fbpx
วิกิพีเดีย

ตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิม

ตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิม

ตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิม(Conventional superconductors) เป็นตัวนำยวดยิ่งที่สามารถใช้ทฤษฎี BCS อธิบายได้ดี โดยตัวนำยวดยิ่งตัวแรกที่ค้นพบคือปรอทมี Tc=4.15 K ค้นพบในปี 1911 ตัวนำยวดยิ่งในกลุ่มนี้ส่วนใหญ่เป็นธาตุและสารประกอบ เช่น Al มี Tc=1.19 K ,Hg มี Tc=4.15 K ,Nb มี Tc=9.2 K และสารประกอบ เช่น CuS มี Tc=1.6 K โดยสารประกอบที่มี Tc สูงสุดคือ Nb3Ge คือ Tc=23.2 K

ตัวนำยวดยิ่งในสารประกอบ A-15

ตัวนำยวดยิ่งในสารประกอบ A-15 กลุ่ม A3B นี้เป็นตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมที่ให้อุณหภูมิวิกฤติสูงที่สุด สารกลุ่มนี้ถูกเรียกชื่อตามระบบการแบ่งโครงสร้างผลึกแบบเก่า การแบ่งโครงสร้างผลึกแบบนี้จะกำหนดให้ อักษร A แทนธาตุ อักษร B แทนสารประกอบ AB อักษร C แทนสารประกอบ AB2 และอักษร D แทน AmBn และจะมีอักษรเพิ่มขึ้น ถ้าสารประกอบนั้นประกอบด้วยจำนวนธาตุมากขึ้น

ตัวนำยวดยิ่งในธาตุ

นักฟิสิกส์ได้ศึกษาะาตุต่างๆและพบว่าสมบัติของการเป็นตัวนำยวดยิ่งสามารถพบได้ในโลหะหลายชนิด (Buckel, 1991; Owens and Pool, 2002) ซึ่งธาตุส่วนใหญ่มีอุณหภูมิวิกฤติไม่เกิน 10 เคลวิน ในบางธาตุสามารถมีอุณภูมิสูงขึ้นได้เมื่ออยู่ในฟิล์มบาง และมีเพียงธาตุซีเซียมตัวเดียวที่สามารถแสดงสมบัติการเป็นตัวนำยวดยิ่งได้

ตัวนำยวดยิ่งในอัลลอย

เกิดจากการผสมกันของธาตุตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปที่มีการจัดเรียงตัวของอะตอมบนแลตทิซไม่สม่ำเสมอ ทำให้อุณหภูมิวิกฤติจะมีค่าไม่สม่ำเสมอ ทำให้ต้องใช้ธาตุที่มาทำอัลลอยมีสัดส่วนที่เหมาะสมกัน เช่น ไนโอเบียม (Nb) มีวาเลนซ์อิเล็กตรอน (Ne) 5 ตัว ผสมกับเซอร์โครเนียม (Zr) ทีมีวาเลนซ์อิเล็กตรอน 4 ตัว จะทำให้มีอุณหภูมิวิกฤติสูงสุดเมื่อให้สัดส่วน Nb : Zr เป็น 2/3 : 1/3

ความแตกต่างระหว่างตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงกับตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิม

ในปัจจุบันตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงที่ถูกค้นพบมีมากมายหลายชนิด แต่ในที่นี้จะสนใจเฉพาะตัวนำยวดยิ่งที่มีคอปเปอร์ออกไซด์เป็นองค์ประกอปหลัก ซึ่งนอกจากจะมีอุณหภูมิวิกฤตที่สูงแล้ว ตัวนำยวดยิ่งอุณภูมสูงยังมีสมบัติอีกหลายประการที่แต่ต่างจากตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิม ซึ่งพอจะสรุปได้ดังนี้

1. สมบัติของสารตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงจะมีลักษณะขึ้นกับทิศทางเป็นอย่างมาก คือ มีโครงสร้างของอะตอมในผลึกเป็นชั้นๆ และการนำไฟฟ้าในแนวตั้งฉากกับแกนหลักของผลึกเกือบจะไม่มี ทำให้ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงมีโครงสร้างการนำไฟฟ้าเกือบเป็น 2 มิติ

2. ตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมเป็นตัวนำยวดยิ่งที่ไม่ขึ้นกับทิศทางซึ่งจะมีความยาวอาพันธ์ค่าเดียว แต่ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงส่วนใหญ่จะมีความยาวอาพันธ์ 2 ค่า คือ ความยาวอาพันธ์ในระนาบ ab และความยาวอาพันธ์ตามแกน c โดยความยาวอาพันธ์ทั้ง 2 ค่านี้มีขนาดแตกต่างกันมาก เช่น ในสารประกอบบิสมัทจะมาความยาวอาพันธ์ตามแกน c ประมาณ 2 อังสตรอม แต่ในระนาบ ab มีความยาวอาพันธ์ประมาณ 40 อังสตรอม

3. ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงมีความยาวอาพันประมาณ 10-40 อังสตรอม แต่ตีวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมจะมีค่าประมาณ 10,000 อังสตรอม ซึ่งมีค่ามากกว่าตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงประมาณ 1,000 เท่า

4. ในตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิม เมื่ออุณหภูมิวิกฤตเพิ่มสูงขึ้นความหนาแน่นของประจุก็จะเพิ่มขึ้นด้วย แต่ในตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงความหนาแน่นของประจุมีรูปแบบที่ไม่ชัดเจนซึ่งได้มีการพบว่าในตัวนพยวดยิ่งอุณหภูมิสูงบางชนิดที่มีอุณหภูมิวิกฤตสูง แต่จะมีความหนาแน่นประจุค่อนข้างน้อย

5. ค่าช่องว่างพลังงานของตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงในแต่ละวิธีของการวัดจะให้ค่าที่ไม่เท่ากันและมีค่าสูงกว่าตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมมาก โดยวิธีการวัดค่าช่องพลังงานที่ใช้มีหลายวิธี เช่น การทะลุผ่าน (Tunneling) การแพร่รังสีอินฟราเรด (Infrared radiation) กราดูดกลืน (Absorption) และการสะท้อน (Reflection)

6. ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงบางชนิดจะมีค่าสัมประสิทธิ์ของไอโซโทปน้อยกว่าและบางชนิดจะให้ค่ามากกว่าทฤษฏี BCS

7. ในตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง อุณหภูมิวิกฤตจะขึ้นกับความเข้มข้นของสารเจือแบบไม่เป็นแม่เหล็ก แต่ในขณะที่ตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมอุณหภูมิวิกฤตจะขึ้นกับความเข้มข้นของสารเจือแบบแม่เหล็ก โดยอุณหภูมิวิกฤตขะไม่ขึ้นกับสารเจือแบบไม่เป็นแม่เหล็ก

เนื่องจากมีความแตกต่างระหว่างตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมกับตัวนำยวดยิ่งอุณภูมิสูงหลายประการแต่ว่าการอธิบายสมบัติของตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงตามทฤษฏี BCS โดยใช้กลไกของอันตรกิริยาที่ใช้โฟนอนแบบอ่อนและใช้การประมาณในขั้นตอนการคำนวณจะไม่สามารถอธิบายสมบัติของตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงได้ถูกต้องครบถ้วน แนวทางหนึ่งในการพยายามเพื่ออธิยายตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงคือการปรับปรุงทฤษฏี BCS และทฤษฏีกินซ์เบิร์กแลนดาวโดยเพิ่มความละเอียดในการคำนวณให้มากขึ้นและใช้การประมาณในการคำนวณให้น้อยที่สุด เพื่อให้ครอบคลุมสมบัติของตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงมากที่สุด

อ้างอิง

  1. Buckel, W. 1991. Superconductivity: Fundamentals and Applications. New York:VHC Pulisher.
  2. Owens, Frank, J., and Poole, Charles P. Jr. 2002. "The New Superconductors." In Wolf Stuart, Selected Topics in Superconductivity. New York:Kluwer Academic Publishers.
  3. Burns,1992
  4. พงษ์แก้ว อุดมสมุทรหิรัญ, 2559, หน้า 111-115

บรรณานุกรม

  • พงษ์แก้ว อุดมสมุทรหิรัญ, ตัวนำยวดยิ่งพื้นฐาน, สำนักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559

วนำยวดย, งแบบด, งเด, เน, อหา, วนำยวดย, งในสารประกอบ, วนำยวดย, งในธาต, วนำยวดย, งในอ, ลลอย, ความแตกต, างระหว, างต, วนำยวดย, งอ, ณหภ, งก, างอ, บรรณาน, กรม, แก, ไข, conventional, superconductors, เป, นต, วนำยวดย, งท, สามารถใช, ทฤษฎ, อธ, บายได, โดยต, วนำยวดย, งต, . enuxha 1 twnaywdyingaebbdngedim 1 1 twnaywdyinginsarprakxb A 15 1 2 twnaywdyinginthatu 1 3 twnaywdyinginxllxy 1 4 khwamaetktangrahwangtwnaywdyingxunhphumisungkbtwnaywdyingaebbdngedim 2 xangxing 3 brrnanukrmtwnaywdyingaebbdngedim aekikhtwnaywdyingaebbdngedim Conventional superconductors epntwnaywdyingthisamarthichthvsdi BCS xthibayiddi odytwnaywdyingtwaerkthikhnphbkhuxprxthmi Tc 4 15 K khnphbinpi 1911 twnaywdyinginklumniswnihyepnthatuaelasarprakxb echn Al mi Tc 1 19 K Hg mi Tc 4 15 K Nb mi Tc 9 2 K aelasarprakxb echn CuS mi Tc 1 6 K odysarprakxbthimi Tc sungsudkhux Nb3Ge khux Tc 23 2 K twnaywdyinginsarprakxb A 15 aekikh twnaywdyinginsarprakxb A 15 klum A3B niepntwnaywdyingaebbdngedimthiihxunhphumiwikvtisungthisud sarklumnithukeriykchuxtamrabbkaraebngokhrngsrangphlukaebbeka karaebngokhrngsrangphlukaebbnicakahndih xksr A aethnthatu xksr B aethnsarprakxb AB xksr C aethnsarprakxb AB2 aelaxksr D aethn AmBn aelacamixksrephimkhun thasarprakxbnnprakxbdwycanwnthatumakkhun twnaywdyinginthatu aekikh nkfisiksidsuksaaatutangaelaphbwasmbtikhxngkarepntwnaywdyingsamarthphbidinolhahlaychnid Buckel 1991 Owens and Pool 2002 1 2 sungthatuswnihymixunhphumiwikvtiimekin 10 ekhlwin inbangthatusamarthmixunphumisungkhunidemuxxyuinfilmbang aelamiephiyngthatusiesiymtwediywthisamarthaesdngsmbtikarepntwnaywdyingid twnaywdyinginxllxy aekikh ekidcakkarphsmknkhxngthatutngaetsxngchnidkhunipthimikarcderiyngtwkhxngxatxmbnaeltthisimsmaesmx thaihxunhphumiwikvticamikhaimsmaesmx thaihtxngichthatuthimathaxllxymisdswnthiehmaasmkn echn inoxebiym Nb miwaelnsxielktrxn Ne 5 tw phsmkbesxrokhreniym Zr thimiwaelnsxielktrxn 4 tw cathaihmixunhphumiwikvtisungsudemuxihsdswn Nb Zr epn 2 3 1 3 khwamaetktangrahwangtwnaywdyingxunhphumisungkbtwnaywdyingaebbdngedim aekikh inpccubntwnaywdyingxunhphumisungthithukkhnphbmimakmayhlaychnid aetinthinicasnicechphaatwnaywdyingthimikhxpepxrxxkisdepnxngkhprakxphlk sungnxkcakcamixunhphumiwikvtthisungaelw twnaywdyingxunphumsungyngmismbtixikhlayprakarthiaettangcaktwnaywdyingaebbdngedim sungphxcasrupiddngni 3 1 smbtikhxngsartwnaywdyingxunhphumisungcamilksnakhunkbthisthangepnxyangmak khux miokhrngsrangkhxngxatxminphlukepnchn aelakarnaiffainaenwtngchakkbaeknhlkkhxngphlukekuxbcaimmi thaihtwnaywdyingxunhphumisungmiokhrngsrangkarnaiffaekuxbepn 2 miti2 twnaywdyingaebbdngedimepntwnaywdyingthiimkhunkbthisthangsungcamikhwamyawxaphnthkhaediyw aettwnaywdyingxunhphumisungswnihycamikhwamyawxaphnth 2 kha khux khwamyawxaphnthinranab ab aelakhwamyawxaphnthtamaekn c odykhwamyawxaphnththng 2 khanimikhnadaetktangknmak echn insarprakxbbismthcamakhwamyawxaphnthtamaekn c praman 2 xngstrxm aetinranab ab mikhwamyawxaphnthpraman 40 xngstrxm3 twnaywdyingxunhphumisungmikhwamyawxaphnpraman 10 40 xngstrxm aettiwnaywdyingaebbdngedimcamikhapraman 10 000 xngstrxm sungmikhamakkwatwnaywdyingxunhphumisungpraman 1 000 etha4 intwnaywdyingaebbdngedim emuxxunhphumiwikvtephimsungkhunkhwamhnaaennkhxngpracukcaephimkhundwy aetintwnaywdyingxunhphumisungkhwamhnaaennkhxngpracumirupaebbthiimchdecnsungidmikarphbwaintwnphywdyingxunhphumisungbangchnidthimixunhphumiwikvtsung aetcamikhwamhnaaennpracukhxnkhangnxy5 khachxngwangphlngngankhxngtwnaywdyingxunhphumisunginaetlawithikhxngkarwdcaihkhathiimethaknaelamikhasungkwatwnaywdyingaebbdngedimmak odywithikarwdkhachxngphlngnganthiichmihlaywithi echn karthaluphan Tunneling karaephrrngsixinfraerd Infrared radiation kradudklun Absorption aelakarsathxn Reflection 6 twnaywdyingxunhphumisungbangchnidcamikhasmprasiththikhxngixosothpnxykwaaelabangchnidcaihkhamakkwathvsti BCS7 intwnaywdyingxunhphumisung xunhphumiwikvtcakhunkbkhwamekhmkhnkhxngsarecuxaebbimepnaemehlk aetinkhnathitwnaywdyingaebbdngedimxunhphumiwikvtcakhunkbkhwamekhmkhnkhxngsarecuxaebbaemehlk odyxunhphumiwikvtkhaimkhunkbsarecuxaebbimepnaemehlkenuxngcakmikhwamaetktangrahwangtwnaywdyingaebbdngedimkbtwnaywdyingxunphumisunghlayprakaraetwakarxthibaysmbtikhxngtwnaywdyingxunhphumisungtamthvsti BCS odyichklikkhxngxntrkiriyathiichofnxnaebbxxnaelaichkarpramaninkhntxnkarkhanwncaimsamarthxthibaysmbtikhxngtwnaywdyingxunhphumisungidthuktxngkhrbthwn aenwthanghnunginkarphyayamephuxxthiyaytwnaywdyingxunhphumisungkhuxkarprbprungthvsti BCS aelathvstikinsebirkaelndawodyephimkhwamlaexiydinkarkhanwnihmakkhunaelaichkarpramaninkarkhanwnihnxythisud ephuxihkhrxbkhlumsmbtikhxngtwnaywdyingxunhphumisungmakthisud 4 xangxing aekikh Buckel W 1991 Superconductivity Fundamentals and Applications New York VHC Pulisher Owens Frank J and Poole Charles P Jr 2002 The New Superconductors In Wolf Stuart Selected Topics in Superconductivity New York Kluwer Academic Publishers Burns 1992 phngsaekw xudmsmuthrhiry 2559 hna 111 115brrnanukrm aekikhphngsaekw xudmsmuthrhiry twnaywdyingphunthan sankphimph culalngkrnmhawithyaly 2559 ekhathungcak https th wikipedia org w index php title twnaywdyingaebbdngedim amp oldid 7332205, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม