fbpx
วิกิพีเดีย

ชนิดของตัวนำยวดยิ่งจำแนกตามสมบัติทางแม่เหล็ก

ตัวนำยวดยิ่ง (superconductors) คือวัสดุซึ่งความต้านทานไฟฟ้ามีค่าเป็นศูนย์อย่างทันทีทันใด เมื่อลดอุณหภูมิลงจนถึงอุณหภูมิวิกฤต ซึ่งปรากฏการณ์นี้ถูกพบครั้งแรกในปรอทบริสุทธิ์โดย คาร์เมอร์ลิง ออนเนส นักฟิสิกส์ชาวเนเธอร์แลนด์ และจากการค้นพบทำให้ออนเนสได้รับรางวัลโนเบลในปี ค.ศ. 1913 โดยตัวนำยวดยิ่งแบ่งเป็นชนิดต่างๆได้ตามการจัดจำแนก ถ้าใช้สมบัติทางแม่เหล็กเป็นตัวกำหนดชนิดของตัวนำยวดยิ่งจะสามารถแบ่งตัวนำยวดยิ่งออกได้เป็น 2 ชนิด คือ ตัวนำยวดยิ่งชนิดที่ 1 (Type I superconductors) และตัวนำยวดยิ่งชนิดที่ 2 (Type II superconductors)

คาร์เมอร์ลิง ออนเนส (Kamerligh Onnes :1911) นักฟิสิกส์ชาวเนเธอร์แลนด์

ตัวนำยวดยิ่งชนิดที่ 1 (Type I superconductors)

 
พฤติกรรมของสนามแม่เหล็กวิกฤตต่างๆซึ่งเป็นฟังก์ชันของอุณหภูมิ

เมื่อให้ค่าสนามแม่เหล็กภายนอกน้อยกว่าสนามแม่เหล็กวิกฤต (critical magnetic field :Hc) ตัวนำจะยังคงสภาพนำยวดยิ่งอยู่ แต่ถ้าสนามแม่เหล็กที่ให้มีค่ามากกว่าสนามแม่เหล็กวิกฤต ตัวนำจะสูญเสียสภาพนำยวดยิ่งและกลายเป็นตัวนำปกติ ถึงแม้ว่าอุณหภูมิจะยังคงต่ำกว่าอุณหภูมิวิกฤตก็ตาม โดยตัวนำยวดยิ่งชนิดที่ 1 นี้จะให้ปรากฏการณ์ไมสเนอร์ที่สมบูรณ์ คือ เส้นแรงแม่เหล็กไม่สามารถพุ่งผ่านเนื้อสารตัวนำได้ และโดยทั่วไปแล้วค่าสนามแม่เหล็กวิกฤตของตัวนำยวดยิ่งชนิดที่ 1 นี้จะมีขนาดต่ำมากจึงไม่เพียงพอที่จะนำไปประยุกต์ใช้งาน ซึ่ง สนามแม่เหล็กวิกฤตจะมีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิตามสมการ

 

ตัวนำยวดยิ่งชนิดที่ 2 (Type II superconductors)

ตัวนำยวดยิ่งชนิดที่ 2 ให้ค่าสนามแม่เหล็กวิกฤต 2 ค่า คือสนามแม่เหล็กวิกฤตที่ 1 (Lower critical magnetic field field :Hc1) และสนามแม่เหล็กวิกฤตที่ 2 (Upper critical magnetic field field :Hc2) เมื่อให้สนามแม่เหล็กจากภายนอกเข้าไปแล้วมีค่าน้อยกว่าสนามแม่เหล็กวิกฤตที่ 1 ตัวนำยวดยิ่งาจะมีสภาพเป็นตัวนำยวดยิ่งอย่างสมบูรณ์ เมื่อสนามแม่เหล็กภายนอกที่ให้เข้าไปมีค่ามากกว่าสนามแม่เหล็กวิกฤตที่ 1 แต่น้อยกว่าสนามแม่เหล็กวิกฤตที่ 2 ตัวนำยวดยิ่งจะแสดงปรากฏการณ์ไมสเนอร์ไม่สมบูรณ์ ทำให้มีเส้นแรงแม่เหล็กบางส่วนสามารถพุ่งผ่านบริเวณนี้ได้ และเมื่อสนามแม่เหล็กภายนอกมีค่ามากกว่าสนามแม่เหล็กวิกฤตที่ 2 ตัวนำยวดยิ่งจะเปลี่ยนสภาพเป็นตัวนำปกติ ดังภาพแสดงพฤติกรรมของสนามแม่เหล็กวิกฤตต่างๆซึ่งเป็นฟังก์ชันของอุณหภูมิ โดยสามารถนำตัวนำยวดยิ่งชนิดนี้มาประยุกต์ใช้งานในเชิงแม่เหล็กได้ดี

สนามแม่เหล็กวิกฤตเชิงผิว (Surface critical magnetic field field :Hc3)

เมื่อให้สนามแม่เหล็กภายนอกมากกว่าสนามแม่เหล็กวิกฤตที่ 2 แล้วยังคงมีสถานะนำยวดยิ่งบางๆบริเวณผิว เรียกว่า สนามแม่เหล็กวิกฤตเชิงผิว (Surface critical magnetic field field) หรือสนามแม่เหล็กวิกฤตที่ 3 (Third critical field field :Hc3) ซึ่งในปี ค.ศ. 1963 เจมส์และเจนเนสได้อธิบายถึงค่าสนามแม่เหล็กวิกฤตบริเวณผิว โดยอธิบายว่าสนามแม่เหล็กวิกฤตนี้มีค่าเป็นสัดส่วนกับสนามแม่เหล็กวิกฤตที่ 2

 

ตัวนำยวดยิ่งแบบแม่เหล็ก (Magnetic superconductors)

ตัวนำยวดยิ่งแบบแม่เหล็ก (Magnetic superconductors) คือตัวนำยวดยิ่งที่มีสมบัติเป็นตัวนำยวดยิ่งและมีสมบัติทางแม่เหล็ก ตัวนำยวดยิ่งแบบนี้สามารถเกิดขึ้นได้เมื่อตัวนำยวดยิ่งถูกเจือด้วยสารเจือแบบแม่เหล็ก จะมีผลทำให้เกิดสภาพความเป็นแม่เหล็กในโครงสร้างขึ้น แต่เนื่องจากแม่เหล็กมีผลทำลายสภาพนำยวดยิ่งได้ ดังนั้นจะทำให้อุณหภูมิวิกฤตมีค่าน้อยลง และจากการทดลองสารตัวนำยวดยิ่งแบบแม่เหล็กบางชนิดพบว่า ที่อุณหภูมิต่ำกว่าอุณหภูมิวิกฤต สารจะอยู่ในสถานะที่มีสภาพนำยวดยิ่งร่วมกับสภาพแม่เหล็กเฟอร์โร เช่น ErRh4B4, HoMo6S8 เป็นต้น และสถานะนำยวดยิ่งร่วมกับสภาพแม่เหล็กแอนไทม์เฟอร์โร เช่น ErMo6S8, SmRh4B4 เป็นต้น พิจารณาตารางแสดงค่าอุณหภูมิวิกฤตและสนามแม่เหล็กวิกฤตของตัวนำยวดยิ่ง

ตัวนำยวดยิ่งแบบผลึก อุณหภูมิวิกฤต Tc(K) สนามแม่เหล็กวิกฤต Hc(K)
La2-xSrxCuO4 92 ≥150
YBa2Cu3O7 92 ≥150
Bi2Sr2Ca2Cu3O10 110 ≥250
TlBa2Ca2Cu3O9 110 ≥100
Tl2Ba2Ca2Cu3O10 125 ≥150
HgBa2Ca2Cu3O8 133 ≥150

สารแม่เหล็กพารา สารแม่เหล็กไดอา และสารแม่เหล็กเฟอร์โร

วัสดุที่มีสมบัติแม่เหล็กพารา (paramagnetic) คือวัสดุซึ่งมีโมเมนต์แม่เหล็กรวมเป็นศูนย์ วัสดุที่มีสมบัติแม่เหล็กไดอา (diamagnetic) เมื่อให้สนามแม่เหล็กจากภายนอก (H) โมเมนต์แม่เหล็กจะเรียงตัวเป็นระเบียบในทิศตรงกันข้ามกับสนามแม่เหล็ก และวัสดุที่มีสมบัติแม่เหล็กเฟอร์โร (ferromagnetic) โมเมนต์แม่เหล็กจะเรียงตัวเป็นระเบียบอยู่ในแต่ละโดเมน (Domain Wall) เมื่อให้สนามแม่เหล็กจากภายนอก โมเมนต์แม่เหล็กของทุกโดเมนจะมีทิศเดียวกับสนามแม่เหล็ก ซึ่งค่าสภาพยอมรับได้ทางแม่เหล็ก (magnetic susceptibility) ของสภาพแม่เหล็กต่างๆ มีค่า χ>0 , χ<0 และ χ>>0 ตามลำดับ

ค่าสภาพยอมรับได้ทางแม่เหล็ก (magnetic susceptibility)

เมื่อวัสดุวางอยู่ในสนามแม่เหล็ก (H) ค่าความเป็นแม่เหล็ก (magnetization, M) จะถูกเหนี่ยวนำให้เกิดขึ้นตามความสัมพันธ์

 

อ้างอิง

  1. Buckel, W. (1991). Superconductivity: fundamental and application. New York :VCH Publisherlnc.
  2. Ketterson, J.B. and Song S.N. (1999). Superconductivity. New York :Cambridge University Press.
  3. พงษ์แก้ว อุดมสมุทรหิรัญ. (2555). ตัวนำยวดยิ่งเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร :บจก. วัน โอ ไฟว์ ดิจิตอล พริ้นติ้ง. ถ่ายเอกสาร.
  4. พงษ์แก้ว อุดมสมุทรหิรัญ. (2555). ตัวนำยวดยิ่งเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร :บจก. วัน โอ ไฟว์ ดิจิตอล พริ้นติ้ง. ถ่ายเอกสาร.
  5. Saint-James, D. and de Gennes, P.G. (1963). Onset of superconductivity in decreasing fields. Phys. Lett 7 : 306-308.
  6. Bolonkin, A. (2008). AB levitator and electricity storage. Aircraft engineering and Aerospace Technology 80:427-438.
  7. Kittel, C. (1997). Introduction to solid state physics. United states of America :John Wiley & son.

ชน, ดของต, วนำยวดย, งจำแนกตามสมบ, ทางแม, เหล, บทความน, องการการจ, ดหน, ดหมวดหม, ใส, งก, ภายใน, หร, อเก, บกวาดเน, อหา, ให, ณภาพด, ณสามารถปร, บปร, งแก, ไขบทความน, ได, และนำป, ายออก, จารณาใช, ายข, อความอ, นเพ, อช, ดข, อบกพร, องต, วนำยวดย, superconductors, อว, สด,. bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxngtwnaywdying superconductors khuxwsdusungkhwamtanthaniffamikhaepnsunyxyangthnthithnid emuxldxunhphumilngcnthungxunhphumiwikvt sungpraktkarnnithukphbkhrngaerkinprxthbrisuththiody kharemxrling xxnens 1 nkfisikschawenethxraelnd aelacakkarkhnphbthaihxxnensidrbrangwloneblinpi kh s 1913 odytwnaywdyingaebngepnchnidtangidtamkarcdcaaenk thaichsmbtithangaemehlkepntwkahndchnidkhxngtwnaywdyingcasamarthaebngtwnaywdyingxxkidepn 2 chnid 2 khux twnaywdyingchnidthi 1 Type I superconductors aelatwnaywdyingchnidthi 2 Type II superconductors kharemxrling xxnens Kamerligh Onnes 1911 nkfisikschawenethxraelnd enuxha 1 twnaywdyingchnidthi 1 Type I superconductors 2 twnaywdyingchnidthi 2 Type II superconductors 2 1 snamaemehlkwikvtechingphiw Surface critical magnetic field field Hc3 3 twnaywdyingaebbaemehlk Magnetic superconductors 3 1 saraemehlkphara saraemehlkidxa aelasaraemehlkefxror 3 2 khasphaphyxmrbidthangaemehlk magnetic susceptibility 4 xangxingtwnaywdyingchnidthi 1 Type I superconductors aekikh phvtikrrmkhxngsnamaemehlkwikvttangsungepnfngkchnkhxngxunhphumi emuxihkhasnamaemehlkphaynxknxykwasnamaemehlkwikvt critical magnetic field Hc twnacayngkhngsphaphnaywdyingxyu aetthasnamaemehlkthiihmikhamakkwasnamaemehlkwikvt twnacasuyesiysphaphnaywdyingaelaklayepntwnapkti thungaemwaxunhphumicayngkhngtakwaxunhphumiwikvtktam odytwnaywdyingchnidthi 1 nicaihpraktkarnimsenxrthismburn khux esnaerngaemehlkimsamarthphungphanenuxsartwnaid aelaodythwipaelwkhasnamaemehlkwikvtkhxngtwnaywdyingchnidthi 1 nicamikhnadtamakcungimephiyngphxthicanaipprayuktichngan 3 sung snamaemehlkwikvtcamikhwamsmphnthkbxunhphumitamsmkar H c T H c 0 1 T T c 2 displaystyle H text c T H text c 0 1 T T text c 2 twnaywdyingchnidthi 2 Type II superconductors aekikhtwnaywdyingchnidthi 2 ihkhasnamaemehlkwikvt 2 kha khuxsnamaemehlkwikvtthi 1 Lower critical magnetic field field Hc1 aelasnamaemehlkwikvtthi 2 Upper critical magnetic field field Hc2 emuxihsnamaemehlkcakphaynxkekhaipaelwmikhanxykwasnamaemehlkwikvtthi 1 twnaywdyingacamisphaphepntwnaywdyingxyangsmburn emuxsnamaemehlkphaynxkthiihekhaipmikhamakkwasnamaemehlkwikvtthi 1 aetnxykwasnamaemehlkwikvtthi 2 twnaywdyingcaaesdngpraktkarnimsenxrimsmburn thaihmiesnaerngaemehlkbangswnsamarthphungphanbriewnniid aelaemuxsnamaemehlkphaynxkmikhamakkwasnamaemehlkwikvtthi 2 twnaywdyingcaepliynsphaphepntwnapkti 4 dngphaphaesdngphvtikrrmkhxngsnamaemehlkwikvttangsungepnfngkchnkhxngxunhphumi odysamarthnatwnaywdyingchnidnimaprayuktichnganinechingaemehlkiddi snamaemehlkwikvtechingphiw Surface critical magnetic field field Hc3 aekikh emuxihsnamaemehlkphaynxkmakkwasnamaemehlkwikvtthi 2 aelwyngkhngmisthananaywdyingbangbriewnphiw eriykwa snamaemehlkwikvtechingphiw Surface critical magnetic field field hruxsnamaemehlkwikvtthi 3 Third critical field field Hc3 sunginpi kh s 1963 ecmsaelaecnens 5 idxthibaythungkhasnamaemehlkwikvtbriewnphiw odyxthibaywasnamaemehlkwikvtnimikhaepnsdswnkbsnamaemehlkwikvtthi 2 H c3 1 69 H c2 displaystyle H text c3 1 69H text c2 twnaywdyingaebbaemehlk Magnetic superconductors aekikhtwnaywdyingaebbaemehlk Magnetic superconductors khuxtwnaywdyingthimismbtiepntwnaywdyingaelamismbtithangaemehlk twnaywdyingaebbnisamarthekidkhunidemuxtwnaywdyingthukecuxdwysarecuxaebbaemehlk camiphlthaihekidsphaphkhwamepnaemehlkinokhrngsrangkhun aetenuxngcakaemehlkmiphlthalaysphaphnaywdyingid dngnncathaihxunhphumiwikvtmikhanxylng aelacakkarthdlxngsartwnaywdyingaebbaemehlkbangchnidphbwa thixunhphumitakwaxunhphumiwikvt sarcaxyuinsthanathimisphaphnaywdyingrwmkbsphaphaemehlkefxror echn ErRh4B4 HoMo6S8 epntn aelasthananaywdyingrwmkbsphaphaemehlkaexnithmefxror echn ErMo6S8 SmRh4B4 epntn phicarnatarangaesdngkhaxunhphumiwikvtaelasnamaemehlkwikvtkhxngtwnaywdying 6 twnaywdyingaebbphluk xunhphumiwikvt Tc K snamaemehlkwikvt Hc K La2 xSrxCuO4 92 150YBa2Cu3O7 92 150Bi2Sr2Ca2Cu3O10 110 250TlBa2Ca2Cu3O9 110 100Tl2Ba2Ca2Cu3O10 125 150HgBa2Ca2Cu3O8 133 150 saraemehlkphara saraemehlkidxa aelasaraemehlkefxror aekikh wsduthimismbtiaemehlkphara paramagnetic khuxwsdusungmiomemntaemehlkrwmepnsuny wsduthimismbtiaemehlkidxa diamagnetic emuxihsnamaemehlkcakphaynxk H omemntaemehlkcaeriyngtwepnraebiybinthistrngknkhamkbsnamaemehlk aelawsduthimismbtiaemehlkefxror ferromagnetic omemntaemehlkcaeriyngtwepnraebiybxyuinaetlaodemn Domain Wall emuxihsnamaemehlkcakphaynxk omemntaemehlkkhxngthukodemncamithisediywkbsnamaemehlk 7 sungkhasphaphyxmrbidthangaemehlk magnetic susceptibility khxngsphaphaemehlktang mikha x gt 0 x lt 0 aela x gt gt 0 tamladb khasphaphyxmrbidthangaemehlk magnetic susceptibility aekikh emuxwsduwangxyuinsnamaemehlk H khakhwamepnaemehlk magnetization M cathukehniywnaihekidkhuntamkhwamsmphnth M x H displaystyle text M text x text H xangxing aekikh Buckel W 1991 Superconductivity fundamental and application New York VCH Publisherlnc Ketterson J B and Song S N 1999 Superconductivity New York Cambridge University Press phngsaekw xudmsmuthrhiry 2555 twnaywdyingebuxngtn krungethphmhankhr bck wn ox ifw dicitxl phrinting thayexksar phngsaekw xudmsmuthrhiry 2555 twnaywdyingebuxngtn krungethphmhankhr bck wn ox ifw dicitxl phrinting thayexksar Saint James D and de Gennes P G 1963 Onset of superconductivity in decreasing fields Phys Lett 7 306 308 Bolonkin A 2008 AB levitator and electricity storage Aircraft engineering and Aerospace Technology 80 427 438 Kittel C 1997 Introduction to solid state physics United states of America John Wiley amp son ekhathungcak https th wikipedia org w index php title chnidkhxngtwnaywdyingcaaenktamsmbtithangaemehlk amp oldid 8283672, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม