fbpx
วิกิพีเดีย

ธงชาติยูเครน

ธงชาติยูเครน (ยูเครน: державний прапор України; ถอดเป็นอักษรโรมัน: derzhavnyy prapor Ukrayiny) มีต้นกำเนิดจากธงชาติในสมัยการปกครองระยะสั้นๆ ของสาธารณรัฐประชาชนยูเครนในปี ค.ศ. 1918 โดยธงชาติในยุคนั้นเป็นธงสีฟ้า-เหลือง มีรูปสามง่าม (tryzub) ประดับอยู่ที่มุมธงบนด้านคันธง เครื่องหมายดังกล่าวนี้ได้มีการเลิกใช้ในธงในสมัยรัฐยูเครนของรัฐบาลพาโบล สโกโรปาดสกี (Pavlo Skoropadsky) และ คณะไดเรกทอรี (ยูเครน: Dyrektoriya) ซึ่งเป็นผู้บริหารประเทศลำดับถัดมา ต่อมาในยุคของสหภาพโซเวียต พรรคบอลเชวิคได้เลิกธงเดิมและใช้ธงแดงเป็นสัญลักษณ์ ก่อนจะเปลี่ยนเป็นธงสีแดง-ฟ้าในระยะต่อมา ธงสีฟ้า-เหลืองได้กลับมามีสถานะเป็นธงชาติยูเครนอย่างเป็นทางการอีกครั้ง เมื่อยูเครนได้รับเอกราชในปี ค.ศ. 1992


ธงชาติยูเครน
การใช้ 100100
สัดส่วนธง 2:3
ประกาศใช้ 28 มกราคม ค.ศ. 1992 (เดิมเริ่มใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1918)
ลักษณะ ธงสองสี พื้นสีฟ้าและสีเหลือง แบ่งครึ่งตามแนวนอน
ธงชาติฯในรูปแบบอื่น
ชื่อธง ธงประจำกองบัญชาการทหารสูงสุด (กองทัพยูเครน)
การใช้ 001000
สัดส่วนธง 2:3
ลักษณะ ธงพื้นสีชมพูอมม่วง (สีดอกราสเบอรี่) กลางธงมีตราประจำกองบัญชาการทหารสูงสุด
ธงชาติฯในรูปแบบอื่น
ชื่อธง ธงประจำกองทัพอากาศยูเครน
สัดส่วนธง 2:3
ลักษณะ ธงพื้นสีฟ้า กลางธงมีตราประจำกองทัพอากาศยูเครน.
ธงชาติฯในรูปแบบอื่น
การใช้ 000001
สัดส่วนธง 2:3
ประกาศใช้ 28 มกราคม ค.ศ. 1992 (เดิมเริ่มใช้ตั้งแต่ ค.ศ. 1918)
ลักษณะ ธงพื้นขาว มีรูปกางเขนสีน้ำเงินขอบขาว-น้ำเงิน ที่ช่องมุมธงบนด้านคันธงมีรูปธงชาติ.
ธงชาติฯในรูปแบบอื่น
ชื่อธง ธงเรือตรวจการณ์รักษาฝั่ง
การใช้ 000001
สัดส่วนธง 2:3
ลักษณะ ธงพื้นเขียว มีรูปกางเขนสีขาวขอบเขียว-ขาว ที่ช่องมุมธงบนด้านคันธงมีรูปธงชาติ

แบบธง

กฎหมายของยูเครนระบุว่าสีของธงชาติยูเครนคือ "น้ำเงินและเหลือง" แต่หน่วยงานของรัฐอื่น ๆ ได้กำหนดสี โดยในตารางด้านล่าง สีจะตรงตามข้อกำหนดทางเทคนิค DSTU 4512:2006:

ระบบสี สีฟ้า สีเหลือง
ระบบสีแพนโทน 285 C 108 C
อาร์เอแอล 5019 Capri blue 1023 Traffic yellow
RGB 58-117-196 249-221-22
CMYK 70-40-0-23 0-11-91-2
เลขฐานสิบหก #0057b8 #ffd700
สีที่ใช้ในเว็บ #0066cc #ffcc00

ข้อบังคับและธรรมเนียมปฏิบัติ

สถานะทางกฎหมาย

รัฐธรรมนูญแห่งสาธารณรัฐ มาตราที่ 20 ได้บัญญัติถึงธงชาติไว้ว่า “ธงชาติยูเครน เป็นธงสองแถบซึ่งมีความกว้างเท่ากันตามแนวนอน พื้นสีฟ้าและสีเหลือง” (ยูเครน: "Державний Прапор України — стяг із двох рівновеликих горизонтальних смуг синього і жовтого кольору." )

ธงสำหรับตกแต่ง

ธงสำหรับตกแต่งมีการใช้ในทางสาธารณะ โดยสภาสูงสุดแห่งยูเครนเป็นผู้ใช้ธงชนิดนี้. หอประชุมในเมืองต่างๆมีการประดับธงชาติร่วมกับธงประจำเมือง รวมถึงบนถนนสาธารณะ; ในบางเมืองนั้นได้ประดับธงประจำเมืองสำหรับตกแต่งเพียงธงเดียว. อัตราส่วนของธงสำหรับตกแต่งมิได้กำหนดเป็นแบบแผน. เมื่อประดับธงสำหรับตกแต่ง แถบสีฟ้าจะต้องอยู่ทางซ้ายมือ ในกรณีที่ประดับกับเสาธงแถบสีฟ้าจะต้องอยู่ทางคันธงเสมอ.

วันธงชาติ

ดูบทความหลักที่: วันธงชาติ (ยูเครน)
 
ธงชาติยูเครนที่จตุรัสไมดาน เนซาเลซนอสติ, ถนนเครสชาตีค.

ประวัติความเป็นมาของธงชาติ

 
ธงประจำกองทหารคอสแซค (ค.ศ. 1651)
 
ธงกองทหารคอสแซค
 
ธงคอสแซคซาโพโรเซียนสิช (สภาสิช) แม่แบบ:Не переведено 3. ในศตวรรษที่ 18.

สีซึ่งอยู่ในธงชาติยูเครนประกอบด้วยสีฟ้า หมายถึงท้องฟ้า และสีเหลือง หมายถึงสีทองของรวงข้าวสาลีในประเทศนี้ สีดังกล่าวนี้มีความเกี่ยวข้องกับชาวยูเครนมาเป็นระยะเวลานานตั้งแต่ก่อนจะมีการนำศาสนาคริสต์เข้ามาในยูเครน โดยปรากฏว่าในสมัยโบราณได้มีธรรมเนียมในการตกแต่งงานพิธีการในท้องถิ่นด้วยสีทั้งสอง เพื่อแทนความหมายของน้ำและไฟ ในสมัยอาณาจักรเคียฟรุส สีเหลืองและสีฟ้ายังคงเป็นสีที่ได้รับความนิยมโดยทั่วไป ต่อมาสีดังกล่าวนี้ก็ได้ใช้เป็นธงของราชรัฐฮาลีช-โวลฮีเมีย (Halych-Volhynia) ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 และ 14 ระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 16 - 18 กองทหารคอสแซคได้ใช้ธงสีต่างๆ เป็นสัญลักษณ์อย่างแพร่หลาย อาทิ สีเหลือง-ฟ้า สีแดง-ดำ สีแดงเลือดหมู-เขียวมะกอก โดยเฉพาะ

 
ธงของลวีฟ และ ไฮลิช ระหว่างศึกแห่งกรุนวอลด์
 
ธงเหลือง–ฟ้า และธงแดง-ดำของเหล่าทหารคอสแซค ในงานจิตรกรรม "Reply of the Zaporozhian Cossacks" โดยอิลียา เรพิน (Ilya Repin), ค.ศ. 1880 - 1891


สมัยเอกราชระหว่าง ค.ศ. 1917 – 1920

 
ภาพธงเหลือง–ฟ้าในโปสเตอร์สมัยสาธารณรัฐประชาชนยูเครน, บี.ชิพพิค (B.Shippikh), เคียฟ, ค.ศ. 1917
 
ธงสีเหลือง–ฟ้า ตราสามง่าม ธงประจำกองทัพกาลิเซียยูเครน ค.ศ. 1918
ธงชาติยูเครนสมัยต่างๆ
 
อาณาจักรฮาลีช-โวลฮีเมีย
(Halych-Volhynia)
 
แคว้นคอสแซคเฮตเมเนต
(Cossack Hetmanate)
 
สาธารณรัฐประชาชนยูเครน
(ค.ศ. 1917 – 1918)
 
สาธารณรัฐประชาชนยูเครน
(ธงนาวี; ค.ศ. 1917–1921)
 
รัฐยูเครน (ค.ศ. 1918)
สาธารณรัฐชาตินิยมยูเครนตะวันตก
(ค.ศ. 1918 – 1919)
คาร์ปาร์โต-ยูเครน

(มีนาคม ค.ศ. 1939)
รัฐบาลเฉพาะกาลยูเครน

(มิถุนายน - กันยายน ค.ศ. 1941)
 
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน
(ค.ศ. 1919 – 1929).
 
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน
(ค.ศ. 1929 – 1937).
 
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน
(ค.ศ. 1937 – 1949).
 
สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน
(ค.ศ. 1949 - 1992)
 
ประเทศยูเครน
(ตั้งแต่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1992)

หลังการปฏิวัติรัสเซียในปี ค.ศ. 1917 ชาวยูเครนได้ใช้ธงทั้งสีฟ้า–เหลือง และ สีเหลือง–ฟ้า เป็นสัญลักษณ์ในการต่อสู้เพื่ออิสรภาพระหว่างปี ค.ศ. 1917 - 1920

ปัจจุบันนี้ยังไม่มีแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ระบุว่ามีการประกาศใช้ธงชาติยูเครนอย่างเป็นทางการโดยสาธารณรัฐประชาชนยูเครนระหว่างปี ค.ศ. 1917 - 1918 ข้อมูลบางแห่งได้อ้างว่าสภาส่วนกลางของสาธารณรัฐประชาชนยูเครน (Tsentralna Rada) ได้ประกาศให้ธงเหลือง-ฟ้าเป็นธงชาติยูเครนเมื่อวันที่ 22 มีนาคม ค.ศ. 1918 แต่แหล่งข้อมูลอีกแห่งระบุว่าไม่มีไม่มีสำเนาเอกสารของการประกาศดังกล่าว หลักฐานที่แตกต่างออกไปอีกแห่งได้อ้างถึงธงของกองกำลังทางเรีอซึ่งใช้ธงพื้นสีฟ้าอ่อน-เหลือง เป็นการระบุว่าธงชาติยูเครนอย่างเป็นทางการในเวลานั้นใช้สีฟ้าอ่อน-เหลืองด้วยเช่น

ธงอย่างเป็นทางการของสาธารณรัฐชาตินิยมยูเครนตะวันตก และ รัฐยูเครนภายใต้การปกครองของพาโบล สโกโรพาดสกี ใช้ธงสีฟ้า-เหลือง ต่อมากลายเป็นโทนสีฟ้าอ่อน-เหลืองในสมัยของคณะไดเรกทอรีภายใต้การนำของเซเมน เพทลูรา (Semen Petlura)

ในบรรดาองค์กรของผู้อพยพชาวยูเครนนั้นได้มีการสนับสนุนให้ใช้ทั้งธงสีฟ้า-เหลือง และ ธงสีเหลือง-ฟ้า เป็นเครื่องหมายของพวกตน ในที่สุดจึงมีการยอมรับให้ใช้ธงสีฟ้าอ่อน-เหลือง เป็นสัญลักษณ์ของยูเครนจนกระทั่งได้มีการประกาศยอมรับจากรัฐบาลยูเครนในยุคนั้นอย่างเป็นทางการ

รัฐเอกราชระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2

ดูบทความหลักที่: คาร์ปาร์โท-ยูเครน และ รัฐบาลเฉพาะกาลยูเครน

ภายใต้การปกครองของสหภาพโซเวียต

นับตั้งแต่ ค.ศ. 1920 ยูเครนตกอยู่ในความปกครองของสหภาพโซเวียตภายใต้ชื่อสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน ธงของยูเครนในยุคนี้จึงมีลักษณะที่คล้ายคลึงกับธงชาติของสาธารณรัฐโซเวียตแห่งอื่นในเครือสหภาพโซเวียตเช่นกัน กล่าวคือใช้ธงแดงเป็นสัญลักษณ์ ที่พื้นธงตอนมุมบนด้านคันธงมีอักษรซีริลลิกย่อนามประเทศ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เป็นระยะๆ ("УСРР" ระหว่าง ค.ศ. 1919 – 1929 และ "УРСР" ระหว่าง ค.ศ. 1929 – 1947) ในปี ค.ศ. 1937 จึงได้มีการเพิ่มสัญลักษณ์รูปค้อนเคียวไว้เหนืออักษรย่อนามประเทศด้วย

ในปี ค.ศ. 1947 สาธารณรัฐโซเวียตต่างๆ ได้มีการแก้ไขธงชาติของตนเองใหม่ทั้งหมดเพื่อให้เกิดความแตกต่างกันอย่างชัดเจน โดยยูเครนได้เปลี่ยนธงเป็นธงแดงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 1 ส่วน ยาว 2 ส่วน มีรูปค้อนเคียวและดาวแดง ตอนล่างแบ่งเป็นแถบแนวนอนสีฟ้า กว้าง 1 ใน 3 ของความกว้างธงโดยรวม

การกลับคืนสถานะธงชาติของธงฟ้า-เหลือง

จากอิทธิพลของนโยบายกลาสนอสต์-เปเรสทรอยกา ของประธานาธิบดีมิคาอิล กอร์บาชอฟ ซึ่งดำเนินมาเป็นเวลาหลายปีในช่วงปลายคริสต์ทศวรรษที่ 1980 ทำให้บรรดาสาธารณรัฐโซเวียตต่างๆ ภายใต้ความปกครองของสหภาพโซเวียตเกิดความรู้สึกชาตินิยมอย่างแรงกล้า จนกระทั่งนำไปสู่การล่มสลายของสหภาพโซเวียตในปี ค.ศ. 1991 เหตุการณ์เหล่านี้ทำให้รัฐในคายสมุทรบอลข่าน 3 รัฐ (ลัตเวีย, ลิทัวเนีย, เอสโตเนีย) และยูเครนตะวันตก ซึ่งเป็นดินแดนที่ถูกผนวกเข้าเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียตหลังสุดเกิดความกังวล บรรดาแคว้นดังกล่าวจึงร่วมกันพยายามฟื้นฟูเอาสัญลักษณ์ประจำชาติในอดีตกลับมาใช้อีกครั้งหนึ่ง โดยในปี ค.ศ. 1988 สภาโซเวียตสูงสุดของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตลิทัวเนียได้เปลี่ยนตราแผ่นดินจากเดิมในสมัยโซเวียตเป็นตราที่เคยใช้ในสมัยก่อนการปกครองของสหภาพโซเวียตเป็นแห่งแรก รัฐสภาของลัตเวียและเอสโตเนียก็ได้ทำการอย่างเดียวกันกับสภาลิทัวเนียเป็นลำดับถัดมาในเวลาไม่นานนัก

สิ่งที่เกิดขึ้นดังกล่าวไม่ช้าก็ได้ชักนำให้เกิดกระบวนการอย่างเดียวกันในยูเครนด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในยูเครนตะวันตกและในเคียฟ เมืองหลวงของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน ได้เกิดการเดินขบวนทางการเมืองเป็นระยะๆ โดยผู้ชุมนุมได้มีการชูธงสีฟ้า-เหลืองขึ้นเป็นสัญลักษณ์ในการชุมนุม

เหตุการณ์ต่างๆ ในยูเครนได้เกิดขึ้นโดยลำดับดังต่อไปนี้

20 มีนาคม ค.ศ. 1990
สภาประจำเมืองเตียร์โนปิล (Ternopil) ได้มีการลงมติให้ฟื้นฟูการใช้ธงสีฟ้า-เหลือง ตราสามง่าม (tryzub) และเพลงชาติยูเครนซึ่งมีชื่อว่า "Shche ne vmerla Ukrainy" ในวันเดียวกันนั้นธงสีฟ้า-เหลืองก็ได้ชักขึ้นเหนืออาคารของรัฐบาลในเคียฟแทนธงของสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครนเป็นครั้งแรก
28 เมษายน ค.ศ. 1990
สภาจังหวัดลวีฟได้อนุมัติให้มีการใช้สัญลักษณ์ประจำชาติอย่างใหม่ภายในจังหวัด
29 เมษายน ค.ศ. 1990
ธงสีฟ้า-เหลืองถูกชักขึ้นเหนืออาคารโรงละครในเมืองเตียร์โนปิลโดยไม่มีการชักธงของสหภาพโซเวียตเหนือธงดังกล่าว
24 กรกฎาคม ค.ศ. 1990
ได้มีการชักธงฟ้า-เหลืองอย่างเป็นทางการครั้งแรกเหนืออาคารสภาเคียฟ ที่จตุรัสไมดาน เนซาเลซนอสติ (Maidan Nezalezhnosti square) ถนนเครสชาตีค (Khreschatyk street)

หลังการประกาศเอกราชของยูเครนในวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 1991 ธงชาติยูเครนสีฟ้า-เหลืองก็ได้ชักขึ้นในฐานะธงชาติรัฐเอกราชครั้งแรกเมื่อวันที่ 4 กันยายน ค.ศ. 1991 ที่อาคารรัฐสภาของประเทศยูเครน

อ้างอิง

  1. Volker Preuß. "Ukraine". สืบค้นเมื่อ 2002-12-30. (เยอรมัน)
  2. "vexilla mundi". สืบค้นเมื่อ 2007-03-13.
  3. Constitution of Ukraine
  4. Geraldika.ru Флаг Украины
  5. Abbott, Peter; Eugene Pinak; Oleksiy Rudenko (2004). Ukrainian Armies 1914-55. Osprey Publishing. pp. 9, 13. ISBN 9781841766683. สืบค้นเมื่อ 2009-03-01.
  6. State Symbols of Ukraine, Cabinet of Ministers of Ukraine, website.
  7. http://web.archive.org/20050228081927/vexillography.narod.ru/ukraine/unr.htm
  8. Ukrainian Historical Journal, 1999, #4, ISSN 0130-S247
  9. Українське військо у ХХ-ХХІ сторіччі

ดูเพิ่ม

แหล่งข้อมูลอื่น

  • ธงชาติยูเครน ที่ Flags of the World (อังกฤษ)
  • ธงในประเทศยูเครน - Vexillographia
  • ธงราชการกองทัพในยูเครน

ธงชาต, เครน, เครน, державний, прапор, України, ถอดเป, นอ, กษรโรม, derzhavnyy, prapor, ukrayiny, นกำเน, ดจากธงชาต, ในสม, ยการปกครองระยะส, นๆ, ของสาธารณร, ฐประชาชนย, เครนในป, 1918, โดยธงชาต, ในย, คน, นเป, นธงส, เหล, อง, ปสามง, าม, tryzub, ประด, บอย, มธงบนด, านค,. thngchatiyuekhrn yuekhrn derzhavnij prapor Ukrayini thxdepnxksrormn derzhavnyy prapor Ukrayiny mitnkaenidcakthngchatiinsmykarpkkhrxngrayasn khxngsatharnrthprachachnyuekhrninpi kh s 1918 odythngchatiinyukhnnepnthngsifa ehluxng mirupsamngam tryzub pradbxyuthimumthngbndankhnthng ekhruxnghmaydngklawniidmikarelikichinthnginsmyrthyuekhrnkhxngrthbalphaobl sokorpadski Pavlo Skoropadsky aela khnaiderkthxri yuekhrn Dyrektoriya sungepnphubriharpraethsladbthdma txmainyukhkhxngshphaphosewiyt phrrkhbxlechwikhidelikthngedimaelaichthngaedngepnsylksn kxncaepliynepnthngsiaedng fainrayatxma thngsifa ehluxngidklbmamisthanaepnthngchatiyuekhrnxyangepnthangkarxikkhrng emuxyuekhrnidrbexkrachinpi kh s 1992thngchatiyuekhrn karich 100100sdswnthng 2 3prakasich 28 mkrakhm kh s 1992 edimerimichtngaet kh s 1918 lksna thngsxngsi phunsifaaelasiehluxng aebngkhrungtamaenwnxnthngchatiinrupaebbxunchuxthng thngpracakxngbychakarthharsungsud kxngthphyuekhrn karich 001000sdswnthng 2 3lksna thngphunsichmphuxmmwng sidxkrasebxri klangthngmitrapracakxngbychakarthharsungsudthngchatiinrupaebbxunchuxthng thngpracakxngthphxakasyuekhrnsdswnthng 2 3lksna thngphunsifa klangthngmitrapracakxngthphxakasyuekhrn thngchatiinrupaebbxunkarich 000001sdswnthng 2 3prakasich 28 mkrakhm kh s 1992 edimerimichtngaet kh s 1918 1 lksna thngphunkhaw mirupkangekhnsinaenginkhxbkhaw naengin thichxngmumthngbndankhnthngmirupthngchati thngchatiinrupaebbxunchuxthng thngeruxtrwckarnrksafngkarich 000001sdswnthng 2 3lksna thngphunekhiyw mirupkangekhnsikhawkhxbekhiyw khaw thichxngmumthngbndankhnthngmirupthngchati enuxha 1 aebbthng 2 khxbngkhbaelathrrmeniymptibti 2 1 sthanathangkdhmay 2 2 thngsahrbtkaetng 3 wnthngchati 4 prawtikhwamepnmakhxngthngchati 4 1 smyexkrachrahwang kh s 1917 1920 4 2 rthexkrachrahwangsngkhramolkkhrngthi 2 4 3 phayitkarpkkhrxngkhxngshphaphosewiyt 4 4 karklbkhunsthanathngchatikhxngthngfa ehluxng 5 xangxing 6 duephim 7 aehlngkhxmulxunaebbthng aekikh kdhmaykhxngyuekhrnrabuwasikhxngthngchatiyuekhrnkhux naenginaelaehluxng aethnwyngankhxngrthxun idkahndsi odyintarangdanlang sicatrngtamkhxkahndthangethkhnikh DSTU 4512 2006 rabbsi sifa siehluxngrabbsiaephnothn 2 285 C 108 Cxarexaexl 5019 Capri blue 1023 Traffic yellowRGB 2 58 117 196 249 221 22CMYK 2 70 40 0 23 0 11 91 2elkhthansibhk 0057b8 ffd700sithiichinewb 0066cc ffcc00khxbngkhbaelathrrmeniymptibti aekikhsthanathangkdhmay aekikh rththrrmnuyaehngsatharnrth matrathi 20 idbyytithungthngchatiiwwa thngchatiyuekhrn epnthngsxngaethbsungmikhwamkwangethakntamaenwnxn phunsifaaelasiehluxng yuekhrn Derzhavnij Prapor Ukrayini styag iz dvoh rivnovelikih gorizontalnih smug sinogo i zhovtogo koloru 3 thngsahrbtkaetng aekikh thngsahrbtkaetngmikarichinthangsatharna odysphasungsudaehngyuekhrnepnphuichthngchnidni hxprachuminemuxngtangmikarpradbthngchatirwmkbthngpracaemuxng rwmthungbnthnnsatharna inbangemuxngnnidpradbthngpracaemuxngsahrbtkaetngephiyngthngediyw xtraswnkhxngthngsahrbtkaetngmiidkahndepnaebbaephn emuxpradbthngsahrbtkaetng aethbsifacatxngxyuthangsaymux inkrnithipradbkbesathngaethbsifacatxngxyuthangkhnthngesmx wnthngchati aekikhdubthkhwamhlkthi wnthngchati yuekhrn thngchatiyuekhrnthictursimdan ensaelsnxsti thnnekhrschatikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidprawtikhwamepnmakhxngthngchati aekikh thngpracakxngthharkhxsaeskh kh s 1651 thngkxngthharkhxsaeskh thngkhxsaeskhsaophoresiynsich sphasich aemaebb Ne perevedeno 3 instwrrsthi 18 sisungxyuinthngchatiyuekhrnprakxbdwysifa hmaythungthxngfa aelasiehluxng hmaythungsithxngkhxngrwngkhawsaliinpraethsni sidngklawnimikhwamekiywkhxngkbchawyuekhrnmaepnrayaewlanantngaetkxncamikarnasasnakhristekhamainyuekhrn odypraktwainsmyobranidmithrrmeniyminkartkaetngnganphithikarinthxngthindwysithngsxng ephuxaethnkhwamhmaykhxngnaaelaif 4 insmyxanackrekhiyfrus siehluxngaelasifayngkhngepnsithiidrbkhwamniymodythwip txmasidngklawnikidichepnthngkhxngrachrthhalich owlhiemiy Halych Volhynia inchwngkhriststwrrsthi 13 aela 14 rahwangkhriststwrrsthi 16 18 kxngthharkhxsaeskhidichthngsitang epnsylksnxyangaephrhlay xathi siehluxng fa siaedng da siaedngeluxdhmu ekhiywmakxk odyechphaa thngkhxnglwif aela ihlich rahwangsukaehngkrunwxld thngehluxng fa aelathngaedng dakhxngehlathharkhxsaeskh inngancitrkrrm Reply of the Zaporozhian Cossacks odyxiliya erphin Ilya Repin kh s 1880 1891 smyexkrachrahwang kh s 1917 1920 aekikh phaphthngehluxng fainopsetxrsmysatharnrthprachachnyuekhrn bi chiphphikh B Shippikh ekhiyf kh s 1917 thngsiehluxng fa trasamngam thngpracakxngthphkaliesiyyuekhrn kh s 1918thngchatiyuekhrnsmytang xanackrhalich owlhiemiy Halych Volhynia aekhwnkhxsaeskhehtement Cossack Hetmanate satharnrthprachachnyuekhrn kh s 1917 1918 5 satharnrthprachachnyuekhrn thngnawi kh s 1917 1921 rthyuekhrn kh s 1918 satharnrthchatiniymyuekhrntawntk kh s 1918 1919 kharparot yuekhrn minakhm kh s 1939 rthbalechphaakalyuekhrn mithunayn knyayn kh s 1941 satharnrthsngkhmniymosewiytyuekhrn kh s 1919 1929 satharnrthsngkhmniymosewiytyuekhrn kh s 1929 1937 satharnrthsngkhmniymosewiytyuekhrn kh s 1937 1949 satharnrthsngkhmniymosewiytyuekhrn kh s 1949 1992 praethsyuekhrn tngaet 24 singhakhm kh s 1992 hlngkarptiwtirsesiyinpi kh s 1917 chawyuekhrnidichthngthngsifa ehluxng aela siehluxng fa epnsylksninkartxsuephuxxisrphaphrahwangpi kh s 1917 1920pccubnniyngimmiaehlngkhxmulthiechuxthuxidrabuwamikarprakasichthngchatiyuekhrnxyangepnthangkarodysatharnrthprachachnyuekhrnrahwangpi kh s 1917 1918 khxmulbangaehngidxangwasphaswnklangkhxngsatharnrthprachachnyuekhrn Tsentralna Rada idprakasihthngehluxng faepnthngchatiyuekhrnemuxwnthi 22 minakhm kh s 1918 6 aetaehlngkhxmulxikaehngrabuwaimmiimmisaenaexksarkhxngkarprakasdngklaw 7 hlkthanthiaetktangxxkipxikaehngidxangthungthngkhxngkxngkalngthangerixsungichthngphunsifaxxn ehluxng 8 epnkarrabuwathngchatiyuekhrnxyangepnthangkarinewlannichsifaxxn ehluxngdwyechn 9 thngxyangepnthangkarkhxngsatharnrthchatiniymyuekhrntawntk aela rthyuekhrnphayitkarpkkhrxngkhxngphaobl sokorphadski ichthngsifa ehluxng txmaklayepnothnsifaxxn ehluxnginsmykhxngkhnaiderkthxriphayitkarnakhxngesemn ephthlura Semen Petlura inbrrdaxngkhkrkhxngphuxphyphchawyuekhrnnnidmikarsnbsnunihichthngthngsifa ehluxng aela thngsiehluxng fa epnekhruxnghmaykhxngphwktn inthisudcungmikaryxmrbihichthngsifaxxn ehluxng epnsylksnkhxngyuekhrncnkrathngidmikarprakasyxmrbcakrthbalyuekhrninyukhnnxyangepnthangkar rthexkrachrahwangsngkhramolkkhrngthi 2 aekikh dubthkhwamhlkthi kharparoth yuekhrn aela rthbalechphaakalyuekhrn swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidphayitkarpkkhrxngkhxngshphaphosewiyt aekikh dubthkhwamhlkthi thngchatisatharnrthsngkhmniymosewiytyuekhrn nbtngaet kh s 1920 yuekhrntkxyuinkhwampkkhrxngkhxngshphaphosewiytphayitchuxsatharnrthsngkhmniymosewiytyuekhrn thngkhxngyuekhrninyukhnicungmilksnathikhlaykhlungkbthngchatikhxngsatharnrthosewiytaehngxuninekhruxshphaphosewiytechnkn klawkhuxichthngaedngepnsylksn thiphunthngtxnmumbndankhnthngmixksrsirillikyxnampraeths sungmikarepliynaeplngxyuepnraya USRR rahwang kh s 1919 1929 aela URSR rahwang kh s 1929 1947 inpi kh s 1937 cungidmikarephimsylksnrupkhxnekhiywiwehnuxxksryxnampraethsdwyinpi kh s 1947 satharnrthosewiyttang idmikaraekikhthngchatikhxngtnexngihmthnghmdephuxihekidkhwamaetktangknxyangchdecn odyyuekhrnidepliynthngepnthngaedngrupsiehliymphunpha kwang 1 swn yaw 2 swn mirupkhxnekhiywaeladawaedng txnlangaebngepnaethbaenwnxnsifa kwang 1 in 3 khxngkhwamkwangthngodyrwm karklbkhunsthanathngchatikhxngthngfa ehluxng aekikh cakxiththiphlkhxngnoybayklasnxst epersthrxyka khxngprathanathibdimikhaxil kxrbachxf sungdaeninmaepnewlahlaypiinchwngplaykhristthswrrsthi 1980 thaihbrrdasatharnrthosewiyttang phayitkhwampkkhrxngkhxngshphaphosewiytekidkhwamrusukchatiniymxyangaerngkla cnkrathngnaipsukarlmslaykhxngshphaphosewiytinpi kh s 1991 ehtukarnehlanithaihrthinkhaysmuthrbxlkhan 3 rth ltewiy lithweniy exsoteniy aelayuekhrntawntk sungepndinaednthithukphnwkekhaepnswnhnungkhxngshphaphosewiythlngsudekidkhwamkngwl brrdaaekhwndngklawcungrwmknphyayamfunfuexasylksnpracachatiinxditklbmaichxikkhrnghnung odyinpi kh s 1988 sphaosewiytsungsudkhxngsatharnrthsngkhmniymosewiytlithweniyidepliyntraaephndincakediminsmyosewiytepntrathiekhyichinsmykxnkarpkkhrxngkhxngshphaphosewiytepnaehngaerk rthsphakhxngltewiyaelaexsoteniykidthakarxyangediywknkbsphalithweniyepnladbthdmainewlaimnannksingthiekidkhundngklawimchakidchknaihekidkrabwnkarxyangediywkninyuekhrndwy odyechphaaxyangyinginyuekhrntawntkaelainekhiyf emuxnghlwngkhxngsatharnrthsngkhmniymosewiytyuekhrn idekidkaredinkhbwnthangkaremuxngepnraya odyphuchumnumidmikarchuthngsifa ehluxngkhunepnsylksninkarchumnumehtukarntang inyuekhrnidekidkhunodyladbdngtxipni 20 minakhm kh s 1990 sphapracaemuxngetiyronpil Ternopil idmikarlngmtiihfunfukarichthngsifa ehluxng trasamngam tryzub aelaephlngchatiyuekhrnsungmichuxwa Shche ne vmerla Ukrainy inwnediywknnnthngsifa ehluxngkidchkkhunehnuxxakharkhxngrthbalinekhiyfaethnthngkhxngsatharnrthsngkhmniymosewiytyuekhrnepnkhrngaerk28 emsayn kh s 1990 sphacnghwdlwifidxnumtiihmikarichsylksnpracachatixyangihmphayincnghwd29 emsayn kh s 1990 thngsifa ehluxngthukchkkhunehnuxxakharornglakhrinemuxngetiyronpilodyimmikarchkthngkhxngshphaphosewiytehnuxthngdngklaw24 krkdakhm kh s 1990 idmikarchkthngfa ehluxngxyangepnthangkarkhrngaerkehnuxxakharsphaekhiyf thictursimdan ensaelsnxsti Maidan Nezalezhnosti square thnnekhrschatikh Khreschatyk street hlngkarprakasexkrachkhxngyuekhrninwnthi 24 singhakhm kh s 1991 thngchatiyuekhrnsifa ehluxngkidchkkhuninthanathngchatirthexkrachkhrngaerkemuxwnthi 4 knyayn kh s 1991 thixakharrthsphakhxngpraethsyuekhrnxangxing aekikh Volker Preuss Ukraine subkhnemux 2002 12 30 eyxrmn 2 0 2 1 2 2 vexilla mundi subkhnemux 2007 03 13 Constitution of Ukraine Geraldika ru Flag Ukrainy Abbott Peter Eugene Pinak Oleksiy Rudenko 2004 Ukrainian Armies 1914 55 Osprey Publishing pp 9 13 ISBN 9781841766683 subkhnemux 2009 03 01 State Symbols of Ukraine Cabinet of Ministers of Ukraine website http web archive org 20050228081927 vexillography narod ru ukraine unr htm Ukrainian Historical Journal 1999 4 ISSN 0130 S247 Ukrayinske vijsko u HH HHI storichchiduephim aekikhthnginpraethsyuekhrn traaephndinkhxngyuekhrn thngchatisatharnrthsngkhmniymosewiytyuekhrn sech en wemxrla xuekhrniaehlngkhxmulxun aekikhkhxmmxns miphaphaelasuxekiywkb thngchatiyuekhrnthngchatiyuekhrn thi Flags of the World xngkvs thnginpraethsyuekhrn Vexillographia thngrachkarkxngthphinyuekhrnekhathungcak https th wikipedia org w index php title thngchatiyuekhrn amp oldid 9362785, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม