatrthan xngkvs standard deviation SD inthangsthitisastraelakhwamnacaepn epnkarwdkarkracayaebbhnungkhxngklumkhxmul samarthnaipichkbkaraeckaecngkhwamnacaepn twaeprsum prachakr hruxmltiest khaebiyngebnmatrthanmkekhiynaethndwyxksrkriksikmatwelk s niyamkhuncakswnebiyngebnaebb root mean square RMS kbkhaechliy hruxniyamkhuncakrakthisxngkhxngkhwamaeprprwnkhaebiyngebnmatrthankhidkhnody fransis kaltn Francis Galton inchwngplaykhristthswrrs 1860 1 epnkarwdkarkracaythangsthitithiepnpktithwip ichsahrbepriybethiybwakhatang inestkhxmulkracaytwxxkipmaknxyethaid hakkhxmulswnihyxyuiklkhaechliymak khaebiyngebnmatrthankcamikhanxy inthangklbkn thakhxmulaetlacudxyuhangiklcakkhaechliyepnswnmak khaebiyngebnmatrthankcamikhamak aelaemuxkhxmulthuktwmikhaethaknhmd khaebiyngebnmatrthancamikhaethakbsuny nnkhuximmikarkracaytw khunsmbtithiepnpraoychnxyanghnungkkhux khaebiyngebnmatrthanichhnwyxnediywknkbkhxmul aetkbkhwamaeprprwnnnimichemuxtwxyangkhxngkhxmulklumhnungthukeluxkmacakprachakrthnghmd khaebiyngebnmatrthankhxngprachakrsamarthpramankhaidcakkhaebiyngebnmatrthankhxngklumtwxyangnn enuxha 1 niyam 1 1 karpramankhaebiyngebnmatrthankhxngprachakr 1 2 khaebiyngebnmatrthankhxngtwaeprsumchnidtxenuxng 2 khunsmbtikhxngkhaebiyngebnmatrthan 3 xangxing 4 aehlngkhxmulxunniyam aekikhkhaebiyngebnmatrthankhxngtwaeprsum X mikarniyamiwdngni s E X E X 2 E X 2 E X 2 Var X displaystyle begin array lcl sigma amp amp sqrt operatorname E X operatorname E X 2 sqrt operatorname E X 2 operatorname E X 2 amp amp sqrt operatorname Var X end array dd emux E X hmaythungkhakhadhmaykhxng X epnxikkhwamhmayhnungkhxngmchchim aela Var X hmaythungkhwamaeprprwnkhxng Xaetkimichwatwaeprsumthuktwcamikhaebiyngebnmatrthan thahakkhakhadhmayimmixyucringhruximniyam twxyangechn khaebiyngebnmatrthankhxngtwaeprsumphayitkaraeckaecngokhchi Cauchy distribution caimniyam ephraawa E X kimniyamechnknthatwaeprsum X miphunthanxyubnestkhxmul x 1 x N displaystyle x 1 x N sungsmachikepncanwncringaelamikhwamnacaepnethakn dngnnkhaebiyngebnmatrthansamarthkhanwnidcaksutrkhanglangni xndbaerktxngkhanwnhakhaechliykhxng X esiykxn khaechliyekhiynaethndwy x displaystyle overline x sungniyamdwyphlrwm summation dngni x 1 N i 1 N x i x 1 x 2 x N N displaystyle overline x frac 1 N sum i 1 N x i frac x 1 x 2 cdots x N N dd emux N khuxcanwnsmachikkhxngestkhxmul caknncungsamarthkhanwnkhaebiyngebnmatrthanidcak s 1 N i 1 N x i x 2 displaystyle sigma sqrt frac 1 N sum i 1 N x i overline x 2 dd inthangptibti karkhanwnkhaebiyngebnmatrthankhxngtwaeprsumchnidimtxenuxngkhangtn samarthsrupiddngni sahrbaetlakhakhxng x i displaystyle x i ihkhanwnphltangkhxng x i x displaystyle x i overline x naphltangaetlatwmaykkalngsxng bwkphllphththnghmdekhadwyknaelwhardwy N khathiidnikhuxkhwamaeprprwn s 2 displaystyle sigma 2 khanwnharakthisxngthiepnbwkkhxngkhwamaeprprwn caidkhaebiyngebnmatrthannxkcaknnsutrdngklawsamarthddaeplngihepnxikrupaebbhnungiddngni s 1 N i 1 N x i 2 N x 2 displaystyle sigma sqrt frac 1 N left sum i 1 N x i 2 N overline x 2 right dd sungkhwamethaknkhxngthngsxngsutr samarthphisucniddwykhwamruthangphichkhnit i 1 N x i x 2 i 1 N x i 2 2 x i x x 2 i 1 N x i 2 2 x i 1 N x i N x 2 i 1 N x i 2 2 x N x N x 2 i 1 N x i 2 2 N x 2 N x 2 i 1 N x i 2 N x 2 displaystyle begin aligned sum i 1 N x i overline x 2 amp sum i 1 N x i 2 2x i overline x overline x 2 amp left sum i 1 N x i 2 right left 2 overline x sum i 1 N x i right N overline x 2 amp left sum i 1 N x i 2 right 2 overline x N overline x N overline x 2 amp left sum i 1 N x i 2 right 2N overline x 2 N overline x 2 amp left sum i 1 N x i 2 right N overline x 2 end aligned dd karpramankhaebiyngebnmatrthankhxngprachakr aekikh inkhwamepncring karkhanwnhakhaebiyngebnmatrthankhxngprachakrthwthnghmdnn xacimsamarththaihekidkhuncringid ewnaetinkrniechphaaechnkarthdsxbmatrthan standardized test sungthuksmachikkhxngprachakrcathuxwaepnklumtwxyangthnghmd aetinkrniswnihy khaebiyngebnmatrthancathukkhadkhaencakcakswnebiyngebnkhxngtwxyangklumhnungthimacakprachakr karwdthimkthukichepnpktithwipkhux khaebiyngebnmatrthankhxngtwxyang sample standard deviation sungniyamody s 1 N 1 i 1 N x i x 2 displaystyle s sqrt frac 1 N 1 sum i 1 N x i overline x 2 dd emux x 1 x 2 x N displaystyle x 1 x 2 x N khuxtwxyangaela x displaystyle overline x khuxkhaechliykhxngtwxyang twswn N 1 khuxxngsaesri degrees of freedom khxngewketxr x 1 x x N x displaystyle x 1 overline x x N overline x ehtuphlkhxngkarniyamechnnikhux s 2 displaystyle s 2 epntwpramankhaimexnexiyng unbiased estimator sahrbkhwamaeprprwn s 2 displaystyle sigma 2 bnprachakrthiepnphunthan thahakkhwamaeprprwnnnmikha aelakhatang khxngtwxyangidrbkarsumxxkmaodyxisratxkn xyangirktam s imichtwpramankhaimexnexiyngkhxng s aetepnkarpraeminkhathitakwakhaebiyngebnmatrthankhxngprachakr aelathungaemwatwpramankhaimexnexiyngkhxng s casamarththrabidemuxtwaeprsummikaraeckaecngpkti aetsutrdngklawcasbsxnkhunaelamikarprbaetngtwelkh yingkwannkhwamimexnexiyngkimidepnthitxngkaresmxiptwpramankhaxikaebbhnungbangkhrngkthukichehmuxnsutredim 1 N i 1 N x i x 2 displaystyle sqrt frac 1 N sum i 1 N x i overline x 2 rupaebbnicathaihekidkhakhladekhluxnpraephth mean squared error nxykwatwpramankhaimexnexiyng aelaepnkarpramankhwamkhwrcaepnsungsud maximum likelihood emuxkarkracaykhxngprachakrnnepnkaraeckaecngpkti khaebiyngebnmatrthankhxngtwaeprsumchnidtxenuxng aekikh karaeckaecngtxenuxng continuous distribution mkcaepnkarihsutrmaephuxkhanwnhakhaebiyngebnmatrthanepnfngkchnkhxngpharamietxrkhxngkaraeckaecng inkrnithwipkhaebiyngebnmatrthankhxngtwaeprsumchnidtxenuxng X odymi p x epnfngkchnkhwamhnaaennkhxngkhwamnacaepn probability density function samarthkhanwnidcak s x m 2 p x d x displaystyle sigma sqrt int x mu 2 p x dx dd emux m x p x d x displaystyle mu int x p x dx dd khunsmbtikhxngkhaebiyngebnmatrthan aekikhStdev X c Stdev X displaystyle operatorname Stdev X c operatorname Stdev X Stdev c X c Stdev X displaystyle operatorname Stdev cX c operatorname Stdev X Stdev X Y Var X Var Y 2 Covar X Y displaystyle operatorname Stdev X Y sqrt operatorname Var X operatorname Var Y 2 operatorname Covar X Y emux c epnkhakhngtw aela Covar X Y khuxkhwamaeprprwnrwmekiyw covariance khxngtwaeprsum X aela Yxangxing aekikh Sir Francis Galton discovered the standard deviationaehlngkhxmulxun aekikhA Guide to Understanding amp Calculating Standard Deviation Standard Deviation an explanation without maths Standard Deviation an elementary introduction Standard Deviation a simpler explanation for writers and journalists Standard Deviation Calculator Texas A amp M Standard Deviation and Confidence Interval Calculatorsekhathungcak https th wikipedia org w index php title khaebiyngebnmatrthan amp oldid 8611755, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม