fbpx
วิกิพีเดีย

ทฤษฎีสัมพัทธภาพ

ทฤษฎีสัมพัทธภาพ ครอบคลุมสองทฤษฎีของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์คือ ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป มโนทัศน์ที่ทฤษฎีสัมพัทธภาพริเริ่มมีปริภูมิ-เวลาซึ่งเป็นเอนทิตีรวม (unified entity) ของปริภูมิและเวลา สัมพัทธภาพของความเป็นเวลาเดียวกัน (relativity of simultaneity) การเปลี่ยนขนาดของเวลาทางจลนศาสตร์และความโน้มถ่วง (kinematic and gravitational time dilation) และการหดตัวของความยาว (length contraction)

การฉายสองมิติของแนวเทียบสามมิติของความโค้งปริภูมิ-เวลาที่อธิบายในสัมพัทธภาพทั่วไป

ทฤษฎีสัมพัทธภาพเปลี่ยนแปลงฟิสิกส์ทฤษฎีและดาราศาสตร์ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 20 เมื่อพิมพ์ครั้งแรก สัมพัทธภาพเข้าแทนที่ทฤษฎีกลศาสตร์อายุ 200 ปีที่ไอแซก นิวตันเป็นผู้ประดิษฐ์หลัก ในสาขาฟิสิกส์ สัมพัทธภาพพัฒนาวิทยาศาสตร์ของอนุภาคมูลฐานและอันตรกิริยามูลฐานของพวกมัน ร่วมกับการก้าวสู่ยุคนิวเคลียร์ ด้วยสัมพัทธภาพ จักรวาลวิทยาและฟิสิกส์ดาราศาสตร์ทำนายปรากฏการณ์ดาราศาสตร์พิเศษอย่างดาวนิวตรอน หลุมดำและคลื่นความโน้มถ่วง

ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษและทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปเชื่อมโยงกัน ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษใช้กับปรากฏการณ์กายภาพทั้งหมดยกเว้นความโน้มถ่วง ทฤษฎีทั่วไปให้กฎความโน้มถ่วง และความสัมพันธ์กับแรงอื่นของธรรมชาติ

สัมพัทธภาพพิเศษ

ดูบทความหลักที่: ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ

ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ได้รับการแนะนำเป็นครั้งแรก ในผลงานวิจัยของไอน์สไตน์เมื่อปี พ.ศ. 2448 (ค.ศ. 1905) เรื่อง "พลศาสตร์ทางไฟฟ้าของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่" (On the Electrodynamics of Moving Bodies) ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ แสดงให้เห็นว่าผู้สังเกตที่อยู่ในกรอบอ้างอิงเฉื่อยที่กำลังเคลื่อนที่สัมพัทธ์กันด้วยอัตราเร็วคงที่นั้น จะไม่สามารถทำการทดลองใดๆ เพื่อหาว่าผู้สังเกตคนใดมี "การเคลื่อนที่สัมบูรณ์" ทฤษฎีนี้มีสมมุติฐานดังนี้

  1. อัตราเร็วแสงในสุญญากาศนั้นจะมีค่าเท่ากันสำหรับผู้สังเกตทุกคน
  2. กฎทางฟิสิกส์ไม่แปรเปลี่ยนภายใต้การแปลงกรอบอ้างอิงเฉื่อย

จากทฤษฎีนี้ ไอน์สไตน์ค้นพบผลลัพธ์ที่น่าสนใจหลายอย่างในกรณีการเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วใกล้อัตราเร็วแสง ซึ่งขัดกับสามัญสำนึกของมนุษย์ทั่วไป

สัมพัทธภาพทั่วไป

ไอน์สไตน์ตีพิมพ์ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ในปี พ.ศ. 2459 (ค.ศ. 1916) (นำเสนอเป็นปาฐกถาในสถาบันวิทยาศาสตร์รัสเซียเมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458) อย่างไรก็ตาม ดาวิท ฮิลเบิร์ท นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน เคยเขียนและนำเสนอสมการคล้ายคลึงกันก่อนหน้าไอน์สไตน์ แต่ไม่ได้หมายความว่าเป็นการคัดลอกกันแต่อย่างใด กล่าวได้ว่าทั้งสองต่างเป็นผู้ให้กำเนิดทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปร่วมกัน

ทฤษฎีนี้กล่าวถึงสมการหนึ่งที่มาแทนที่กฎแรงโน้มถ่วงของนิวตัน ใช้เรขาคณิตเชิงอนุพันธ์และเทนเซอร์ในการอธิบายความโน้มถ่วง แสดงให้เห็นว่าผู้สังเกตทุกคนเหมือนกันไม่ว่าจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงที่หรือไม่ กฎของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปเหมือนกันสำหรับผู้สังเกตทุกคน แม้ว่าผู้สังเกตแต่ละคนเคลื่อนที่ด้วยความเร่งเมื่อเทียบกับผู้สังเกตคนอื่น ในทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ความโน้มถ่วงไม่ได้เป็นแรง (อย่างในกฎความโน้มถ่วงของนิวตัน) อีกต่อไป แต่เป็นผลจากการโค้งของปริภูมิ-เวลา (spacetime หรืออาจแปลว่าปริภูมิก็ได้) ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปเป็นทฤษฎีเชิงเรขาคณิตที่ถือหลักว่ามวลและพลังงานทำให้เกิดการโค้งงอของปริภูมิ-เวลา และการโค้งนี้ส่งผลต่อเส้นทางการเคลื่อนที่ของอนุภาคอิสระรวมทั้งแสง

อ้างอิง

  1. Will, Clifford M (August 1, 2010). "Relativity". Grolier Multimedia Encyclopedia. สืบค้นเมื่อ 2010-08-01.
  2. Will, Clifford M (August 1, 2010). "Space-Time Continuum". Grolier Multimedia Encyclopedia. สืบค้นเมื่อ 2010-08-01.
  3. Will, Clifford M (August 1, 2010). "Fitzgerald–Lorentz contraction". Grolier Multimedia Encyclopedia. สืบค้นเมื่อ 2010-08-01.
  4. Einstein, Albert (November 28, 1919). "Time, Space, and Gravitation" . The Times.

หนังสืออ่านเพิ่ม

  • Bergmann, Peter G. (1976). Introduction to the Theory of Relativity. Dover Publications. ISBN 0-486-63282-2.

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิตำรา มีคู่มือ ตำรา หรือวิธีการเกี่ยวกับ:
ทฤษฎีสัมพัทธภาพ
  • Living Reviews in Relativity — An open access, peer-referred, solely online physics journal publishing invited reviews covering all areas of relativity research.
  • Reflections on Relativity — A complete online course on Relativity.
  • Relativity explained in words of four letters or less
  • Briefing on Einstein's Theory of Relativity — A terse dose of insight on the subject.
  • On the Electrodynamics of Moving Bodies
  • Special Relativity Simulator
  • A Relativity Tutorial at Caltech — A basic introduction to concepts of Special and General Relativity, as well as astrophysics.
  • Relativity Gravity and Cosmology — A short course offered at MIT.
  • Relativity in film clips and animations from the University of New South Wales.
  • Relativity

ทฤษฎ, มพ, ทธภาพ, ครอบคล, มสองทฤษฎ, ของอ, ลเบ, ไอน, สไตน, เศษและท, วไป, มโนท, ศน, เร, มม, ปร, เวลาซ, งเป, นเอนท, รวม, unified, entity, ของปร, และเวลา, มพ, ทธภาพของความเป, นเวลาเด, ยวก, relativity, simultaneity, การเปล, ยนขนาดของเวลาทางจลนศาสตร, และความโน, มถ, ว. thvsdismphththphaph khrxbkhlumsxngthvsdikhxngxlebirt ixnsitnkhux thvsdismphththphaphphiessaelathvsdismphththphaphthwip monthsnthithvsdismphththphaphrierimmipriphumi ewlasungepnexnthitirwm unified entity khxngpriphumiaelaewla smphththphaphkhxngkhwamepnewlaediywkn relativity of simultaneity karepliynkhnadkhxngewlathangclnsastraelakhwamonmthwng kinematic and gravitational time dilation aelakarhdtwkhxngkhwamyaw length contraction karchaysxngmitikhxngaenwethiybsammitikhxngkhwamokhngpriphumi ewlathixthibayinsmphththphaphthwip thvsdismphththphaphepliynaeplngfisiksthvsdiaeladarasastrrahwangkhriststwrrsthi 20 emuxphimphkhrngaerk smphththphaphekhaaethnthithvsdiklsastrxayu 200 pithiixaesk niwtnepnphupradisthhlk insakhafisiks smphththphaphphthnawithyasastrkhxngxnuphakhmulthanaelaxntrkiriyamulthankhxngphwkmn rwmkbkarkawsuyukhniwekhliyr dwysmphththphaph ckrwalwithyaaelafisiksdarasastrthanaypraktkarndarasastrphiessxyangdawniwtrxn hlumdaaelakhlunkhwamonmthwng 1 2 3 thvsdismphththphaphphiessaelathvsdismphththphaphthwipechuxmoyngkn thvsdismphththphaphphiessichkbpraktkarnkayphaphthnghmdykewnkhwamonmthwng thvsdithwipihkdkhwamonmthwng aelakhwamsmphnthkbaerngxunkhxngthrrmchati 4 enuxha 1 smphththphaphphiess 2 smphththphaphthwip 3 xangxing 4 hnngsuxxanephim 5 aehlngkhxmulxunsmphththphaphphiess aekikhdubthkhwamhlkthi thvsdismphththphaphphiess thvsdismphththphaphphiess idrbkaraenanaepnkhrngaerk inphlnganwicykhxngixnsitnemuxpi ph s 2448 kh s 1905 eruxng phlsastrthangiffakhxngwtthuthikalngekhluxnthi On the Electrodynamics of Moving Bodies thvsdismphththphaphphiess aesdngihehnwaphusngektthixyuinkrxbxangxingechuxythikalngekhluxnthismphththkndwyxtraerwkhngthinn caimsamarththakarthdlxngid ephuxhawaphusngektkhnidmi karekhluxnthismburn thvsdinimismmutithandngni xtraerwaesnginsuyyakasnncamikhaethaknsahrbphusngektthukkhn kdthangfisiksimaeprepliynphayitkaraeplngkrxbxangxingechuxycakthvsdini ixnsitnkhnphbphllphththinasnichlayxyanginkrnikarekhluxnthidwyxtraerwiklxtraerwaesng sungkhdkbsamysanukkhxngmnusythwipsmphththphaphthwip aekikhdubthkhwamhlkthi thvsdismphththphaphthwip aela bthnathvsdismphththphaphthwip ixnsitntiphimphthvsdismphththphaphthwip inpi ph s 2459 kh s 1916 naesnxepnpathkthainsthabnwithyasastrrsesiyemuxwnthi 15 phvscikayn ph s 2458 xyangirktam dawith hilebirth nkkhnitsastrchaweyxrmn ekhyekhiynaelanaesnxsmkarkhlaykhlungknkxnhnaixnsitn aetimidhmaykhwamwaepnkarkhdlxkknaetxyangid klawidwathngsxngtangepnphuihkaenidthvsdismphththphaphthwiprwmknthvsdiniklawthungsmkarhnungthimaaethnthikdaerngonmthwngkhxngniwtn icherkhakhnitechingxnuphnthaelaethnesxrinkarxthibaykhwamonmthwng aesdngihehnwaphusngektthukkhnehmuxnknimwacaekhluxnthidwyxtraerwkhngthihruxim kdkhxngthvsdismphththphaphthwipehmuxnknsahrbphusngektthukkhn aemwaphusngektaetlakhnekhluxnthidwykhwamerngemuxethiybkbphusngektkhnxun inthvsdismphththphaphthwip khwamonmthwngimidepnaerng xyanginkdkhwamonmthwngkhxngniwtn xiktxip aetepnphlcakkarokhngkhxngpriphumi ewla spacetime hruxxacaeplwapriphumikid thvsdismphththphaphthwipepnthvsdiechingerkhakhnitthithuxhlkwamwlaelaphlngnganthaihekidkarokhngngxkhxngpriphumi ewla aelakarokhngnisngphltxesnthangkarekhluxnthikhxngxnuphakhxisrarwmthngaesngxangxing aekikh Will Clifford M August 1 2010 Relativity Grolier Multimedia Encyclopedia subkhnemux 2010 08 01 Will Clifford M August 1 2010 Space Time Continuum Grolier Multimedia Encyclopedia subkhnemux 2010 08 01 Will Clifford M August 1 2010 Fitzgerald Lorentz contraction Grolier Multimedia Encyclopedia subkhnemux 2010 08 01 Einstein Albert November 28 1919 Time Space and Gravitation The Times hnngsuxxanephim aekikhBergmann Peter G 1976 Introduction to the Theory of Relativity Dover Publications ISBN 0 486 63282 2 aehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb thvsdismphththphaph wikitara mikhumux tara hruxwithikarekiywkb thvsdismphththphaph Living Reviews in Relativity An open access peer referred solely online physics journal publishing invited reviews covering all areas of relativity research Reflections on Relativity A complete online course on Relativity Relativity explained in words of four letters or less Briefing on Einstein s Theory of Relativity A terse dose of insight on the subject On the Electrodynamics of Moving Bodies Special Relativity Simulator A Relativity Tutorial at Caltech A basic introduction to concepts of Special and General Relativity as well as astrophysics Relativity Gravity and Cosmology A short course offered at MIT Relativity in film clips and animations from the University of New South Wales Relativityekhathungcak https th wikipedia org w index php title thvsdismphththphaph amp oldid 8406731, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม