fbpx
วิกิพีเดีย

ดินสอพอง

ดินสอพอง หรือ มาร์ล หรือ มาร์ลสโตน มีองค์ประกอบทางเคมีเป็นแคลเซียมคาร์บอเนต หรือโคลนหรือหินโคลนที่อุดมไปด้วยเนื้อปูนที่มีองค์ประกอบที่แปรผันของแร่เคลย์และอาราโกไนต์ มาร์ลเป็นคำโบราณที่ถูกนำมาใช้เรียกวัตถุที่หลากหลายโดยส่วนใหญ่เป็นวัตถุเนื้อหลวม ๆ ของดินที่มีองค์ประกอบหลักของเนื้อผสมระหว่างดินเคลย์และแคลเซี่ยมคาร์บอเนตเกิดขึ้นภายใต้สภาพแวดแวดล้อมที่เป็นน้ำจืดเป็นวัตถุเนื้อดินประกอบด้วยแร่เคลย์ร้อยละ 65 และคาร์บอเนตร้อยละ 65-35 คำเรียกที่ใช้ในปัจจุบันหมายถึงตะกอนที่ตกสะสมตัวในทะเลและในทะเลสาบที่แข็งตัวซึ่งเพื่อให้ถูกต้องแล้วต้องเรียกว่ามาร์ลสโตน มาร์ลสโตนเป็นหินที่แข็งตัวมีองค์ประกอบเดียวกันกับมาร์ลที่อาจเรียกว่าหินปูนเนื้อดิน มาร์ลมีการแตกแบบกึ่งก้นหอยและมีแนวแตกถี่ได้น้อยกว่าหินดินดาน คำว่า “มาร์ล” เป็นศัพท์ภาษาอังกฤษที่ใช้เรียกกันอย่างกว้างขวางในทางธรณีวิทยา ขณะที่คำว่า “เมอร์เจิล” และ “ซีเกรด” (ภาษาเยอรมันเรียกว่า “ซีชอล์ค”) ถูกใช้เรียกกันในยุโรป

ชิ้นส่วนของมาร์ลสโตน

ทางด้านล่างของชั้นชอล์คไวต์คลิฟออฟโดเวอร์ประกอบไปด้วยชั้นมาร์ลเนื้อกลอโคไนต์ตามด้วยการแทรกสลับของชั้นหินปูนและชั้นมาร์ล การลำดับชั้นหินยุคครีเทเชียสตอนบนในเยอรมนีเปรียบเทียบได้กับแรงขับอันเกิดจากความแปรผันเป็นวัฏจักรของวงโคจรโลกแบบมิลานโกวิตช์ (Milankovitch orbital forcing)

มาร์ลเกิดในทะเลสาบพบได้ทั่วไปในตะกอบทะเลสาบปลายยุคน้ำแข็งโดยปรกติแล้วจะพบวางตัวอยู่ใต้ชั้นพีต มาร์ลมีประโยชน์เป็นตัวปรับสภาพดินและเป็นตัวการปรับสภาพดินที่เป็นกรดให้มีสภาพเป็นกลาง มีลักษณะอ่อน ร่วนซุย และเป็นวัตถุเนื้อดินที่มีองค์ประกอบที่แปรผันของแคลเซี่ยมคาร์บอเนต เคลย์ และตะกอนขนาดทรายแป้งและพบเป็นปฐมภูมิภายใต้สภาพแวดล้อมแบบน้ำจืด (Hubbard and Herman, 1990)

ดินสอพองในประเทศไทย

พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2544 ได้ให้นิยามดินสอพองว่าเป็นหินปูนเนื้อมาร์ล (marly limestone) ที่เป็นดินที่เนื้อเป็นสารประกอบแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นส่วนใหญ่ เมื่อเอามะนาวบีบใส่ น้ำมะนาวมีกรดซึ่งเมื่อทำปฏิกิริยากับแคลเซี่ยมคาร์บอเนตเกิดเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เป็นฟองฟูขึ้น ดูเผิน ๆ ก็เห็นว่าดินนั้นพองตัว จึงเรียกกันว่า ดินสอพอง โบราณใช้ทำแป้งประร่างกายเพื่อให้เย็นสบาย เมื่อผสมน้ำหอมเข้าไปด้วยกลายเป็นแป้งกระแจะ ใช้ทำยาสีฟัน ปัจจุบันนี้ใช้มากในการแก้ดินเปรี้ยว ผสมทำธูป ทำปูนซีเมนต์ เพราะเสียค่าขุดและค่าบดต่ำกว่าใช้หินปูนซึ่งมีเนื้อเป็นสารประกอบชนิดเดียวกัน แหล่งใหญ่ในประเทศไทยมีในท้องที่อำเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี อำเภอตาคลี จังหวัดนครสวรรค์ และอำเภอเมือง จังหวัดลพบุรี

สมัยโบราณใช้เป็นเครื่องประทินผิว ทาตัวเด็กแก้ผื่นคัน ใช้ทาพื้นที่ลงรักให้เห็นลายชัดเจน ดินสอพองที่ใช้ทำยาจะนำไปสะตุ โดยอบในหม้อดินจนแห้ง ดินสอพองสะตุใช้ทำยารักษาแผลกามโรค แผลเรื้อรัง คำว่าสอในดินสอพองนั้นมาจากภาษาเขมรแปลว่าขาว ดินสอพองจึงหมายถึงดินสีขาวที่ไม่แข็งตัว

อ้างอิง

  • Schurrenberger, D., Russell, J. and Kerry Kelts. 2003. Classification of lacustrine sediments based on sedimentary components. Journal of Paleolimnology 29: 141-154.
  • Chalk of Kent by C. S. Harris Accessed 11/06/2005
  • Geochemistry and time-series analyses of orbitally forced Upper Cretaceous marl–limestone rhythmites, abstract Accessed 11/06/2005
  • Palaeoenvironmental Interpretation of the Early Postglacial Sedimentary Record of a Marl Lake Accessed 11/06/2005
  1. Sedimentary Rocks. Pettijohn, F. J., Harper& Brothers New York 1957, p. 410
  2. ชยันต์ พิเชียรสุนทร และ วิเชียร จีรวงศ์. คู่มือเภสัชกรรมแผนไทยเล่ม 4 เครื่องยาธาตุวัตถุ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง. 2556.

นสอพอง, หร, มาร, หร, มาร, ลสโตน, องค, ประกอบทางเคม, เป, นแคลเซ, ยมคาร, บอเนต, หร, อโคลนหร, อห, นโคลนท, ดมไปด, วยเน, อป, นท, องค, ประกอบท, แปรผ, นของแร, เคลย, และอาราโกไนต, มาร, ลเป, นคำโบราณท, กนำมาใช, เร, ยกว, ตถ, หลากหลายโดยส, วนใหญ, เป, นว, ตถ, เน, อหลวม, ข. dinsxphxng hrux marl hrux marlsotn mixngkhprakxbthangekhmiepnaekhlesiymkharbxent hruxokhlnhruxhinokhlnthixudmipdwyenuxpunthimixngkhprakxbthiaeprphnkhxngaerekhlyaelaxaraokint marlepnkhaobranthithuknamaicheriykwtthuthihlakhlayodyswnihyepnwtthuenuxhlwm khxngdinthimixngkhprakxbhlkkhxngenuxphsmrahwangdinekhlyaelaaekhlesiymkharbxentekidkhunphayitsphaphaewdaewdlxmthiepnnacudepnwtthuenuxdinprakxbdwyaerekhlyrxyla 65 aelakharbxentrxyla 65 35 1 khaeriykthiichinpccubnhmaythungtakxnthitksasmtwinthaelaelainthaelsabthiaekhngtwsungephuxihthuktxngaelwtxngeriykwamarlsotn marlsotnepnhinthiaekhngtwmixngkhprakxbediywknkbmarlthixaceriykwahinpunenuxdin marlmikaraetkaebbkungknhxyaelamiaenwaetkthiidnxykwahindindan khawa marl epnsphthphasaxngkvsthiicheriykknxyangkwangkhwanginthangthrniwithya khnathikhawa emxrecil aela siekrd phasaeyxrmneriykwa sichxlkh thukicheriykkninyuorpchinswnkhxngmarlsotn thangdanlangkhxngchnchxlkhiwtkhlifxxfodewxrprakxbipdwychnmarlenuxklxokhinttamdwykaraethrkslbkhxngchnhinpunaelachnmarl karladbchnhinyukhkhriethechiystxnbnineyxrmniepriybethiybidkbaerngkhbxnekidcakkhwamaeprphnepnwtckrkhxngwngokhcrolkaebbmilanokwitch Milankovitch orbital forcing marlekidinthaelsabphbidthwipintakxbthaelsabplayyukhnaaekhngodyprktiaelwcaphbwangtwxyuitchnphit marlmipraoychnepntwprbsphaphdinaelaepntwkarprbsphaphdinthiepnkrdihmisphaphepnklang milksnaxxn rwnsuy aelaepnwtthuenuxdinthimixngkhprakxbthiaeprphnkhxngaekhlesiymkharbxent ekhly aelatakxnkhnadthrayaepngaelaphbepnpthmphumiphayitsphaphaewdlxmaebbnacud Hubbard and Herman 1990 dinsxphxnginpraethsithy aekikhphcnanukrmsphththrniwithya chbbrachbnthitysthan ph s 2544 idihniyamdinsxphxngwaepnhinpunenuxmarl marly limestone thiepndinthienuxepnsarprakxbaekhlesiymkharbxentepnswnihy emuxexamanawbibis namanawmikrdsungemuxthaptikiriyakbaekhlesiymkharbxentekidepnaekskharbxnidxxkisdepnfxngfukhun duephin kehnwadinnnphxngtw cungeriykknwa dinsxphxng obranichthaaepngprarangkayephuxiheynsbay emuxphsmnahxmekhaipdwyklayepnaepngkraaeca ichthayasifn pccubnniichmakinkaraekdinepriyw phsmthathup thapunsiemnt ephraaesiykhakhudaelakhabdtakwaichhinpunsungmienuxepnsarprakxbchnidediywkn aehlngihyinpraethsithymiinthxngthixaephxbanhmx cnghwdsraburi xaephxtakhli cnghwdnkhrswrrkh aelaxaephxemuxng cnghwdlphburismyobranichepnekhruxngprathinphiw thatwedkaekphunkhn ichthaphunthilngrkihehnlaychdecn dinsxphxngthiichthayacanaipsatu odyxbinhmxdincnaehng dinsxphxngsatuichthayarksaaephlkamorkh aephleruxrng khawasxindinsxphxngnnmacakphasaekhmraeplwakhaw dinsxphxngcunghmaythungdinsikhawthiimaekhngtw 2 xangxing aekikhSchurrenberger D Russell J and Kerry Kelts 2003 Classification of lacustrine sediments based on sedimentary components Journal of Paleolimnology 29 141 154 Chalk of Kent by C S Harris Accessed 11 06 2005 Geochemistry and time series analyses of orbitally forced Upper Cretaceous marl limestone rhythmites abstract Accessed 11 06 2005 Palaeoenvironmental Interpretation of the Early Postglacial Sedimentary Record of a Marl Lake Accessed 11 06 2005 Sedimentary Rocks Pettijohn F J Harper amp Brothers New York 1957 p 410 chynt phiechiyrsunthr aela wiechiyr cirwngs khumuxephschkrrmaephnithyelm 4 ekhruxngyathatuwtthu phimphkhrngthi 2 kthm xmrinthrphrintingaexndphblichching 2556 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title dinsxphxng amp oldid 8193890, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม