fbpx
วิกิพีเดีย

จักรวรรดิเยอรมัน

จักรวรรดิเยอรมัน (เยอรมัน: Deutsches Kaiserreich) เป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการที่ใช้เรียกแผ่นดินของชาวเยอรมัน ตั้งแต่ที่พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ได้สถาปนาพระองค์ขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมันในค.ศ. 1871 จนถึงการสละราชสมบัติของจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ในค.ศ. 1918 ซึ่งนำไปสู่การสิ้นสุดระบอบกษัตริย์ในเยอรมัน ชื่อจักรวรรดิเยอรมันในภาษาเยอรมันอย่างเป็นทางการคือ ไรช์เยอรมัน (เยอรมัน: Deutsches Reich) อย่างไรก็ตาม แม้จักรวรรดิจะล่มสลายไปในปี ค.ศ. 1918 แต่ชื่อ ดอยท์เชิสไรช์ ก็ยังถูกใช้เป็นชื่อทางการของสาธารณรัฐไวมาร์ต่อไป

จักรวรรดิเยอรมัน

ค.ศ. 1871–1918
คำขวัญก็อทท์มิทอุนส์
Nobiscum deus
("พระเจ้าสถิตกับเรา") (มัทธิว 1:23)
เพลงชาติ
จักรวรรดิเยอรมันใน ค.ศ. 1914
เมืองหลวงเบอร์ลิน
52°31′N 13°24′E / 52.517°N 13.400°E / 52.517; 13.400พิกัดภูมิศาสตร์: 52°31′N 13°24′E / 52.517°N 13.400°E / 52.517; 13.400
ภาษาทั่วไปทางการ:
เยอรมัน
ศาสนา
สำมะโน 1880
ส่วนใหญ่:
62.63% สหโปรเตสแตนต์
(ลูเทอแรน, ขนบปฏิรูป)
ส่วนน้อย:
35.89% โรมันคาทอลิก
1.24% ยิว
0.17% ศาสนาคริสต์นิกายอื่น
0.07% อื่น ๆ
การปกครอง
จักรพรรดิ 
• 1871–1888
วิลเฮล์มที่ 1
• 1888
ฟรีดริชที่ 3
• 1888–1918
วิลเฮล์มที่ 2
นายกรัฐมนตรี 
• 1871–1890
ออทโท ฟอน บิสมาร์ค (คนแรก)
• 1918
เจ้าชายมัคซีมีลีอานแห่งบาเดิน (สุดท้าย)
สภานิติบัญญัติไรชส์ทาค
ยุคประวัติศาสตร์จักรวรรดินิยมใหม่ ● สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง
18 มกราคม 1871
• รัฐธรรมนูญ
16 เมษายน 1871
• การประชุมเบอร์ลิน
15 พฤศจิกายน 1884
28 กรกฎาคม 1914
3 พฤศจิกายน 1918
• การสละราชสมบัติของวิลเฮ็ล์มที่ 2
9 พฤศจิกายน 1918
11 พฤศจิกายน 1918
• รัฐธรรมนูญไวมาร์
11 สิงหาคม 1919
ประชากร
• 1871
41,058,792
• 1900
56,367,178
• 1910
64,925,993
สกุลเงินมาร์ค
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ เยอรมนี
 โปแลนด์
 ฝรั่งเศส
 เดนมาร์ก
 รัสเซีย
 เบลเยียม
 ลิทัวเนีย
 เช็กเกีย
พื้นที่และประชากรไม่รวมอาณานิคมในทวีปอื่นที่ยึดครอง

จักรวรรดิเยอรมันประกอบด้วย 26 ดินแดนตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ดินแดนส่วนใหญ่ต่างถูกปกครองและมีราชวงศ์เป็นของตนเอง ดินแดนเหล่านี้ประกอบด้วย 4 ราชอาณาจักร, 6 แกรนด์ดัชชี, 5 ดัชชี (6 ก่อนปี 1876), 7 ราชรัฐ, 3 เสรีนครรัฐ และ 1 ดินแดนในพระองค์ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าราชอาณาจักรปรัสเซียจะเป็นหนึ่งในดินแดนตามที่กล่าวมานี้ แต่ราชอาณาจักรปรัสเซียกลับเป็นดินแดนที่มีอาณาเขตและประชากรมากที่สุดและมากกว่าดินแดนอีก 25 แห่งที่เหลือรวมกัน ดังนั้นราชอาณาจักรปรัสเซียจึงเป็นดินแดนที่มีอำนาจครอบงำจักรวรรดิเยอรมัน

หลังปี 1850 ได้เกิดการพัฒนาอุตสาหกรรมขึ้นอย่างรวดเร็วในรัฐเยอรมันต่าง ๆ โดยเฉพาะอุตสาหกรรมถ่านหิน, เหล็ก (และเหล็กกล้าในกาลต่อมา), เคมีภัณฑ์ และกิจการรถไฟ เมื่อแรกสถาปนาจักรวรรดิในปี 1871 จักรวรรดิมีประชากร 41 ล้านคน และในปี 1913 ได้เพิ่มขึ้นไปเป็น 68 ล้านคน ตลอดเวลา 47 ปีที่จักรวรรดิเยอรมันคงอยู่ จักรวรรดิได้กลายเป็นมหาอำนาจด้านอุตสาหกรรม, เทคโนโลยี และวิทยาศาสตร์ของโลก โดยได้รับรางวัลโนเบลมากกว่าชาติอื่น ๆ

เยอรมันกลายเป็นมหาอำนาจจากการขยายเครือข่ายทางรถไฟอย่างรวดเร็ว, มีกองทัพบกที่ทรงแสนยานุภาพที่สุดในโลก, และเป็นฐานอุตสาหกรรมที่เติบโตอย่างรวดเร็ว ในห้วงเวลาเพียงไม่ถึงทศวรรษ กองทัพเรือเยอรมันกลายเป็นกองทัพเรือที่ทรงแสนยานุภาพเป็นลำดับสองรองจากราชนาวีอังกฤษ ในคราวที่นายกรัฐมนตรี ออทโท ฟอน บิสมาร์ค ถูกปลดโดยจักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ในปี ค.ศ. 1890 นั้น เป็นห้วงเวลาที่จักรวรรดิเยอรมันรุ่งเรืองและฮึกเหิมอย่างมาก ในวิกฤตการณ์ปี 1914 จักรวรรดิเยอรมันได้ให้การสนับสนุนแก่จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี และยังตกลงเป็นพันธมิตรกับจักรวรรดิออตโตมัน เป็นจุดกำเนิดของฝ่ายมหาอำนาจกลางในสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง

ระหว่างสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง เมื่อแผนการเข้ายึดกรุงปารีสก่อนฤดูใบไม้ร่วงประสบความล้มเหลวและแนวรบด้านตะวันตกยังคงคุมเชิงกัน เยอรมันก็ถูกกองเรือของฝ่ายสัมพันธมิตรปิดล้อมทำให้เกิดภาวะขาดแคลนเสบียงอาหาร แม้แนวรบด้านตะวันตกจะไม่คืบหน้า แต่เยอรมันกลับประสบความสำเร็จอย่างยิ่งในแนวรบด้านตะวันออก สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ในปี 1918 ทำให้เยอรมันได้ดินแดนทางตะวันออกมาอย่างมากมาย เยอรมันได้พยายามปิดล้อมเกาะอังกฤษด้วยกองเรือดำน้ำแต่ก็ไม่ประสบความสำเร็จมากนักจากราชนาวีอังกฤษได้จัดเรือคุ้มกันเรือที่มาจากอาณานิคม เหตุโทรเลขซิมแมร์มันน์ในปี 1917 ได้นำพาสหรัฐอเมริกาเข้ามาสู่สงคราม ชาวเยอรมันเริ่มอ่อนล้าจากสงครามในห้วงเวลาที่ลัทธิสังคมนิยมจากการปฏิวัติรัสเซียไหลบ่าเข้ามาสู่ชาวเยอรมัน

แนวรบที่ถูกโต้กลับและสงครามตลอดสี่ปีทำให้เกิดยุคข้าวยากหมากแพงไปทั่วทำให้ประชาชนหมดศรัทธาในรัฐบาลจักรพรรดิเยอรมัน จนทำให้เกิดการลุกฮือขึ้นในปลายเดือนตุลาคม ค.ศ. 1918 รัฐบาลจักรพรรดิเยอรมันได้ประกาศสงบศึก ในวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 หลังจากนั้นสองสัปดาห์ จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ทรงประกาศสละราชสมบัติและลี้ภัยทางการเมืองไปยังเนเธอร์แลนด์ จักรวรรดิเยอรมันได้แปรเปลี่ยนสถานะเป็นสาธารณรัฐไวมาร์ภายใต้ระบอบประธานาธิบดี

ภูมิหลัง

สงครามนโปเลียนในต้นศตวรรษที่ 19 นั้น ได้ทำให้จักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์ของชนชาติที่พูดภาษาเยอรมันล่มสลายและแตกออกเป็นเสี่ยง ๆ เมื่อสงครามยุติ ได้มีการจัดการประชุมใหญ่แห่งเวียนนาขึ้นในปี 1815 เพื่อจัดระเบียบทวีปยุโรปเสียใหม่ การประชุมนี้ได้ทำให้เกิดสมาพันธรัฐเยอรมันขึ้นมา เป็นการรวมกลุ่มกันอย่างหลวม ๆ ของบรรดารัฐเยอรมัน ขบวนการชาตินิยมเยอรมันได้นำพาเยอรมันเข้าสู่การเป็นประเทศที่มีความเป็นเสรีและประชาธิปไตยมากขึ้น ขบวนการได้เสนอให้ผนวกแนวคิดที่เรียกว่า "อุดมการณ์รวมกลุ่มเยอรมัน" เข้าไปในนโยบาย Realpolitik ของ ออทโท ฟอน บิสมาร์ค มุขมนตรีปรัสเซีย โดยบิสมาร์คต้องการแผ่ขยายอำนาจของราชวงศ์โฮเอ็นโซลเลิร์นแห่งปรัสเซียเข้าครอบงำรัฐเยอรมันอื่น ๆ เพื่อนำไปสู่เป้าหมายอันสูงสุดคือการรวมชาติเยอรมันที่มีปรัสเซียเป็นแกนนำ และยังต้องการขจัดอิทธิพลของราชวงศ์ฮับส์บูร์กแห่งออสเตรียที่มีต่อรัฐเยอรมันเหล่านี้

บิสมาร์คได้นำปรัสเซียเข้าสู่สงครามสามครั้งและได้รับชัยชนะอย่างงดงาม คือสงครามชเลสวิชครั้งที่สองกับเดนมาร์กในปี 1864, สงครามออสเตรีย-ปรัสเซียในปี 1866 และสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซียในปี 1870–71

สถาปนาจักรวรรดิ

 
พระเจ้าวิลเฮล์มแห่งปรัสเซียประกาศตนขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมัน ณ พระราชวังแวร์ซายในกรุงปารีส หลังมีชัยในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย
ดูบทความหลักที่: การรวมชาติเยอรมัน

หลังจากที่ปรัสเซียได้ชัยชนะจากสงครามทั้งสาม ในวันที่ 10 ธันวาคม ค.ศ. 1870 รัฐสภาแห่งสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือได้มีมติให้เปลี่ยนชื่อสมาพันธรัฐเป็นจักรวรรดิ และมีมติให้พระเจ้าวิลเฮล์มที่ 1 แห่งปรัสเซีย ดำรงตำแหน่งเป็นจักรพรรดิ และภายหลังรัฐธรรมนูญฉบับใหม่มีผลบังคับใช้เมื่อ 1 มกราคม ค.ศ. 1871 ในช่วงการปิดล้อมกรุงปารีสนั้นเอง ในวันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 1871 พระเจ้าวิลเฮล์มก็ทรงประกาศตนขึ้นเป็นจักรพรรดิเยอรมัน ณ ห้องกระจก ในพระราชวังแวร์ซาย

หลังจากนั้นไม่กี่เดือน รัฐธรรมนูญเยอรมันฉบับที่สองก็ได้ถูกรับรองโดยไรชส์ทาค เมื่อวันที่ 14 เมษายน ค.ศ. 1871 และจักรพรรดิวิลเฮล์มก็ทรงประกาศใช้ในอีกสองวันถัดมา รัฐธรรมนูญฉบับที่สองนี้ มีเค้าโครงเดิมมาจากรัฐธรรมนูญแห่งสมาพันธรัฐเยอรมันเหนือที่ร่างขึ้นโดยบิสมาร์ค โครงสร้างทางการเมืองการปกครองยังคงเหมือนเดิม สภานิติบัญญัติของจักรวรรดิมีชื่อเรียกว่า "ไรชส์ทาค" (Reichstag) สมาชิกของไรชส์ทาคมาจากใช้สิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั่วไปของชายชาวเยอรมัน

การตรากฎหมายต่าง ๆ ต้องผ่านมติเห็นชอบจากคณะมนตรีประเทศที่เรียกว่า "บุนเดิสราท" (Bundesrat) ประกอบด้วยผู้แทนจาก 27 รัฐในจักรวรรดิ แต่ละรัฐมีสิทธิออกเสียงไม่เท่ากัน ยิ่งเป็นรัฐที่ใหญ่และประชากรมากก็จะมีสิทธิออกเสียงมาก เช่นราชอาณาจักรปรัสเซียมีสิทธิออกเสียงถึง 17 สิทธิจากทั้งหมด 58 สิทธิ ปรัสเซียต้องการเสียงจากรัฐอื่น ๆ อีกเพียงเล็กน้อยเพื่อให้เกินกึ่งหนึ่ง ส่วนอำนาจฝ่ายบริหารเป็นของจักรพรรดิหรือที่เรียกว่าไกเซอร์ (Kaiser) ซึ่งจะทรงแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีหนึ่งคนเพื่อเป็นหัวหน้าฝ่ายบริหาร รัฐธรรมนูญเยอรมนี้ได้ให้อำนาจจักรพรรดิไว้ค่อนข้างมาก สามารถแต่งตั้งและถอดถอนนายกรัฐมนตรีได้ตามพระราชอัธยาศัย รัฐบาลจักรวรรดินี้ไม่มีรัฐมนตรีประจำกระทรวง ดังนั้นแล้วนายกรัฐมนตรีจึงเปรียบเสมือน "รัฐบาลหนึ่งบุรุษ" รับผิดชอบและดูแลราชการแทบจะทุกอย่าง (ทั้งด้านการคลัง, การสงคราม, การต่างประเทศ ฯลฯ) แม้ว่าไรชส์ทาคจะทำหน้าที่ตรากฎหมาย, ยกเลิกกฎหมาย, ผ่านกฎหมาย ดังที่กล่าวมา แต่อำนาจที่แท้จริงทั้งปวงอยู่ที่จักรพรรดิ ซึ่งทรงใช้อำนาจผ่านทางนายกรัฐมนตรี

รัฐและดินแดนต่าง ๆ ในจักรวรรดิ ยังคงมีรัฐบาลเป็นของตนแต่มีอำนาจจำกัด ยกตัวอย่างเช่น การสแตมป์ไปรษณีย์และการผลิตเหรียญทอง 1 มาร์คนั้นเป็นหน้าที่ของรัฐบาลกรุงเบอร์ลิน ส่วนการผลิตเงินสกุลมาร์คที่มีมูลค่าเกินกว่านั้นเป็นหน้าที่ของรัฐบาลท้องถิ่น รัฐต่าง ๆ มีอำนาจสถาปนาเครื่องราชอิสริยาภรณ์เป็นของตนเอง บางรัฐอาจมีกำลังทหารเป็นของตนเอง อำนาจทหารทั้งหมดจะถูกริบไปอยู่ที่รัฐบาลกรุงเบอร์ลินในยามศึกสงคราม

อุตสาหกรรม

 
โรงงานของบริษัทเหล็กครุปป์ ในเมืองเอสเซิน ค.ศ. 1890 เมืองนี้เมืองเดียวมีโรงงานตั้งอยู่ถึง 60 อาคารด้วยเครื่องจักรกว่า 8,500 เครื่อง

การพัฒนาอุตสาหกรรมในเยอรมันดำเนินไปอย่างก้าวกระโดด ผู้ผลิตสินค้าของเยอรมันสามารถแย่งชิงส่วนแบ่งตลาดภายในประเทศเพิ่มมากขึ้น ทำให้การนำเข้าสินค้าจากอังกฤษลดน้อยลง ไม่เพียงเท่านี้ ผู้ผลิตของเยอรมันยังสามารถแย่งชิงตลาดต่างประเทศจากอังกฤษไปได้อีกไม่น้อยโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสหรัฐอเมริกา อุตสาหกรรมโลหะและสิ่งทอของเยอรมันได้แซงหน้าอังกฤษในปี 1870 ในแง่การจัดการและประสิทธิภาพการผลิตซึ่งได้ทำให้อุตสาหกรรมสิ่งทอและโลหะของอังกฤษไม่มีที่ยืนในเยอรมันอีกต่อไป เยอรมันกลายเป็นชาติมหาอำนาจทางเศรษฐกิจในยุโรป และเป็นชาติที่ส่งออกมากเป็นอันดับสองรองจากสหราชอาณาจักร

ในตอนเริ่มแรก เยอรมันต้องพึ่งพาการนำเข้าเทคโนโลยีต่าง ๆ จากอังกฤษโดยเฉพาะรถไฟ เยอรมันใช้เวลาไม่นานในการเรียนรู้จนสามารถสร้างรถไฟและขยายโครงข่ายทางรถไฟได้ด้วยตนเอง โครงข่ายทางรถไฟได้เพิ่มจาก 21,000 กิโลเมตรในปี 1871 ไปเป็น 63,000 กิโลเมตรในปี 1913 กลายเป็นชาติที่มีโครงข่ายทางรถไฟยาวรองจากสหรัฐอเมริกา

ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีระหว่างการปฏิวัติอุตสาหกรรมในเยอรมนีนั้น สามารถแบ่งออกเป็น 4 ระลอก ได้แก่: การรถไฟ (1877–1886), สีย้อม (1887–1896), เคมีภัณฑ์ (1897–1902) และ วิศวกรรมไฟฟ้า (1903–1918) และเนื่องจากเยอรมันได้มีการพัฒนาอุตสาหกรรมทีหลังอังกฤษ โรงงานอุตสาหกรรมในเยอรมนีถูกออกแบบได้มีประสิทธิภาพมากกว่าโรงงานในอังกฤษ เยอรมันมีการลงทุนด้านการวิจัยอย่างหนักหน่วงมากกว่าอังกฤษ โดยเฉพาะการวิจัยด้านเคมี, มอเตอร์ และไฟฟ้า ส่งผลให้นักฟิสิกส์และนักเคมีชาวเยอรมันเป็นผู้ผูกขาดรางวัลโนเบลกว่าหนึ่งในสามของจำนวนรางวัลโนเบลที่มอบให้แก่บุคคลสัญชาติเยอรมัน การรวมกลุ่มของบริษัทในเยอรมัน ก็เป็นอีกสาเหตุที่ทำให้แต่ละบริษัทสามารถใช้ทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพสูง

ก่อนปี 1900 อุตสาหกรรมสีย้อมของเยอรมันได้เข้าครอบงำตลาดสีย้อมของโลก ผู้ผลิตหลักสามรายได้แก่ BASF, Bayer และ Hoechst ตลอดจนผู้ผลิตรายย่อยอีกห้ารายของเยอรมัน สามารถผลิตสีย้อมได้กว่าหลายร้อยสี ซึ่งในปี 1913 ผู้ผลิตทั้งแปดรายนี้ครองส่วนแบ่งตลาดกว่า 90% ในตลาดสีย้อมของโลก การผลิตกว่า 80% เป็นการส่งออกเพื่อป้อนตลาดโลก นอกจากนี้ ผู้ผลิตหลักสามรายยังได้ร่วมมือกับอุตสาหกรรมต้นน้ำเพื่อผลิตวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมอื่น ๆ อย่าง เวชภัณฑ์, ฟิล์มถ่ายภาพ, สารเคมีทางการเกษตร และไฟฟ้าเคมี

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง อุตสาหกรรมในเยอรมนีได้เปลี่ยนไปสู่การผลิตเพื่อป้อนสงคราม ความต้องถ่านหินและแร่เหล็กได้เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาลเพื่อใช้ในการผลิตปืนใหญ่และต่อเรือรบ ความต้องการด้านเคมีภัณฑ์สำหรับสังเคราะห์เป็นผลิตภัณฑ์ก็เพิ่มขึ้นมากเช่นกัน เนื่องจากอังกฤษและพันธมิตรของอังกฤษได้งดส่งออกสินค้าเหล่านี้แก่เยอรมัน

อาณาเขต

รัฐและดินแดนในจักรวรรดิ

ก่อนการรวมชาติเยอรมันในปี 1871 ชนชาติเยอรมันแบ่งออกเป็น 27 รัฐอิสระ รัฐเหล่านี้มีฐานะเป็น ราชอาณาจักร, แกรนด์ดัชชี, ดัชชี, ราชรัฐ, เสรีนคร และดินแดนในพระองค์ รัฐที่มีสถานะเป็นเสรีนคร จะถูกปกครองด้วยรัฐบาลพลเรือน ในขณะที่รัฐอื่น ๆ ของจักรวรรดิต่างมีราชวงศ์ของตนเองเป็นผู้ปกครอง ในบรรดารัฐทั้งหมดนี้ ราชอาณาจักรปรัสเซียถือเป็นรัฐที่ใหญ่ที่สุด ครอบคลุมพื้นที่สองในสามของดินแดนทั้งจักรวรรดิ และมีประชากรคิดเป็นร้อยละ 61 ของทั้งจักรวรรดิ

ซัคเซิน-ไมนิงเงินซัคเซิน-ไมนิงเงินซัคเซิน-ไมนิงเงินซัคเซิน-ไมนิงเงินซัคเซิน-ไมนิงเงินซัคเซิน-ไมนิงเงินซัคเซิน-ไมนิงเงินซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาSaxe-Coburg and Gothaซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาSaxe-Coburg and Gothaซัคเซิน-โคบูร์กและโกทาSchwarzburg-SondershausenSchwarzburg-SondershausenSchwarzburg-SondershausenSchwarzburg-SondershausenSchwarzburg-SondershausenSchwarzburg-RudolstadtSchwarzburg-RudolstadtSchwarzburg-RudolstadtSchwarzburg-RudolstadtSchwarzburg-RudolstadtSchwarzburg-RudolstadtSchwarzburg-RudolstadtSchwarzburg-Rudolstadtซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซนัคPrincipality of Reuss-GreizPrincipality of Reuss-GreizPrincipality of Reuss-GreizPrincipality of Reuss-GreizPrincipality of Reuss-GreizPrincipality of Reuss-GreizPrincipality of Reuss-GreizDuchy of Saxe-AltenburgDuchy of Saxe-AltenburgDuchy of Saxe-AltenburgDuchy of Saxe-AltenburgDuchy of Saxe-AltenburgPrincipality of Reuss-GeraPrincipality of Reuss-GeraPrincipality of Reuss-GeraPrincipality of Reuss-GeraPrincipality of Reuss-GeraPrincipality of Reuss-GeraราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียThuringian statesThuringian statesThuringian statesThuringian statesอาลซัส-ลอแรนแกรนด์ดัชชีบาเดินราชอาณาจักรเวือร์ทเทมแบร์กราชอาณาจักรบาวาเรียราชอาณาจักรบาวาเรียราชอาณาจักรบาวาเรียราชอาณาจักรซัคเซินแกรนด์ดัชชีเฮ็สเซินแกรนด์ดัชชีเฮ็สเซินDuchy of AnhaltDuchy of AnhaltDuchy of AnhaltDuchy of AnhaltDuchy of AnhaltDuchy of AnhaltDuchy of AnhaltDuchy of AnhaltWaldeck (state)Waldeck (state)Waldeck (state)ดัชชีเบราน์ชไวก์ดัชชีเบราน์ชไวก์ดัชชีเบราน์ชไวก์ดัชชีเบราน์ชไวก์ดัชชีเบราน์ชไวก์ดัชชีเบราน์ชไวก์ดัชชีเบราน์ชไวก์ดัชชีเบราน์ชไวก์ราชรัฐลิพเพอราชรัฐลิพเพอPrincipality of Schaumburg-LippePrincipality of Schaumburg-Lippeฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คฮัมบวร์คเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบคเสรีนครลือเบครัฐเบรเมินรัฐเบรเมินรัฐเบรเมินรัฐเบรเมินรัฐเบรเมินรัฐเบรเมินแกรนด์ดัชชีโอลเดินบวร์คแกรนด์ดัชชีโอลเดินบวร์คแกรนด์ดัชชีโอลเดินบวร์คแกรนด์ดัชชีโอลเดินบวร์คแกรนด์ดัชชีโอลเดินบวร์คแกรนด์ดัชชีโอลเดินบวร์คแกรนด์ดัชชีโอลเดินบวร์คแกรนด์ดัชชีโอลเดินบวร์คแกรนด์ดัชชีโอลเดินบวร์คแกรนด์ดัชชีโอลเดินบวร์คแกรนด์ดัชชีโอลเดินบวร์คแกรนด์ดัชชีโอลเดินบวร์คแกรนด์ดัชชีโอลเดินบวร์คเมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์เมคเลินบวร์ค-ชเวรีนเมคเลินบวร์ค-ชเวรีนเมคเลินบวร์ค-ชเวรีนเมคเลินบวร์ค-ชเวรีนราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซียราชอาณาจักรปรัสเซีย 
ดินแดน เมืองหลวง
ราชอาณาจักร (Königreiche)
  ปรัสเซีย (Preußen) เบอร์ลิน
  บาวาเรีย (Bayern) มิวนิก
  ซัคเซิน (Sachsen) เดรสเดิน
  เวือร์ทเทิมแบร์ค (Württemberg) ชตุทท์การ์ท
แกรนด์ดัชชี (Großherzogtümer)
  บาเดิน (Baden) คาร์ลสรูเออ
  เฮ็สเซิน (Hessen) ดาร์มชตัท
  เมคเลินบวร์ค-ชเวรีน (Mecklenburg-Schwerin) ชเวรีน
  เมคเลินบวร์ค-ชเตรลิทซ์ (Mecklenburg-Strelitz) นอยชเตรลิทซ์
  โอลเดินบวร์ค (Oldenburg) โอลเดินบวร์ค
  ซัคเซิน-ไวมาร์-ไอเซอนัค (Sachsen-Weimar-Eisenach) ไวมาร์
ดัชชี (Herzogtümer)
  อันฮัลท์ (Anhalt) เดสเซา
  เบราน์ชไวค์ (Braunschweig) เบราน์ชไวค์
  ซัคเซิน-อัลเทินบวร์ค (Sachsen-Altenburg) อัลเทินบวร์ค
  ซัคเซิน-โคบวร์คและโกทา (Sachsen-Coburg und Gotha) โคบูร์ก
  ซัคเซิน-ไมนิงเงิน (Sachsen-Meiningen) ไมนิงเงิน
ราชรัฐ (Fürstentümer)
  ลิพเพอ (Lippe) เดทมอลด์
  ร็อยส์-เกอรา (Reuss-Gera) เกอรา
  ร็อยส์-ไกรซ์ (Reuss-Greiz) ไกรซ์
  ชามบวร์ค-ลิพเพอ (Schaumburg-Lippe) บึคเคอบวร์ค
  ชวาร์ซบวร์ค-รูดอลชตัดท์ (Schwarzburg-Rudolstadt) รูดอลชตัดท์
  ชวาร์ซบวร์ค-ซอนเดอร์สเฮาเซิน (Schwarzburg-Sondershausen) ซอนเดอร์สเฮาเซิน
  วัลด์เอ็คและปิร์มงต์ (Waldeck und Pyrmont) อาโรลเซิน
เสรีแลฮันเซอนคร (Freie und Hansestädte)
  เบรเมิน (Bremen)
  ฮัมบวร์ค (Hamburg)
  ลือเบค (Lübeck)
ดินแดนในพระองค์ (Reichsländer)
  เอ็ลซัส-โลทริงเงิน (Elsass-Lothringen) ชตราสส์บวร์ค

อาณานิคม

บิสมาร์คก่อตั้งอาณานิคมเยอรมันจำนวนมากระหว่างช่วงทศวรรษที่ 1880 ในแอฟริกาและแปซิฟิก แต่บิสมาร์คไม่ค่อยให้ความสำคัญในนโยบายอาณานิคมมากนัก ด้วยเพราะการต่อต้านรัฐบาลอาณานิคมเยอรมันอย่างรุนแรงจากชนพื้นเมือง แต่นโยบายอาณานิคมเป็นที่สนใจของกลุ่มผู้เคร่งศาสนาซึ่งได้ทำการสนับสนุนเหล่ามิชชันนารีอย่างกว้างขวางในดินแดนเหล่านั้น

รัฐบาลเยอรมันมีความต้องการสร้างอาณานิคมตั้งแต่ทศวรรษที่ 1848 แล้ว บิสมารค์ได้เริ่มกระบวนการก่อตั้งอาณานิคมบางส่วน เมือถึงปี ค.ศ. 1884 เยอรมนีได้ก่อตั้งอาณานิคม นิวกินีของเยอรมัน เมื่อถึงช่วงทศวรรษที่ 1890 การขยายอาณานิคมของเยอรมันในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก (ตัวอย่างเช่น อ่าวเจียวโชว และ เทียนจิน ในประเทศจีน หมู่เกาะมาเรียนา, เกาะคาโรไลน์, ซามัว) นำไปสู่การเผชิญหน้ากับสหราชอาณาจักร, รัสเซีย, ญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกาในการแย่งชิงอาณานิคมในทวีปแอฟริกา ทำให้เกิด สงครามเฮเรโรในดินแดน ประเทศนามิเบีย ปัจจุบัน ในช่วงปี ค.ศ. 1906-ค.ศ. 1907 ส่งผลให้เกิด การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวเฮเรโรและนามานคิว


ประชากรศาสตร์

ประชากรจักรวรรดิราว 92% พูดภาษาเยอรมันเป็นหลัก รองลงมา 5.2% พูดภาษาโปแลนด์เป็นหลัก มีประชากรราว 0.5% ที่พูดฝรั่งเศสเป็นหลัก ซึ่งกระจุกตัวอยู่ในอาลซัส-โลทาริงเกีย

สำมะโนปี 1900

ภาษาท้องถิ่นของพลเมืองในจักรวรรดิเยอรมัน
(1 ธันวาคม ค.ศ. 1900)
ภาษา ประชากร ร้อยละ (%)
เยอรมัน 51,883,131 92.05
ภาษาเยอรมัน และ ภาษาอื่น ๆ 252,918 0.45
โปแลนด์ 3,086,489 5.48
ฝรั่งเศส 211,679 0.38
มาซูเรียน, 142,049 0.25
เดนมาร์ก 141,061 0.25
ลิทัวเนีย 106,305 0.19
คาซูเรียน 100,213 0.18
Wendish (Sorbian) 93,032 0.16
ดัตช์ 80,361 0.14
อิตาลี 65,930 0.12
โมราเวีย 64,382 0.11
เช็ก 43,016 0.08
ฟรีสแลนด์ 20,677 0.04
อังกฤษ 20,217 0.04
รัสเซีย 9,617 0.02
สวีเดน 8,998 0.02
ฮังการี 8,158 0.01
สเปน 2,059 0.00
โปรตุเกส 479 0.00
ภาษาอื่น ๆ 14,535 0.03
สัมมะโนประชากร เมื่อ 1 ธันวาคม ค.ศ. 1900 56,367,187 100

ศาสนา

 
จักรพรรดิวิลเฮล์มที่ 2 ในฐานะ อัครศาสนูปถัมภกแห่งคริสตจักรอีแวนเจลิคัลแห่งมณฑลเดิมของปรัสเซีย เสด็จเยือนเยรูซาเลม ค.ศ. 1898
การนับถือศาสนาในจักรวรรดิเยอรมัน ค.ศ. 1880
พื้นที่ โปรเตสแตนต์ คาทอลิก คริสต์นิกายอื่น ยิว ศาสนาอื่น
จำนวน % จำนวน % จำนวน % จำนวน % จำนวน %
ปรัสเซีย 17,633,279 64.64 9,206,283 33.75 52,225 0.19 363,790 1.33 23,534 0.09
บาวาเรีย 1,477,952 27.97 3,748,253 70.93 5,017 0.09 53,526 1.01 30 0.00
ซัคเซิน 2,886,806 97.11 74,333 2.50 4,809 0.16 6,518 0.22 339 0.01
เวือร์ทเทิมแบร์ค 1,364,580 69.23 590,290 29.95 2,817 0.14 13,331 0.68 100 0.01
บาเดิน 547,461 34.86 993,109 63.25 2,280 0.15 27,278 1.74 126 0.01
เอ็ลซัส-โลทริงเงิน 305,315 19.49 1,218,513 77.78 3,053 0.19 39,278 2.51 511 0.03
รวมทั้งหมด 28,331,152 62.63 16,232,651 35.89 78,031 0.17 561,612 1.24 30,615 0.07

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. Preble, George Henry, History of the Flag of the United States of America: With a Chronicle of the Symbols, Standards, Banners, and Flags of Ancient and Modern Nations, 2nd ed, p. 102; A. Williams and co, 1880
  2. Fischer & Senkel 2010, p. 90.
  3. Statement of Abdication of Wilhelm II
  4. (ภาษาเยอรมัน). คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 5 April 2007. สืบค้นเมื่อ 25 April 2007.
  5. "German Empire: administrative subdivision and municipalities, 1900 to 1910" (ภาษาเยอรมัน). สืบค้นเมื่อ 25 April 2007.
  6. "Nobel Prizes by Country – Evolution of National Science Nobel Prize Shares in the 20th Century, by Citizenship (Juergen Schmidhuber, 2010)". Idsia.ch. สืบค้นเมื่อ 2 December 2012.
  7. Case 1902, p. 140
  8. Edmond Taylor, The fossil monarchies: the collapse of the old order, 1905–1922 (1967) p 206
  9. Jochen Streb, et al. "Technological and geographical knowledge spillover in the German empire 1877–1918", Economic History Review, May 2006, Vol. 59 Issue 2, pp. 347–373
  10. John J. Beer, The Emergence of the German Dye Industry (1959).
  11. L. Gann and Peter Duignan, The Rulers of German Africa, 1884–1914 (1977) focuses on political and economic history; Michael Perraudin and Jürgen Zimmerer, eds. German Colonialism and National Identity (2010) focuses on cultural impact in Africa and Germany.
  12. Dedering, Tilman (1993). "The German‐Herero war of 1904: Revisionism of Genocide or Imaginary Historiography?". Journal of Southern African Studies. 19 (1): 80–88. doi:10.1080/03057079308708348.CS1 maint: ref=harv (link)
  13. (ภาษาเยอรมัน). คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2010-02-06. สืบค้นเมื่อ 20 January 2010.

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

  • Berghahn, Volker Rolf. Modern Germany: society, economy, and politics in the twentieth century (1987) ACLS E-book
  • Berghahn, Volker Rolf. Imperial Germany, 1871–1914: Economy, Society, Culture, and Politics (2nd ed. 2005)
  • Blackbourn, David. The Long Nineteenth Century: A History of Germany, 1780–1918 (1998) excerpt and text search
  • Blackbourn, David, and Geoff Eley. The Peculiarities of German History: Bourgeois Society and Politics in Nineteenth-Century Germany (1984) online edition ISBN 0-19-873058-6
  • Blanke, Richard. Prussian Poland in the German Empire (1981)
  • Brandenburg, Erich. Die Reichsgründung (2 vols, 1923, online: vol. 1 vol. 2)
  • Cecil, Lamar. Wilhelm II: Prince and Emperor, 1859–1900 (1989) online edition; vol2: Wilhelm II: Emperor and Exile, 1900–1941 (1996) online edition
  • Chickering, Roger. Imperial Germany and the Great War, 1914-1918 (2nd ed. 2004) excerpt and text search
  • Clark, Christopher. Iron Kingdom: The Rise and Downfall of Prussia, 1600–1947 (2006), the standard scholarly survey
  • Dawson, William Harbutt. The Evolution of Modern Germany (1908), 503pp covers 1871-1906 with focus on social and economic history & colonies online free
  • Dawson, William Harbutt. Germany at Home (1908) 275 pp; popular description of social life in villages and cities online
  • Dawson, William Harbutt. Bismarck and state socialism; an exposition of the social and economic legislation of Germany since 1870 (1890) 175 pp online
  • Dawson, William Harbutt. Municipal life and government in Germany (1914); 507pp describes the workings of local government and the famous bureaucracy online
  • Dawson, William Harbutt. Germany and the Germans (1894) 387pp; politics and parties, Volume 2 online
  • Feuchtwanger, Ed (2002). Imperial Germany 1850-1918. Routledge. ISBN 1-13462-072-1.CS1 maint: ref=harv (link)
  • Fischer, Fritz. From Kaiserreich to Third Reich: Elements of Continuity in German History, 1871–1945. (1986). ISBN 0-04-943043-2.
  • Hayes, Carlton J. H. "The History of German Socialism Reconsidered," American Historical Review (1917) 23#1 pp. 62-101 online
  • Holborn, Hajo. A History of Modern Germany: 1840–1945 (1969), pp 173–532
  • Jefferies, Mattew. Imperial Culture in Germany, 1871–1918. (Palgrave, 2003) ISBN 1-4039-0421-9.
  • Kennedy, Paul. The Rise of the Anglo-German Antagonism, 1860–1914 (2nd ed. 1988) ISBN 1-57392-301-X
  • Kitchen, Martin (2011). A History of Modern Germany: 1800 to the Present. John Wiley & Sons. ISBN 1-44439-689-7.CS1 maint: ref=harv (link)
  • Koch, Hannsjoachim W. A constitutional history of Germany in the nineteenth and twentieth centuries (1984).

ภูมิประวัติศาสตร์

  • Berghahn, Volker Rolf. "Structure and Agency in Wilhelmine Germany: The history of the German Empire, Past, present and Future," in Annika Mombauer and Wilhelm Deist, eds. The Kaiser: New Research on Wilhelm II's Role in Imperial Germany (2003) pp 281–93, historiography
  • Chickering, Roger, ed. Imperial Germany: A Historiographical Companion (1996), 552pp; 18 essays by specialists
  • Dickinson, Edward Ross. "The German Empire: an Empire?" History Workshop Journal Issue 66, (Autumn 2008) online in Project MUSE, with guide to recent scholarship
  • Eley, Geoff, and James Retallack, "Introduction" in Geoff Eley and James Retallack, eds. Wilhelminism and Its Legacies: German Modernities, Imperialism, and the Meanings of Reform, 1890-1930 (2004) online
  • Jefferies, Matthew. Contesting the German Empire 1871 - 1918 (2008) excerpt and text search
  • Müller, Sven Oliver, and Cornelius Torp, ed. Imperial Germany Revisited: Continuing Debates and New Perspectives (2011)
  • Reagin, Nancy R. "Recent Work on German National Identity: Regional? Imperial? Gendered? Imaginary?" Central European History (2004) v 37, pp 273–289 doi:10.1163/156916104323121483

ข้อมูลปฐมภูมิ

  • Vizetelly, Henry. Berlin Under the New Empire: Its Institutions, Inhabitants, Industry, Monuments, Museums, Social Life, Manners, and Amusements (2 vol. London, 1879) online volume 2

แหล่งข้อมูลอื่น

  • แผนที่จักรวรรดิเยอรมัน ค.ศ. 1871 (อังกฤษ)
  • จักรวรรดิเยอรมัน: เขตการปกครองและเทศบาล ค.ศ. 1900 ถึง 1910 (เยอรมัน)
  • Das Kaiserreich - Deutsches Reich 1871-1918 (เยอรมัน)
  • เยอรมนี: ประมุขแห่งรัฐ: ค.ศ. 1871-1945 2008-05-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (อังกฤษ)
  • German Empire (อังกฤษ) ที่วิกิซอร์ซ

กรวรรด, เยอรม, เยอรม, deutsches, kaiserreich, เป, นช, ออย, างไม, เป, นทางการท, ใช, เร, ยกแผ, นด, นของชาวเยอรม, งแต, พระเจ, าว, ลเฮล, มท, แห, งปร, สเซ, ได, สถาปนาพระองค, นเป, นจ, กรพรรด, เยอรม, นในค, 1871, จนถ, งการสละราชสมบ, ของจ, กรพรรด, ลเฮล, มท, ในค, 1918, . ckrwrrdieyxrmn eyxrmn Deutsches Kaiserreich epnchuxxyangimepnthangkarthiicheriykaephndinkhxngchaweyxrmn tngaetthiphraecawilehlmthi 1 aehngprsesiy idsthapnaphraxngkhkhunepnckrphrrdieyxrmninkh s 1871 cnthungkarslarachsmbtikhxngckrphrrdiwilehlmthi 2 inkh s 1918 sungnaipsukarsinsudrabxbkstriyineyxrmn chuxckrwrrdieyxrmninphasaeyxrmnxyangepnthangkarkhux ircheyxrmn eyxrmn Deutsches Reich xyangirktam aemckrwrrdicalmslayipinpi kh s 1918 aetchux dxythechisirch kyngthukichepnchuxthangkarkhxngsatharnrthiwmartxipckrwrrdieyxrmnDeutsches Reich ircheyxrmnkh s 1871 1918thngchati traaephndin kh s 1889 1918 khakhwy kxththmithxuns 1 Nobiscum deus phraecasthitkbera mththiw 1 23 ephlngchati ihlediyrximsiekxrkhrnths 2 khxphraphuthrngmngkudaehngphuthrngchythrngphraecriy source source track aesdngaephnthithwipyuorpaesdngaephnthirthaetlarthckrwrrdieyxrmnin kh s 1914thitngkhxngckrwrrdi xananikhm aelarthinxarkkhakhxngeyxrmn sida emuxnghlwngebxrlin52 31 N 13 24 E 52 517 N 13 400 E 52 517 13 400 phikdphumisastr 52 31 N 13 24 E 52 517 N 13 400 E 52 517 13 400phasathwipthangkar eyxrmnimthangkar echk dtch frngess friechiy ednmark khasuebiyn lithweniy eyxrmnta opaelnd sxrebiyn yiddichsasnasamaon 1880swnihy 62 63 shopretsaetnt luethxaern khnbptirup swnnxy 35 89 ormnkhathxlik 1 24 yiw 0 17 sasnakhristnikayxun 0 07 xun karpkkhrxngshphnth rabbrthspharachathipitykungphayitrththrrmnuy 1871 1916 shphnth rabbrthspha rachathipitykungphayitrththrrmnuyphayitephdckarthhar 1916 1918 ckrphrrdi 1871 1888wilehlmthi 1 1888fridrichthi 3 1888 1918wilehlmthi 2naykrthmntri 1871 1890xxthoth fxn bismarkh khnaerk 1918ecachaymkhsimilixanaehngbaedin sudthay sphanitibyytiirchsthakhyukhprawtisastrckrwrrdiniymihm sngkhramolkkhrngthihnung karrwmchati18 mkrakhm 1871 rththrrmnuy16 emsayn 1871 karprachumebxrlin15 phvscikayn 1884 sngkhramolkkhrngthihnung28 krkdakhm 1914 karptiwtieyxrmn3 phvscikayn 1918 karslarachsmbtikhxngwilehlmthi 2 3 9 phvscikayn 1918 sinsudsngkhramolkkhrngthihnung11 phvscikayn 1918 rththrrmnuyiwmar11 singhakhm 1919prachakr 1871 4 41 058 792 1900 4 56 367 178 1910 4 64 925 993skulenginmarkhkxnhna thdipshphnthrtheyxrmnehnuxbawaeriyewuxrthethimaebrkhbaedinehsesin satharnrthiwmaropaelnddinaednsardnsikfrngesslithweniyechoksolwaekiypccubnepnswnhnungkhxng eyxrmni opaelnd frngess ednmark rsesiy ebleyiym lithweniy echkekiyphunthiaelaprachakrimrwmxananikhminthwipxunthiyudkhrxngckrwrrdieyxrmnprakxbdwy 26 dinaedntamthibyytiiwinrththrrmnuy dinaednswnihytangthukpkkhrxngaelamirachwngsepnkhxngtnexng dinaednehlaniprakxbdwy 4 rachxanackr 6 aekrnddchchi 5 dchchi 6 kxnpi 1876 7 rachrth 3 esrinkhrrth aela 1 dinaedninphraxngkh xyangirktam aemwarachxanackrprsesiycaepnhnungindinaedntamthiklawmani aetrachxanackrprsesiyklbepndinaednthimixanaekhtaelaprachakrmakthisudaelamakkwadinaednxik 25 aehngthiehluxrwmkn dngnnrachxanackrprsesiycungepndinaednthimixanackhrxbngackrwrrdieyxrmnhlngpi 1850 idekidkarphthnaxutsahkrrmkhunxyangrwderwinrtheyxrmntang odyechphaaxutsahkrrmthanhin ehlk aelaehlkklainkaltxma ekhmiphnth aelakickarrthif emuxaerksthapnackrwrrdiinpi 1871 ckrwrrdimiprachakr 41 lankhn aelainpi 1913 idephimkhunipepn 68 lankhn tlxdewla 47 pithickrwrrdieyxrmnkhngxyu ckrwrrdiidklayepnmhaxanacdanxutsahkrrm ethkhonolyi aelawithyasastrkhxngolk odyidrbrangwloneblmakkwachatixun 6 eyxrmnklayepnmhaxanaccakkarkhyayekhruxkhaythangrthifxyangrwderw mikxngthphbkthithrngaesnyanuphaphthisudinolk aelaepnthanxutsahkrrmthietibotxyangrwderw inhwngewlaephiyngimthungthswrrs kxngthpheruxeyxrmnklayepnkxngthpheruxthithrngaesnyanuphaphepnladbsxngrxngcakrachnawixngkvs inkhrawthinaykrthmntri xxthoth fxn bismarkh thukpldodyckrphrrdiwilehlmthi 2 inpi kh s 1890 nn epnhwngewlathickrwrrdieyxrmnrungeruxngaelahukehimxyangmak inwikvtkarnpi 1914 ckrwrrdieyxrmnidihkarsnbsnunaekckrwrrdixxsetriy hngkari aelayngtklngepnphnthmitrkbckrwrrdixxtotmn epncudkaenidkhxngfaymhaxanacklanginsngkhramolkkhrngthihnungrahwangsngkhramolkkhrngthihnung emuxaephnkarekhayudkrungpariskxnvduibimrwngprasbkhwamlmehlwaelaaenwrbdantawntkyngkhngkhumechingkn eyxrmnkthukkxngeruxkhxngfaysmphnthmitrpidlxmthaihekidphawakhadaekhlnesbiyngxahar aemaenwrbdantawntkcaimkhubhna aeteyxrmnklbprasbkhwamsaercxyangyinginaenwrbdantawnxxk snthisyyaebrsth litxfskinpi 1918 thaiheyxrmniddinaednthangtawnxxkmaxyangmakmay eyxrmnidphyayampidlxmekaaxngkvsdwykxngeruxdanaaetkimprasbkhwamsaercmaknkcakrachnawixngkvsidcderuxkhumkneruxthimacakxananikhm ehtuothrelkhsimaemrmnninpi 1917 idnaphashrthxemrikaekhamasusngkhram chaweyxrmnerimxxnlacaksngkhraminhwngewlathilththisngkhmniymcakkarptiwtirsesiyihlbaekhamasuchaweyxrmnaenwrbthithukotklbaelasngkhramtlxdsipithaihekidyukhkhawyakhmakaephngipthwthaihprachachnhmdsrththainrthbalckrphrrdieyxrmn cnthaihekidkarlukhuxkhuninplayeduxntulakhm kh s 1918 rthbalckrphrrdieyxrmnidprakassngbsuk inwnthi 11 phvscikayn kh s 1918 hlngcaknnsxngspdah ckrphrrdiwilehlmthi 2 thrngprakasslarachsmbtiaelaliphythangkaremuxngipyngenethxraelnd ckrwrrdieyxrmnidaeprepliynsthanaepnsatharnrthiwmarphayitrabxbprathanathibdi enuxha 1 phumihlng 2 sthapnackrwrrdi 3 xutsahkrrm 4 xanaekht 4 1 rthaeladinaedninckrwrrdi 4 2 xananikhm 5 prachakrsastr 5 1 samaonpi 1900 6 sasna 7 duephim 8 xangxing 9 hnngsuxxanephimetim 9 1 phumiprawtisastr 9 2 khxmulpthmphumi 10 aehlngkhxmulxunphumihlng aekikhsngkhramnopeliynintnstwrrsthi 19 nn idthaihckrwrrdiormnxnskdisiththikhxngchnchatithiphudphasaeyxrmnlmslayaelaaetkxxkepnesiyng emuxsngkhramyuti idmikarcdkarprachumihyaehngewiynnakhuninpi 1815 ephuxcdraebiybthwipyuorpesiyihm karprachumniidthaihekidsmaphnthrtheyxrmnkhunma epnkarrwmklumknxyanghlwm khxngbrrdartheyxrmn khbwnkarchatiniymeyxrmnidnaphaeyxrmnekhasukarepnpraethsthimikhwamepnesriaelaprachathipitymakkhun khbwnkaridesnxihphnwkaenwkhidthieriykwa xudmkarnrwmklumeyxrmn ekhaipinnoybay Realpolitik khxng xxthoth fxn bismarkh mukhmntriprsesiy odybismarkhtxngkaraephkhyayxanackhxngrachwngsohexnoslelirnaehngprsesiyekhakhrxbngartheyxrmnxun ephuxnaipsuepahmayxnsungsudkhuxkarrwmchatieyxrmnthimiprsesiyepnaeknna aelayngtxngkarkhcdxiththiphlkhxngrachwngshbsburkaehngxxsetriythimitxrtheyxrmnehlanibismarkhidnaprsesiyekhasusngkhramsamkhrngaelaidrbchychnaxyangngdngam khuxsngkhramchelswichkhrngthisxngkbednmarkinpi 1864 sngkhramxxsetriy prsesiyinpi 1866 aelasngkhramfrngess prsesiyinpi 1870 71sthapnackrwrrdi aekikh phraecawilehlmaehngprsesiyprakastnkhunepnckrphrrdieyxrmn n phrarachwngaewrsayinkrungparis hlngmichyinsngkhramfrngess prsesiy dubthkhwamhlkthi karrwmchatieyxrmn hlngcakthiprsesiyidchychnacaksngkhramthngsam inwnthi 10 thnwakhm kh s 1870 rthsphaaehngsmaphnthrtheyxrmnehnuxidmimtiihepliynchuxsmaphnthrthepnckrwrrdi aelamimtiihphraecawilehlmthi 1 aehngprsesiy darngtaaehnngepnckrphrrdi aelaphayhlngrththrrmnuychbbihmmiphlbngkhbichemux 1 mkrakhm kh s 1871 inchwngkarpidlxmkrungparisnnexng inwnthi 18 mkrakhm kh s 1871 phraecawilehlmkthrngprakastnkhunepnckrphrrdieyxrmn n hxngkrack inphrarachwngaewrsay 7 hlngcaknnimkieduxn rththrrmnuyeyxrmnchbbthisxngkidthukrbrxngodyirchsthakh emuxwnthi 14 emsayn kh s 1871 aelackrphrrdiwilehlmkthrngprakasichinxiksxngwnthdma 7 rththrrmnuychbbthisxngni miekhaokhrngedimmacakrththrrmnuyaehngsmaphnthrtheyxrmnehnuxthirangkhunodybismarkh okhrngsrangthangkaremuxngkarpkkhrxngyngkhngehmuxnedim sphanitibyytikhxngckrwrrdimichuxeriykwa irchsthakh Reichstag smachikkhxngirchsthakhmacakichsiththixxkesiyngeluxktngthwipkhxngchaychaweyxrmnkartrakdhmaytang txngphanmtiehnchxbcakkhnamntripraethsthieriykwa bunedisrath Bundesrat prakxbdwyphuaethncak 27 rthinckrwrrdi aetlarthmisiththixxkesiyngimethakn yingepnrththiihyaelaprachakrmakkcamisiththixxkesiyngmak echnrachxanackrprsesiymisiththixxkesiyngthung 17 siththicakthnghmd 58 siththi prsesiytxngkaresiyngcakrthxun xikephiyngelknxyephuxihekinkunghnung swnxanacfaybriharepnkhxngckrphrrdihruxthieriykwaikesxr Kaiser sungcathrngaetngtngnaykrthmntrihnungkhnephuxepnhwhnafaybrihar rththrrmnuyeyxrmniidihxanacckrphrrdiiwkhxnkhangmak samarthaetngtngaelathxdthxnnaykrthmntriidtamphrarachxthyasy rthbalckrwrrdiniimmirthmntripracakrathrwng dngnnaelwnaykrthmntricungepriybesmuxn rthbalhnungburus rbphidchxbaeladuaelrachkaraethbcathukxyang thngdankarkhlng karsngkhram kartangpraeths l aemwairchsthakhcathahnathitrakdhmay ykelikkdhmay phankdhmay dngthiklawma aetxanacthiaethcringthngpwngxyuthickrphrrdi sungthrngichxanacphanthangnaykrthmntrirthaeladinaedntang inckrwrrdi yngkhngmirthbalepnkhxngtnaetmixanaccakd yktwxyangechn karsaetmpiprsniyaelakarphlitehriyythxng 1 markhnnepnhnathikhxngrthbalkrungebxrlin swnkarphlitenginskulmarkhthimimulkhaekinkwannepnhnathikhxngrthbalthxngthin rthtang mixanacsthapnaekhruxngrachxisriyaphrnepnkhxngtnexng bangrthxacmikalngthharepnkhxngtnexng xanacthharthnghmdcathukribipxyuthirthbalkrungebxrlininyamsuksngkhramxutsahkrrm aekikh orngngankhxngbristhehlkkhrupp inemuxngexsesin kh s 1890 emuxngniemuxngediywmiorngngantngxyuthung 60 xakhardwyekhruxngckrkwa 8 500 ekhruxng 8 karphthnaxutsahkrrmineyxrmndaeninipxyangkawkraodd phuphlitsinkhakhxngeyxrmnsamarthaeyngchingswnaebngtladphayinpraethsephimmakkhun thaihkarnaekhasinkhacakxngkvsldnxylng imephiyngethani phuphlitkhxngeyxrmnyngsamarthaeyngchingtladtangpraethscakxngkvsipidxikimnxyodyechphaaxyangyinginshrthxemrika xutsahkrrmolhaaelasingthxkhxngeyxrmnidaesnghnaxngkvsinpi 1870 inaengkarcdkaraelaprasiththiphaphkarphlitsungidthaihxutsahkrrmsingthxaelaolhakhxngxngkvsimmithiyunineyxrmnxiktxip eyxrmnklayepnchatimhaxanacthangesrsthkicinyuorp aelaepnchatithisngxxkmakepnxndbsxngrxngcakshrachxanackrintxnerimaerk eyxrmntxngphungphakarnaekhaethkhonolyitang cakxngkvsodyechphaarthif eyxrmnichewlaimnaninkareriynrucnsamarthsrangrthifaelakhyayokhrngkhaythangrthifiddwytnexng okhrngkhaythangrthifidephimcak 21 000 kiolemtrinpi 1871 ipepn 63 000 kiolemtrinpi 1913 klayepnchatithimiokhrngkhaythangrthifyawrxngcakshrthxemrikakhwamkawhnathangethkhonolyirahwangkarptiwtixutsahkrrmineyxrmninn samarthaebngxxkepn 4 ralxk idaek karrthif 1877 1886 siyxm 1887 1896 ekhmiphnth 1897 1902 aela wiswkrrmiffa 1903 1918 9 aelaenuxngcakeyxrmnidmikarphthnaxutsahkrrmthihlngxngkvs orngnganxutsahkrrmineyxrmnithukxxkaebbidmiprasiththiphaphmakkwaorngnganinxngkvs eyxrmnmikarlngthundankarwicyxyanghnkhnwngmakkwaxngkvs odyechphaakarwicydanekhmi mxetxr aelaiffa sngphlihnkfisiksaelankekhmichaweyxrmnepnphuphukkhadrangwloneblkwahnunginsamkhxngcanwnrangwloneblthimxbihaekbukhkhlsychatieyxrmn karrwmklumkhxngbristhineyxrmn kepnxiksaehtuthithaihaetlabristhsamarthichthunidxyangmiprasiththiphaphsungkxnpi 1900 xutsahkrrmsiyxmkhxngeyxrmnidekhakhrxbngatladsiyxmkhxngolk 10 phuphlithlksamrayidaek BASF Bayer aela Hoechst tlxdcnphuphlitrayyxyxikharaykhxngeyxrmn samarthphlitsiyxmidkwahlayrxysi sunginpi 1913 phuphlitthngaepdraynikhrxngswnaebngtladkwa 90 intladsiyxmkhxngolk karphlitkwa 80 epnkarsngxxkephuxpxntladolk nxkcakni phuphlithlksamrayyngidrwmmuxkbxutsahkrrmtnnaephuxphlitwtthudibsahrbxutsahkrrmxun xyang ewchphnth filmthayphaph sarekhmithangkarekstr aelaiffaekhmiinchwngsngkhramolkkhrngthihnung xutsahkrrmineyxrmniidepliynipsukarphlitephuxpxnsngkhram khwamtxngthanhinaelaaerehlkidephimkhunxyangmhasalephuxichinkarphlitpunihyaelatxeruxrb khwamtxngkardanekhmiphnthsahrbsngekhraahepnphlitphnthkephimkhunmakechnkn enuxngcakxngkvsaelaphnthmitrkhxngxngkvsidngdsngxxksinkhaehlaniaekeyxrmnxanaekht aekikhrthaeladinaedninckrwrrdi aekikh kxnkarrwmchatieyxrmninpi 1871 chnchatieyxrmnaebngxxkepn 27 rthxisra rthehlanimithanaepn rachxanackr aekrnddchchi dchchi rachrth esrinkhr aeladinaedninphraxngkh rththimisthanaepnesrinkhr cathukpkkhrxngdwyrthbalphleruxn inkhnathirthxun khxngckrwrrditangmirachwngskhxngtnexngepnphupkkhrxng inbrrdarththnghmdni rachxanackrprsesiythuxepnrththiihythisud khrxbkhlumphunthisxnginsamkhxngdinaednthngckrwrrdi aelamiprachakrkhidepnrxyla 61 khxngthngckrwrrdi dinaedn emuxnghlwngrachxanackr Konigreiche prsesiy Preussen ebxrlin bawaeriy Bayern miwnik skhesin Sachsen edrsedin ewuxrthethimaebrkh Wurttemberg chtuththkarthaekrnddchchi Grossherzogtumer baedin Baden kharlsruexx ehsesin Hessen darmchtth emkhelinbwrkh chewrin Mecklenburg Schwerin chewrin emkhelinbwrkh chetrliths Mecklenburg Strelitz nxychetrliths oxledinbwrkh Oldenburg oxledinbwrkh skhesin iwmar ixesxnkh Sachsen Weimar Eisenach iwmardchchi Herzogtumer xnhlth Anhalt edsesa ebranchiwkh Braunschweig ebranchiwkh skhesin xlethinbwrkh Sachsen Altenburg xlethinbwrkh skhesin okhbwrkhaelaoktha Sachsen Coburg und Gotha okhburk skhesin imningengin Sachsen Meiningen imningenginrachrth Furstentumer liphephx Lippe edthmxld rxys ekxra Reuss Gera ekxra rxys ikrs Reuss Greiz ikrs chambwrkh liphephx Schaumburg Lippe bukhekhxbwrkh chwarsbwrkh rudxlchtdth Schwarzburg Rudolstadt rudxlchtdth chwarsbwrkh sxnedxrsehaesin Schwarzburg Sondershausen sxnedxrsehaesin wldexkhaelapirmngt Waldeck und Pyrmont xaorlesinesriaelhnesxnkhr Freie und Hansestadte ebremin Bremen hmbwrkh Hamburg luxebkh Lubeck dinaedninphraxngkh Reichslander exlss olthringengin Elsass Lothringen chtrassbwrkhxananikhm aekikh duephimetimthi ckrwrrdixananikhmeyxrmn ckrwrrdixananikhmeyxrmninpi 1914 bismarkhkxtngxananikhmeyxrmncanwnmakrahwangchwngthswrrsthi 1880 inaexfrikaaelaaepsifik aetbismarkhimkhxyihkhwamsakhyinnoybayxananikhmmaknk dwyephraakartxtanrthbalxananikhmeyxrmnxyangrunaerngcakchnphunemuxng aetnoybayxananikhmepnthisnickhxngklumphuekhrngsasnasungidthakarsnbsnunehlamichchnnarixyangkwangkhwangindinaednehlannrthbaleyxrmnmikhwamtxngkarsrangxananikhmtngaetthswrrsthi 1848 aelw bismarkhiderimkrabwnkarkxtngxananikhmbangswn emuxthungpi kh s 1884 eyxrmniidkxtngxananikhm niwkinikhxngeyxrmn emuxthungchwngthswrrsthi 1890 karkhyayxananikhmkhxngeyxrmninphumiphakhexechiyaelaaepsifik twxyangechn xaweciywochw aela ethiyncin inpraethscin hmuekaamaeriyna ekaakhaoriln samw naipsukarephchiyhnakbshrachxanackr rsesiy yipunaelashrthxemrikainkaraeyngchingxananikhminthwipaexfrika 11 thaihekid sngkhrameherorindinaedn praethsnamiebiy pccubn inchwngpi kh s 1906 kh s 1907 sngphlihekid karkhalangephaphnthuchaweheroraelanamankhiw 12 prachakrsastr aekikhprachakrckrwrrdiraw 92 phudphasaeyxrmnepnhlk rxnglngma 5 2 phudphasaopaelndepnhlk miprachakrraw 0 5 thiphudfrngessepnhlk sungkracuktwxyuinxalss oltharingekiy samaonpi 1900 aekikh phasathxngthinkhxngphlemuxnginckrwrrdieyxrmn 1 thnwakhm kh s 1900 13 phasa prachakr rxyla eyxrmn 51 883 131 92 05phasaeyxrmn aela phasaxun 252 918 0 45opaelnd 3 086 489 5 48frngess 211 679 0 38masueriyn 142 049 0 25ednmark 141 061 0 25lithweniy 106 305 0 19khasueriyn 100 213 0 18Wendish Sorbian 93 032 0 16dtch 80 361 0 14xitali 65 930 0 12omraewiy 64 382 0 11echk 43 016 0 08frisaelnd 20 677 0 04xngkvs 20 217 0 04rsesiy 9 617 0 02swiedn 8 998 0 02hngkari 8 158 0 01sepn 2 059 0 00oprtueks 479 0 00phasaxun 14 535 0 03smmaonprachakr emux 1 thnwakhm kh s 1900 56 367 187 100 ednmark dtch frisaelnd opaelnd echk aela omraewiy masueriyn Kashubian Sorbian phasafrngess Walloon phasaxitali lithweniy non Germansasna aekikh ckrphrrdiwilehlmthi 2 inthana xkhrsasnupthmphkaehngkhristckrxiaewneclikhlaehngmnthledimkhxngprsesiy esdceyuxneyrusaelm kh s 1898 karnbthuxsasnainckrwrrdieyxrmn kh s 1880 phunthi opretsaetnt khathxlik khristnikayxun yiw sasnaxuncanwn canwn canwn canwn canwn prsesiy 17 633 279 64 64 9 206 283 33 75 52 225 0 19 363 790 1 33 23 534 0 09bawaeriy 1 477 952 27 97 3 748 253 70 93 5 017 0 09 53 526 1 01 30 0 00skhesin 2 886 806 97 11 74 333 2 50 4 809 0 16 6 518 0 22 339 0 01ewuxrthethimaebrkh 1 364 580 69 23 590 290 29 95 2 817 0 14 13 331 0 68 100 0 01baedin 547 461 34 86 993 109 63 25 2 280 0 15 27 278 1 74 126 0 01exlss olthringengin 305 315 19 49 1 218 513 77 78 3 053 0 19 39 278 2 51 511 0 03rwmthnghmd 28 331 152 62 63 16 232 651 35 89 78 031 0 17 561 612 1 24 30 615 0 07duephim aekikhraychuxxditxananikhmkhxngeyxrmn prawtisastreyxrmnixangxing aekikh Preble George Henry History of the Flag of the United States of America With a Chronicle of the Symbols Standards Banners and Flags of Ancient and Modern Nations 2nd ed p 102 A Williams and co 1880 Fischer amp Senkel 2010 p 90 Statement of Abdication of Wilhelm II 4 0 4 1 4 2 Population statistics of the German Empire 1871 phasaeyxrmn khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 5 April 2007 subkhnemux 25 April 2007 German Empire administrative subdivision and municipalities 1900 to 1910 phasaeyxrmn subkhnemux 25 April 2007 Nobel Prizes by Country Evolution of National Science Nobel Prize Shares in the 20th Century by Citizenship Juergen Schmidhuber 2010 Idsia ch subkhnemux 2 December 2012 7 0 7 1 Case 1902 p 140 Edmond Taylor The fossil monarchies the collapse of the old order 1905 1922 1967 p 206 Jochen Streb et al Technological and geographical knowledge spillover in the German empire 1877 1918 Economic History Review May 2006 Vol 59 Issue 2 pp 347 373 John J Beer The Emergence of the German Dye Industry 1959 L Gann and Peter Duignan The Rulers of German Africa 1884 1914 1977 focuses on political and economic history Michael Perraudin and Jurgen Zimmerer eds German Colonialism and National Identity 2010 focuses on cultural impact in Africa and Germany Dedering Tilman 1993 The German Herero war of 1904 Revisionism of Genocide or Imaginary Historiography Journal of Southern African Studies 19 1 80 88 doi 10 1080 03057079308708348 CS1 maint ref harv link Fremdsprachige Minderheiten im Deutschen Reich phasaeyxrmn khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2010 02 06 subkhnemux 20 January 2010 hnngsuxxanephimetim aekikhBerghahn Volker Rolf Modern Germany society economy and politics in the twentieth century 1987 ACLS E book Berghahn Volker Rolf Imperial Germany 1871 1914 Economy Society Culture and Politics 2nd ed 2005 Blackbourn David The Long Nineteenth Century A History of Germany 1780 1918 1998 excerpt and text search Blackbourn David and Geoff Eley The Peculiarities of German History Bourgeois Society and Politics in Nineteenth Century Germany 1984 online edition ISBN 0 19 873058 6 Blanke Richard Prussian Poland in the German Empire 1981 Brandenburg Erich Die Reichsgrundung 2 vols 1923 online vol 1 vol 2 Cecil Lamar Wilhelm II Prince and Emperor 1859 1900 1989 online edition vol2 Wilhelm II Emperor and Exile 1900 1941 1996 online edition Chickering Roger Imperial Germany and the Great War 1914 1918 2nd ed 2004 excerpt and text search Clark Christopher Iron Kingdom The Rise and Downfall of Prussia 1600 1947 2006 the standard scholarly survey Dawson William Harbutt The Evolution of Modern Germany 1908 503pp covers 1871 1906 with focus on social and economic history amp colonies online free Dawson William Harbutt Germany at Home 1908 275 pp popular description of social life in villages and cities online Dawson William Harbutt Bismarck and state socialism an exposition of the social and economic legislation of Germany since 1870 1890 175 pp online Dawson William Harbutt Municipal life and government in Germany 1914 507pp describes the workings of local government and the famous bureaucracy online Dawson William Harbutt Germany and the Germans 1894 387pp politics and parties Volume 2 online Feuchtwanger Ed 2002 Imperial Germany 1850 1918 Routledge ISBN 1 13462 072 1 CS1 maint ref harv link Fischer Fritz From Kaiserreich to Third Reich Elements of Continuity in German History 1871 1945 1986 ISBN 0 04 943043 2 Hayes Carlton J H The History of German Socialism Reconsidered American Historical Review 1917 23 1 pp 62 101 online Holborn Hajo A History of Modern Germany 1840 1945 1969 pp 173 532 Jefferies Mattew Imperial Culture in Germany 1871 1918 Palgrave 2003 ISBN 1 4039 0421 9 Kennedy Paul The Rise of the Anglo German Antagonism 1860 1914 2nd ed 1988 ISBN 1 57392 301 X Kitchen Martin 2011 A History of Modern Germany 1800 to the Present John Wiley amp Sons ISBN 1 44439 689 7 CS1 maint ref harv link Koch Hannsjoachim W A constitutional history of Germany in the nineteenth and twentieth centuries 1984 phumiprawtisastr aekikh Berghahn Volker Rolf Structure and Agency in Wilhelmine Germany The history of the German Empire Past present and Future in Annika Mombauer and Wilhelm Deist eds The Kaiser New Research on Wilhelm II s Role in Imperial Germany 2003 pp 281 93 historiography Chickering Roger ed Imperial Germany A Historiographical Companion 1996 552pp 18 essays by specialists Dickinson Edward Ross The German Empire an Empire History Workshop Journal Issue 66 Autumn 2008 online inProject MUSE with guide to recent scholarship Eley Geoff and James Retallack Introduction in Geoff Eley and James Retallack eds Wilhelminism and Its Legacies German Modernities Imperialism and the Meanings of Reform 1890 1930 2004 online Jefferies Matthew Contesting the German Empire 1871 1918 2008 excerpt and text search Muller Sven Oliver and Cornelius Torp ed Imperial Germany Revisited Continuing Debates and New Perspectives 2011 Reagin Nancy R Recent Work on German National Identity Regional Imperial Gendered Imaginary Central European History 2004 v 37 pp 273 289 doi 10 1163 156916104323121483khxmulpthmphumi aekikh Vizetelly Henry Berlin Under the New Empire Its Institutions Inhabitants Industry Monuments Museums Social Life Manners and Amusements 2 vol London 1879 online volume 2aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb ckrwrrdieyxrmnaephnthickrwrrdieyxrmn kh s 1871 xngkvs ckrwrrdieyxrmn ekhtkarpkkhrxngaelaethsbal kh s 1900 thung 1910 eyxrmn Das Kaiserreich Deutsches Reich 1871 1918 eyxrmn eyxrmni pramukhaehngrth kh s 1871 1945 Archived 2008 05 14 thi ewyaebkaemchchin xngkvs German Empire xngkvs thiwikisxrsekhathungcak https th wikipedia org w index php title ckrwrrdieyxrmn amp oldid 9620738, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม