fbpx
วิกิพีเดีย

ธรรมจักรสูตร

ในสารบบของพระไตรปิฎกภาษาจีน ปรากฏพระสูตรที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องหรือเหมือนกับธัมมจักกัปปวัตนสูตรอยู่เป็นจำนวนมาก มีทั้งพากย์ภาษาสันสกฤตและภาษาจีน เนื้อหามีส่วนเกี่ยวข้องทั้งหมด หรือเป็นเพียงส่วนหนึ่ง ส่วนใหญ่แล้วมักอ้างถึงพระสูตรในหมวดอาคมะ หรือหมวดอาคม ซึ่งเป็นการรวบรวมพระสูตรฝ่ายเถรวาทไว้ แต่ก็ปรากฏในพระสูตรมหายานหมวดอื่นๆ เช่นกัน แต่โดยรวมแล้วเมื่อจะเอ่ยถึงธัมมจักกัปปวัตนสูตรในพระไตรปิฎกภาษาจีนจะใช้คำว่า 转法轮经

พระสูตร/คัมภีร์ที่เกี่ยวข้อง

ในที่นี้เป็นพระสูตรต่างๆ ในพระไตรปิฎกภาษาจีนที่มีความเกี่ยวข้องกับธัมมจักกัปปวัตนสูตร บางส่วนเป็นภาษาสันสกฤต และอยู่นอกสารบบ บางส่วนปรากฏในพระไตรปิฎกภาษาทิเบต ดังนี้ เช่น

  1. 漢譯《雜阿含經》卷15第379經 , 說一切有部本
  2. 漢譯《增壹阿含經》卷14第24品5經
  3. 安世高譯《佛說轉法輪經》
  4. 義淨譯《三轉法輪經》 , 說一切有部本
  5. 《普曜經》卷7「拘隣等品」
  6. 《方廣大莊嚴經》卷11「轉法輪品」
  7. 《過去現在因果經》卷3
  8. 《佛本行集經》卷34
  9. 《摩訶帝經》卷7
  10. 《四分律》卷32 , 法藏部本
  11. 《五分律》卷15, 化地部 本
  12. 《十誦律》卷60 , 說一切有部本
  13. 《根本說一切有部毗奈耶雜事》卷19 , 根本說一切有部本
  14. 《根本說一切有部毘奈耶破僧事》卷6 , 根本說一切有部本
  15. 藏譯《普曜經》第二十六章「轉法輪」
  16. 《大事》(梵文:Mahāvastu),說出世部本
  17. 梵文《俱舍釋》
  18. 《法蘊足論》卷6 , 說一切有部本

ตัวอย่างพระสูตร

ในที่นี้เป็นตัวอย่างพระสูตรที่มีเนื้อหาตรงหรือใกล้เคียงกับธัมมจักกัปปวัตนสูตรพระสูตรหนึ่ง ที่ปรากฏในพระไตรปิฎกภาษาจีน คือ ธรรมจักรสูตร ซึ่งแปลเป็นฉบับย่อ อยู่ในหมวดเอโกตตราคม ของพระไตรปิฎกภาษาจีน ซึ่งหมวดเอโกตราคม หมายถึงอังคุตรนิกาย ของพระไตรปิฎกภาษาบาลี

พระสูตรนี้ในภาษาจีนเรียกอย่างไม่เป็นทางการว่า พรหมธรรม (非梵法) หรือพรหมจักร หรือธรรมจักรสูตร แปลโดยพระโคตมะ สังฆเทวะ พระภิกษุชาวกัษมีร์ เป็นพระสูตรย่อยๆ รวมกันในเอโกตตรคมจำนวนกว่า 471 สูตร (ธรรมจักรสูตรอยู่ในหมวดเอโกตตราคมสูตร - 增壹阿含經 - ที่ 125 ลำดับที่ 19.2 ของสารบบไตรปิฎกฉบับไทโช) พระสูตรนี้แปลขึ้นที่ภูเขาหลูซาน ในสมัยราชวงศ์ตงจิ้น ในปีแรกแห่งรัชสมัยหลงอัน หรือเมื่อปีค.ศ. 397 มีเนื้อหากระชับ

คาดว่าพระโคตมะ สังฆเทวะ แปลอย่างรวบรัด ทั้งยังใช้ศัพท์แสงของลัทธิเต๋าอธิบายหลักธรรม เพื่อหวังจะเร่งประกาศพระศาสนาในช่วงแรกเผยแผ่ในประเทศจีน และเพื่อให้ชาวจีนเข้าถึงพุทธรรมได้ง่ายขึ้น คาดว่าแปลย่อมาจากตถาคตสูตร ในสังยุตตนิกาย มหาวารวรรค ของพระสุตตันตปิฎก ทั้งนี้ ต่อมาได้มีการแปลอย่างละเอียดขึ้น เรียกว่าพระสูตรฝอซัวจ่วนฝ่าหลุนจิง (佛說轉法輪經) แปลว่า พุทธองค์ทรงปรารภธรรมจักรปรวารตนะสูตร ซึ่งสัมยุกตคม หมายถึงสังยุตนิกาย ของพระไตรปิฎกภาษาบาลี

ที่พระสูตรนี้เรียกว่า พรหมธรรม หรือพรหมจักร เพราะอ้างอิงไปถึงเมื่อครั้งที่พระพุทธเจ้าเพิ่งตรัสรู้ ทรงมีปริวิตกว่าพระธรรมนั้นลึกซึ้งเกินกว่าสรรพสัตว์จะเข้าใจได้ จึงน้อมพระทัยไปในทางดับขันธปรินิพพานเสีย ร้อนถึงท้าวสหัมบดีพรหมต้องกล่าวคำทูลอารธนาให้ทรงแสดงธรรมเพื่อประโยชน์แก่สัตว์โลกทั้งมวล พระองค์ทรงรับอาราธนา แล้วเสด็จไปโปรดปัญจวัคคีย์ โดยแสดงพระธรรมจักรสูตรนี้ ด้วยเหตุนี้ พรหมธรรม หรือพรหมจักร จึงเป็นอีกนามหนึ่งของธัมมจักกัปปวัตนสูตร

เนื้อหา

ดังที่ข้าพเจ้าได้สดับมา ครั้งหนึ่ง พระโลกนาถ ประทับอยู่ที่เมืองวาราณสี ณ ป่าฤษิปตนะมฤคทวะ ทรงตรัสกับภิกษุทั้งหลายว่า

ดูกรภิกษุทั้งหลาย มีการประพฤติ (วฤตฺติ) 2 ประการที่ผู้ออกบวชแสวงหาความหลุดพ้น พึงหลีกเลี่ยง พฤติทั้ง 2 ประการนั้นเป็นดังฤๅ? พฤติการนั้นคือ การแสวงหาความสุขทางกามคุณแบบสุดโต่ง อันเป็นสิ่งต่ำช้า เป็นสิ่งทราม และหาประโยชน์มิได้ อีกประการหนึ่ง คือ การทรมานตนอย่างสุดโต่ง (ปิฑัน) การเบียดเบียนทั้งหลาย (วิหิงสัน) และจิตอันฟุ้งซ่าน เหล่านี้คือการประพฤติ ซึ่งผู้ออกบวชแสวงหาความหลุดพ้นพึงหลีกเลี่ยง ตถาคตได้สละแล้วซึ่งการประพฤติทั้ง 2 ประการนี้ จึงได้ตรัสรู้พระอริยสัจจ์ บรรลุพระอนุตรสัมมาสัมโพธิญาน ดังนี้ญานจึงบังเกิด ปัญญาจึงบังเกิด อภิญญา (อภิชญา) จึงบังเกิด จิตจึงสงบรำงับ เราบรรลุแล้วซึ่งอิทธิ (ฤทธิ) แล้วเข้าถึงซึ่งพระนิรวาณ ไม่หวนกลับมาเกิดอีก

ภิกษุทั้งหลาย อารยะมรรคอันเป็นหลักปฏิบัติอันเป็นทางสายกลาง ซึ่งเป็นไปเพื่อความสงบกิเลส เพื่อความรู้ยิ่ง เพื่อปัญญาอันยิ่ง เพื่อความดับกิเลสและกองทุกข์ คืออัษฏังคิมรรคมีองค์ 8 อันได้แก่ สัมยักทฤษฏิ (อธิกะทัศนะ), สัมยักสังกัลปะ (ปติการ), สัมยักวาก, สัมยักการมันตะ, สัมยักอัคชีวะ สัมยักวยายามะ (อุปายะเกาศัลยะ), สัมยักสมฤติ และสัมยักสมาธิ นี่แลเรียกว่า อารยะมรรค

เมื่อตถาคตตรัสรู้แล้ว เกิดความรู้แจ้ง เกิดปัญญา เราได้บรรลุซึ่งอิทธิทั้งปวง ความหลุดพ้นของเราไม่มีการกลับกำเริบอีกแล้ว คือได้เข้าสู่พระนิรวาณ ภิกษุทั้งหลาย ด้วยประการฉะนี้ พึงหลีกเลี่ยงทางอันสุดโต่งทั้ง 2 นั้นเสีย แล้วปฏิบัติตามาอารยะมรรค

หลังจากสดับพระธรรมเทศนาดังนี้แล้วภิกษุทั้งหลายบังเกิดปราโมทยินดี แล้วปฏิบัติตามคำสั่งสอนของสมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า

อ้างอิง

  1. 《雜阿含經》卷第十五//大正新脩大藏經 第二冊 No. 99. 求那跋陀羅譯. 中華電子佛典協會
  2. 《雜阿含經》卷第十五//大正新脩大藏經 第二冊 No. 99. 求那跋陀羅譯. 中華電子佛典協會
  3. 《增壹阿含經》卷十四//大正新脩大藏經 第二冊 No. 125. 僧伽提婆譯. 中華電子佛典協會.
  4. 增壹阿含24品5經(高幢品). 莊春江標點.
  5. 《佛說轉法輪經》//大正新脩大藏經 第二冊 No. 109. 安世高譯. 中華電子佛典協會.
  6. 佛說轉法輪經. 维基文库.
  7. 《三轉法輪經》//大正新脩大藏經 第二冊 No. 110. 義淨譯. 中華電子佛典協會.
  8. 《普曜經》卷第七 拘隣等品第二十四//大正新脩大藏經 第三冊 No. 186. 竺法護譯. 中華電子佛典協會.
  9. 《方廣大莊嚴經》卷第十一 轉法輪品//大正新脩大藏經 第三冊 No. 187. 地婆訶羅譯. 中華電子佛典協會.
  10. 《過去現在因果經》卷3//大正新脩大藏經 第3冊No.189. 求那跋陀羅譯. 中華電子佛典協會.
  11. 《佛本行集經》第三十四//大正新脩大藏經 第三冊 No. 190. 闍那崛多譯. 中華電子佛典協會.
  12. 《眾許摩訶帝經》卷7//大正新脩大藏經 第三冊 No. 191. 法賢譯. 中華電子佛典協會.
  13. 《四分律》卷第三十二(二分之十一)//大正新脩大藏經 第二十二冊 No. 1428. 佛陀耶舍、竺佛念等譯. 中華電子佛典協會.
  14. 《彌沙塞部和醯五分律》卷第十五//大正新脩大藏經 第二十二冊 No. 1421. 佛陀什、竺道生等譯. 中華電子佛典協會.
  15. 《十誦律》卷第六十//大正新脩大藏經 第二十三冊 No. 1435. 卑摩羅叉譯. 中華電子佛典協會.
  16. 《根本說一切有部毗奈耶雜事》第19卷//大正藏第24冊 No.1451. 義淨譯. 中華電子佛典協會.
  17. 《根本說一切有部毘奈耶破僧事》卷第六//大正新脩大藏經 第二十四冊 No. 1450. 義淨譯. 中華電子佛典協會.
  18. A Play in Full: Lalitavistara [普曜經]. translated by the Dharmachakra Translation Committee. 2013.(英文) 此譯本從藏文譯成英文,並以梵本校對。第二十六章「轉法輪」
  19. 大目乾連造. 《阿毘達磨法蘊足論》卷六//大正新脩大藏經 第二十六冊 No. 1537. 玄奘譯. 中華電子佛典協會.
  20. 《增壹阿含經 》ใน Descriptive catalogue of Taisho Index http://www.acmuller.net/descriptive_catalogue/files/k0649.html
  21. 《增壹阿含經 》ใน Descriptive catalogue of Taisho Index http://www.acmuller.net/descriptive_catalogue/files/k0649.html
  22. 《梵輪》 จาก http://dictionary.buddhistdoor.com/word/55880/%E6%A2%B5%E8%BC%AA
  23. 《Two Extremes》 ใน ekottarikāgama 19.2 จาก http://suttacentral.net/en/ea19.2
  24. 《非梵法》 ใน 增壹阿含經 จาก http://www.cbeta.org/result/T02/T02n0125.htm

ธรรมจ, กรส, ตร, ในสารบบของพระไตรป, ฎกภาษาจ, ปรากฏพระส, ตรท, เน, อหาเก, ยวข, องหร, อเหม, อนก, บธ, มมจ, กก, ปปว, ตนส, ตรอย, เป, นจำนวนมาก, งพากย, ภาษาส, นสกฤตและภาษาจ, เน, อหาม, วนเก, ยวข, องท, งหมด, หร, อเป, นเพ, ยงส, วนหน, วนใหญ, แล, วม, กอ, างถ, งพระส, ตรในหม. insarbbkhxngphraitrpidkphasacin praktphrasutrthimienuxhaekiywkhxnghruxehmuxnkbthmmckkppwtnsutrxyuepncanwnmak mithngphakyphasasnskvtaelaphasacin enuxhamiswnekiywkhxngthnghmd hruxepnephiyngswnhnung swnihyaelwmkxangthungphrasutrinhmwdxakhma hruxhmwdxakhm sungepnkarrwbrwmphrasutrfayethrwathiw aetkpraktinphrasutrmhayanhmwdxun echnkn aetodyrwmaelwemuxcaexythungthmmckkppwtnsutrinphraitrpidkphasacincaichkhawa 转法轮经 1 enuxha 1 phrasutr khmphirthiekiywkhxng 2 twxyangphrasutr 3 enuxha 4 xangxingphrasutr khmphirthiekiywkhxng aekikhinthiniepnphrasutrtang inphraitrpidkphasacinthimikhwamekiywkhxngkbthmmckkppwtnsutr bangswnepnphasasnskvt aelaxyunxksarbb bangswnpraktinphraitrpidkphasathiebt dngni echn 漢譯 雜阿含經 卷15第379經 2 說一切有部本 漢譯 增壹阿含經 卷14第24品5經 3 4 安世高譯 佛說轉法輪經 5 6 義淨譯 三轉法輪經 7 說一切有部本 普曜經 卷7 拘隣等品 8 方廣大莊嚴經 卷11 轉法輪品 9 過去現在因果經 卷3 10 佛本行集經 卷34 11 摩訶帝經 卷7 12 四分律 卷32 13 法藏部本 五分律 卷15 化地部 14 本 十誦律 卷60 15 說一切有部本 根本說一切有部毗奈耶雜事 卷19 16 根本說一切有部本 根本說一切有部毘奈耶破僧事 卷6 17 根本說一切有部本 藏譯 普曜經 第二十六章 轉法輪 18 大事 梵文 Mahavastu 說出世部本 梵文 俱舍釋 法蘊足論 卷6 19 說一切有部本twxyangphrasutr aekikhinthiniepntwxyangphrasutrthimienuxhatrnghruxiklekhiyngkbthmmckkppwtnsutrphrasutrhnung thipraktinphraitrpidkphasacin khux thrrmckrsutr sungaeplepnchbbyx xyuinhmwdexokttrakhm khxngphraitrpidkphasacin sunghmwdexoktrakhm hmaythungxngkhutrnikay khxngphraitrpidkphasabali 20 phrasutrniinphasacineriykxyangimepnthangkarwa phrhmthrrm 非梵法 hruxphrhmckr hruxthrrmckrsutr aeplodyphraokhtma sngkhethwa phraphiksuchawksmir epnphrasutryxy rwmkninexokttrkhmcanwnkwa 471 sutr thrrmckrsutrxyuinhmwdexokttrakhmsutr 增壹阿含經 thi 125 ladbthi 19 2 khxngsarbbitrpidkchbbithoch phrasutrniaeplkhunthiphuekhahlusan insmyrachwngstngcin inpiaerkaehngrchsmyhlngxn hruxemuxpikh s 397 mienuxhakrachb 21 khadwaphraokhtma sngkhethwa aeplxyangrwbrd thngyngichsphthaesngkhxnglththietaxthibayhlkthrrm ephuxhwngcaerngprakasphrasasnainchwngaerkephyaephinpraethscin aelaephuxihchawcinekhathungphuththrrmidngaykhun khadwaaeplyxmacaktthakhtsutr insngyuttnikay mhawarwrrkh khxngphrasuttntpidk thngni txmaidmikaraeplxyanglaexiydkhun eriykwaphrasutrfxswcwnfahluncing 佛說轉法輪經 aeplwa phuththxngkhthrngprarphthrrmckrprwartnasutr sungsmyuktkhm hmaythungsngyutnikay khxngphraitrpidkphasabalithiphrasutrnieriykwa phrhmthrrm hruxphrhmckr ephraaxangxingipthungemuxkhrngthiphraphuththecaephingtrsru thrngmipriwitkwaphrathrrmnnluksungekinkwasrrphstwcaekhaicid cungnxmphrathyipinthangdbkhnthpriniphphanesiy rxnthungthawshmbdiphrhmtxngklawkhathulxarthnaihthrngaesdngthrrmephuxpraoychnaekstwolkthngmwl phraxngkhthrngrbxarathna aelwesdcipoprdpycwkhkhiy odyaesdngphrathrrmckrsutrni dwyehtuni phrhmthrrm hruxphrhmckr cungepnxiknamhnungkhxngthmmckkppwtnsutr 22 enuxha aekikhdngthikhaphecaidsdbma khrnghnung phraolknath prathbxyuthiemuxngwaransi n pavsiptnamvkhthwa thrngtrskbphiksuthnghlaywadukrphiksuthnghlay mikarpraphvti wvt ti 2 prakarthiphuxxkbwchaeswnghakhwamhludphn phunghlikeliyng phvtithng 2 prakarnnepndngvi phvtikarnnkhux karaeswnghakhwamsukhthangkamkhunaebbsudotng xnepnsingtacha epnsingthram aelahapraoychnmiid xikprakarhnung khux karthrmantnxyangsudotng pithn karebiydebiynthnghlay wihingsn aelacitxnfungsan ehlanikhuxkarpraphvti sungphuxxkbwchaeswnghakhwamhludphnphunghlikeliyng tthakhtidslaaelwsungkarpraphvtithng 2 prakarni cungidtrsruphraxriyscc brrluphraxnutrsmmasmophthiyan dngniyancungbngekid pyyacungbngekid xphiyya xphichya cungbngekid citcungsngbrangb erabrrluaelwsungxiththi vththi aelwekhathungsungphranirwan imhwnklbmaekidxikphiksuthnghlay xaryamrrkhxnepnhlkptibtixnepnthangsayklang sungepnipephuxkhwamsngbkiels ephuxkhwamruying ephuxpyyaxnying ephuxkhwamdbkielsaelakxngthukkh khuxxstngkhimrrkhmixngkh 8 xnidaek smykthvsti xthikathsna smyksngklpa ptikar smykwak smykkarmnta smykxkhchiwa smykwyayama xupayaekaslya smyksmvti aelasmyksmathi niaeleriykwa xaryamrrkhemuxtthakhttrsruaelw ekidkhwamruaecng ekidpyya eraidbrrlusungxiththithngpwng khwamhludphnkhxngeraimmikarklbkaeribxikaelw khuxidekhasuphranirwan phiksuthnghlay dwyprakarchani phunghlikeliyngthangxnsudotngthng 2 nnesiy aelwptibtitamaxaryamrrkhhlngcaksdbphrathrrmethsnadngniaelwphiksuthnghlaybngekidpraomthyindi aelwptibtitamkhasngsxnkhxngsmedcphraphumiphraphakheca 23 24 xangxing aekikh 雜阿含經 卷第十五 大正新脩大藏經 第二冊 No 99 求那跋陀羅譯 中華電子佛典協會 雜阿含經 卷第十五 大正新脩大藏經 第二冊 No 99 求那跋陀羅譯 中華電子佛典協會 增壹阿含經 卷十四 大正新脩大藏經 第二冊 No 125 僧伽提婆譯 中華電子佛典協會 增壹阿含24品5經 高幢品 莊春江標點 佛說轉法輪經 大正新脩大藏經 第二冊 No 109 安世高譯 中華電子佛典協會 佛說轉法輪經 维基文库 三轉法輪經 大正新脩大藏經 第二冊 No 110 義淨譯 中華電子佛典協會 普曜經 卷第七 拘隣等品第二十四 大正新脩大藏經 第三冊 No 186 竺法護譯 中華電子佛典協會 方廣大莊嚴經 卷第十一 轉法輪品 大正新脩大藏經 第三冊 No 187 地婆訶羅譯 中華電子佛典協會 過去現在因果經 卷3 大正新脩大藏經 第3冊No 189 求那跋陀羅譯 中華電子佛典協會 佛本行集經 第三十四 大正新脩大藏經 第三冊 No 190 闍那崛多譯 中華電子佛典協會 眾許摩訶帝經 卷7 大正新脩大藏經 第三冊 No 191 法賢譯 中華電子佛典協會 四分律 卷第三十二 二分之十一 大正新脩大藏經 第二十二冊 No 1428 佛陀耶舍 竺佛念等譯 中華電子佛典協會 彌沙塞部和醯五分律 卷第十五 大正新脩大藏經 第二十二冊 No 1421 佛陀什 竺道生等譯 中華電子佛典協會 十誦律 卷第六十 大正新脩大藏經 第二十三冊 No 1435 卑摩羅叉譯 中華電子佛典協會 根本說一切有部毗奈耶雜事 第19卷 大正藏第24冊 No 1451 義淨譯 中華電子佛典協會 根本說一切有部毘奈耶破僧事 卷第六 大正新脩大藏經 第二十四冊 No 1450 義淨譯 中華電子佛典協會 A Play in Full Lalitavistara 普曜經 translated by the Dharmachakra Translation Committee 2013 英文 此譯本從藏文譯成英文 並以梵本校對 第二十六章 轉法輪 大目乾連造 阿毘達磨法蘊足論 卷六 大正新脩大藏經 第二十六冊 No 1537 玄奘譯 中華電子佛典協會 增壹阿含經 in Descriptive catalogue of Taisho Index http www acmuller net descriptive catalogue files k0649 html 增壹阿含經 in Descriptive catalogue of Taisho Index http www acmuller net descriptive catalogue files k0649 html 梵輪 cak http dictionary buddhistdoor com word 55880 E6 A2 B5 E8 BC AA Two Extremes in ekottarikagama 19 2 cak http suttacentral net en ea19 2 非梵法 in 增壹阿含經 cak http www cbeta org result T02 T02n0125 htmekhathungcak https th wikipedia org w index php title thrrmckrsutr amp oldid 5567255, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม