fbpx
วิกิพีเดีย

นะฮ์ญุลบะลาเฆาะฮ์

นะฮ์ญุลบะลาเฆาะฮ์ (อาหรับ: نَهْج ٱلْبَلَاغَة‎) คือตำราที่รวบรวมธรรมเทศนา สาสน์และสุนทโรวาทสั้น ๆ จากท่านอิมามอาลี อิบนิ อะบีฏอลิบ (อฺ) โดยการรวบรวมของท่านซัยยิด รอฎี ในศตวรรษที่ ๔ ของฮิจเราะฮฺศักราช เนื่องจากความสนใจที่ท่านมีไปยังสำนวนโวหารที่ไพเราะของท่านอิมามอาลี (อฺ) ในจดหมายและธรรมเทศนา ซึ่งได้มีการแปลตำราฉบับดังกล่าวออกมาเป็นหลายภาษา

โครงสร้าง

วจนะของท่านอิมามอาลี (อฺ) ถูกนำเสนอในหนังสือเล่มนี้โดยแบ่งออกเป็นสามภาค ภาคที่ ๑ ธรรมเทศนา
ภาคที่ ๒ สาสน์ และคำสั่งเสีย
ภาคที่ ๓ สุนทโรวาท

นะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺถูกแปลเป็นหลายภาษา

ภาษาเปอร์เซีย

นะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺมีต้นฉบับเป็นภาษาอาหรับและได้ถูกแปลเป็นภาษาเปอร์เซีย อาทิการแปลโดย ซัยยิดญะอฺฟัร ชะฮีดี อาลี นะกี เฟฎุลอิสลาม / ญะวาด ฟาฎิล / มุฮัมหมัดตะกี ญะอฺฟะรี / ซัยยิดมุฮัมหมัด มะฮฺดี ญะอฺฟะรี / ฮูเซนอาลี มุนฏาซิรี / ฮูเซน อันศอรี / มุฮัมหมัด ดัชตี / มุศฏอฟา ซะมานี / อาลี อัศฆัร ฟะกีฮี / นะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺโดยอาลี ตะวักกุลี ฆุนาบาดี คือนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺฉบับภาษาเปอร์เซียที่มีความสำคัญมากที่สุด

ภาษารัสเซีย

นะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺฉบับภาษารัสเซียแปลโดย อับดุลกะรีม ตารัสชาร์นินโก

ภาษาจอร์เจีย 

อิมามกุลี นักเขียน นักแปลชาวจอร์เจีย-อิหร่าน ซึ่งเป็นผู้ที่แปลอัล-กุรอานเป็นภาษาจอร์เจีย ได้ทำการแปลนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺเป็นภาษาจอร์เจียเป็นครั้งแรกภาษาไทย แปลถอดความโดย นายประเสิรฐ และ คณะ

อรรถาธิบายนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ

ท่านอัลลามะฮฺ อามีนี ได้แนะนำหนังสืออรรถาธิบายนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ ในหนังสือฆอดีรเล่มที่สี่ถึง ๘๑ เล่ม อาทิ หนังสืออรรถาธิบายที่โด่งดังที่สุดคือคำอรรถาธิบายของอิบนิอาบีฮะดีดจากสำนัก มุอฺตะซีละฮฺ / อรรถาธิบายของ อิบนิมัยซัม บะฮฺรอนี / อรรถาธิบายจากท่านอยาตุลลอฮฺ คูอีจากอุลามาแห่งยุคสมัย / แปลและอรรถาธิบายซึ่งเป็นผลงานจากท่านเชคมุฮัมหมัด ตะกี ญะอฺฟะรี และ อรรถาธิบายนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺโดยท่านเชคมุฮัมหมัด ตะกี ชุชตะรี

หลักฐานการรายงานนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ

ผู้ที่ได้ทำการรวบรวมสุนทโรวาท เป็นคนแรกคือ “อาลี อะบูอุซมาน อัมร อิบนิ บะฮฺร ญาฮิซ เจ้าของหนังสือ (บะยาน และ ติบยาน) เสียชีวิตเมื่อปี ๒๕๕ (ฮ.ศ) เขาได้เลือก ๑๐ ธรรมเทศนาจากทั้งหมดและได้ตั้งชายาว่า “ คำที่ผู้เรียกร้อง ร้องขอจากท่านอามีริล มุอฺมินีน อาลีอิบนิ อะบีฏอลิบ”

สายรางานฮาดิษ และ นักบันทึกประวัติศาสตร์ท่านอื่นได้เริ่มต้นทำการรวบรวมธรรมเทศนาของท่านอิมามอาลี (อฺ) เช่นเดียวกัน อาทิ กอฎีมุฮัมหมัด อิบนิ ซะลามะ โด่งดังในนาม กอฎออี เสียชีวิตเมื่อ ปี๔๐๕ (ฮ.ศ) ได้รวบรวมสุนทโรวาทของท่านอิมามอาลี (อฺ) ในนาม «دستور معالم الحکم و مأثور مکارم الشیم» ซึ่งถูกแปลเป็นภาษาเปอร์เซียโดยมีชื่อว่า “กฎหมาย” และ ยังมีคำกล่าวของท่านอิมามอาลี(อฺ)อีกมากมายที่ถูกเรียบเรียงในตำรา “ อัลฆอรอต ” โดย อะบุลอิสฮาก ษะกอฟี กูฟี จากนักวิชาการศตวรรษที่?? (เสียชีวิตเมื่อปี ๒๓๘ ฮ.ศ) เช่นเดียวกัน ส่วนใหญ่ของคำสั่งสอนที่เกี่ยวข้องกับเตาฮีดถูกบันทึกไว้ในตำราสำคัญ ๆ ต่าง ๆ ก่อนการรวบรวมนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺเป็นเวลาหนึ่งศตวรรษ เช่นตำราอัลกาฟีจากท่านเชค กุลัยนี และ ตำรา อัตเตาฮีดจากท่าน เชค ศอดูก อาลี อิบนิ ฮูเซน มัสอูดี นักบันทึกประวัติศาสตร์ผู้ยิ่งใหญ่ที่ดำรงชีวิตอยู่ก่อนหน้าซัยยิดรอฎีเป็นเวลามากกว่าหนึ่งปีได้บันทึกในตำราที่โด่งดังของเขา “ มุเราวิจ อัซซะฮัด ” เล่มสองว่า “ สิ่งที่ประชาชนนำมาใช้จดจำในชีวิตของตนจากคำสั่งสอนของท่านอาลี (อฺ) มีจำนวนมากกว่า ๔๘๐ ธรรมเทศนา ซึ่งท่านอาลีได้กล่าวทั้งหมดโดยไม่มีความจำเป็นต่อการบันทึกล่วงหน้า และประชาชนจะคอยจดจำและนำมาปฏิบัติซึ่งเป็นคำสั่งสอนที่มีคุณค่ายิ่งนัก ” จากการยืนยันของบรรดานักวิชาการท่านอื่น ๆ เกี่ยวกับจำนวนธรรมโวหารของท่านอิมามอาลี (อฺ) มีมากกว่านี้แต่ท่านซัยยิดรอฎีได้เลือกเพียง ๒๓๙ บทเท่านั้น ซึ่งเป็นบทที่มีคุณลักษณะและธรรมเทศนาที่พิเศษมากที่สุด มีการค้นคว้าเกี่ยวกับหลักฐาน และสายรายงานตำรานะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺอย่างกว้างขว้างซึ่งที่สำคัญที่สุดคือสามตำราที่ถูกเรียบเรียงโดย มุฮัมหมัด ดัชตี ในหนังสือ “ รุวาต วะ มุฮัดดะษีน นะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ ” หนังสือ “ อัซนาด นะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ ” โดย อาลีคอน อารัช และหนังสือ “ มะศอดิร นะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ ” โดย ซัยยิด อับดุซซะฮฺรอ ฮูซัยนี และ ถอดความภาษาเปอร์เซีย โดยท่าน อยาตุลลอฮฺชีรอซี



คำสรรเสริญเยินยอนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ

นักวิชาการผู้ยิ่งใหญ่จากชาวอาหรับหลายท่าน อาทิ อับดุลฮามีด กาติบ ( ศตวรรษที่ 2 ) ญาฮิซ ( ศตวรรษที่ 3 ) กิดอมะ อิบนิญะอฺฟัร ( ศตวรรษที่ 4 ) อิบนิ อะบี ฮะดีด ( ศตวรรษที่ 6 ) คอลีล อิบนิอะฮฺหมัด ฟะรอฮีดี ( ศตวรรษที่ 8 )ได้ทำการสรรเสริญโวหารที่อยู่ในนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ อาทิ ท่านญาฮิซ ได้กล่าวในตำราของตน “ อัลบะยาน วัต ตับยีน ” ( ซึ่งตำราของเขาถูกนับให้เป็นหนึ่งจากสี่ตำราไวยากรณ์อาหรับที่มีความสำคัญมากที่สุดโดยอิบนิคอลดูน )โดยหยิบยกคำกล่าวจากท่านอิมามอาลี (อฺ) และกล่าวว่า “ หากมีเพียงประโยคนี้มาถึงเราเพียงประโยคเดียว ก็เพียงพอแล้วสำหรับพวกเราที่จะยืนยันว่าคำกล่าวของท่านอาลี (อฺ) มีความไพเราะและสำนวนโวหารที่สูงส่งที่สุด”

อาลี อัลญุนดีผู้อำนวยการมหาวิทยาลัย กอฮิร ได้เขียนเกี่ยวกับสำนวนโวหารที่อิมามอาลี (อฺ) มีในนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ ว่า

มีท่วงทำนองที่ลึกซึ้ง ซึ่งสามารถสัมผัสได้เมื่อได้ยินถ้อยคำดังกล่าวถึงขั้นที่สามารถเรียกได้ว่านั้นคือบทกวี

George Jordac นักเขียนชาวคริสเตียนได้เขียนหนังสือหลายเล่มเกี่ยวกับนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ และได้กล่าวว่า “ ภายหลังจากอาลีแล้วฉันไม่พบเห็นผู้ใดที่คู่ควรต่อการกล่าวถึงอีกต่อไป เพราะเป็นเช่นนี้ฉันจึงไม่ได้เขียนถึงผู้ใดอีกนอกเหนือจากอาลี ”

มุฮัมมัด อับดุฮ์ คือนักการศาสนาชาวอียิปต์ เป็นหนึ่งจากผู้ที่ได้ทำการอรรถาธิบายนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺให้เยาวชนชาวอียิปต์ ซึ่งท่านได้กล่าวในบทนำของตนว่า “ในหมู่ชาวอาหรับทุกคนมีความเชื่อว่าภายหลังจากคัมภีร์ อัล-กุรอานและวจนะของท่านศาสดา (ศ็อลฯ) สุนทโรวาทของอาลี (อฺ) มีสำนวนโวหารที่ไพเราะมากที่สุด

ธรรมเทศนา

- ธรรมเทศนาบทที่๑ “ การสร้างชั้นฟ้าและแผ่นดิน และนบีอาดัม (อฺ) ”

- ธรรมเทศนาบทที่๒ “ ภายหลังสงคราม ซิฟฟีน ” - ธรรมเทศนาบทที่๓ โด่งดังในนาม “ ชักชะกียะ ” - ธรรมเทศนาบทที่๔ “ ภายหลังการถูกสังหารของฏอลฮะ และ ซุเบร” - ธรรมเทศนาบทที่๕ “ ธรรมเทศนาต่ออับบาส และ อบูซุฟยานภายหลังการจากไปของท่านศาสดา(ศ็อลฯ)”

- ธรรมเทศนาบทที่๖ “ เมื่อมีคำขอให้ยุติการตาม ฏอลฮะ และ ซุเบร” - ธรรมเทศนาบทที่ ๗ “ ตำหนิผู้ตามแนวทางของชัยฏอน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๘ “ เรียกซุเบรกลับมาทำการให้สัตยาบัน” - ธรรมเทศนาบทที่ ๙ “ เกี่ยวกับคุณลักษณะของตน และ เหล่าศัตรูในสงครามญะมัล ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๐ “ บทบาทของชัยฏอนในการการยุแหย่ชาวสงครามญะมัล และ ผลการกระทำของพวกเขา ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๑ “ เมื่อมอบธงให้แก่บุตรชายของตน มุฮัมหมัด ฮานะฟี ในสงครามญะมัล ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๒ “ เมื่อได้รับชัยชนะในสงครามญะมัล ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๓ “ ในการสรรเสริญเมืองและชาวบัศเราะฮฺภายหลังสงครามญะมัล ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๔ “ เมืองบัศเราะฮฺและชาวบัศเราะฮฺ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๕ “ เรียกคืนทรัพย์สิน บัยตุลมาล ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๖ “ เมื่อมีการมอบสัตยาบันต่อท่าน ณ มะดีนะฮฺ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๗ “ กล่าวถึงผู้มีหน้าที่ตัดสินในหมู่ประชาชน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๘ “ ในการตำหนิความขัดแย้งด้านทัศนะของเหล่าผู้รู้ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๙ “ กล่าวต่อ อัชอัษ อิบนิ เกษ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๐ “ เรียกร้องการตื่นตัว และ สนใจไปยังพระเจ้า ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๑ “ การให้ความสำคัญต่อวันกิยามะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๒ “ เมื่อท่านได้รับข่าวการละเมิดสัตยาบันของชาวสงครามญะมัล ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๓ “ เพื่อปลอบประโลมจิตใจของผู้ยากไร้และเทศนาผู้ร่ำรวย ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๔ “ สู้รบกับเหล่าศัตรู ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๕ “ เมื่อท่านได้รับข่าวการบุกรุกของมุอาวียะฮฺไปยังเมือง  - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๖ “ สาธยายสภาพของผู้โง่เขล่าและ ยุคแห่งการนิ่งเงียบของตน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๗ “ ในการตำหนิผู้ไม่เข้าร่วมในการญิฮาด ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๘ “ ความไม่จีรังยั่งยืนของดุนยาและการให้ความสำคัญต่ออาคิเราะฮฺ 

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๙ “ ภายหลังการตัดสิน และการจู่โจม ของฎิฮาก อิบนิเกษ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๓๐ “เกี่ยวการถูกสังหารของอุษมาน”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๓๑ “ ก่อนสงครามญะมัล ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๓๒ “ ตำหนิยุคสมัยของตน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๓๓ “ เมื่อท่านออกสงครามกับชาวบัศเราะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๓๔ “ ปลุกระดมเพื่อสู้รบกับชาวชาม ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๓๕ “ ภายหลังเหตุการณ์ ฮากีมียัต ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๓๖ “ เพื่อตักเตือน ชาวนะฮฺรอวาน” - ธรรมเทศนาบทที่ ๓๗ “ บรรยายถึงคุณลักษณะของตน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๓๘ “ นิยามการสร้าง ชุบฮะฮฺ (ข้อสงสัย) ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๓๙ “ ตำหนิ สาวกและเชิญชวนสู่การทำญิฮาด ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๔๐ “ เมื่อได้ยินชาว คอวาริจญฺพูดว่า ไม่มีการตัดสินใดนอกจากการตัดสินของพระองค์ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๔๑ “ ห้ามปรามการฉ้อฉล และ หลอกลวง ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๔๒ “ การตำหนิการคาดหวังอันยาวนานและการทำตามอารมณ์ ใฝ่ต่ำของตนเอง ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๔๓ “ เมื่อท่านส่ง ญะรีร อิบนิ อับดุลลอฮฺไปยังมุอาวียะฮฺเพื่อให้มุอาวียะฮฺทำการให้สัตยาบัน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๔๔ “ เมื่อ มุศลาเกาะฮฺ อิบนิ ฮุไบเราะฮฺ ชัยบานี หนีไปหามุอาวียะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๔๕ “ในวันอีดฟิฏรฺ และ การตำหนิดุนยา ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๔๖ “ เมื่อท่านตัดสินใจที่จะเดินทางไปยังเมืองชาม ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๔๗ “ เกี่ยวกับเมืองกูฟะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๔๘ “ เมื่อออกเดินทางไปยังเมืองชาม ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๔๙ “ ความเอกะของพระองค์ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๕๐ “ อธิบายเรื่องฟิตนะฮฺ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๕๑ “ เมื่อกองทัพของมุอาวียะฮฺปิดทางน้ำต่อท่านและสาวกในสงครามซิฟฟีน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๕๒ “ ความไม่ซื่อตรงของดุนยา ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๕๓ “ เกี่ยวกับเรื่อง บัยอัต (การมอบสัตยาบัน) ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๕๔ “ เมื่อสาวกของท่านมองว่าท่านได้เลื่อนเวลาในการอนุญาตเริ่มสงครามซิฟฟีนออกไป ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๕๕ “ เปรียบสาวกของตนและสาวกของท่านศาสดา (ศ็อล ฯ) ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๕๖ “ เกี่ยวกับคุณลักษณะของมุอาวียะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๕๗ “ กล่าวถึงกลุ่ม คอวาริจญฺในสงคราม นะฮฺรอวาน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๕๙ “ เมื่อบรรดาคอวาริจญฺถูกสังหาร ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๖๐ “ เกี่ยวกับกลุ่มคอวาริจญฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๖๑ “ เมื่อท่านถูกขู่ว่าจะถูกสังหาร  - ธรรมเทศนาบทที่ ๖๒ “ ในการตำหนิดุนยา ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๖๓ “ ในการชมเชยการกระทำที่ศอลิฮฺ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๖๔ “ เกี่ยวกับความเอกะของพระเจ้า ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๖๕ “ หลักเกณฑ์ของสงคราม ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๖๖ “ เกี่ยวกับอันศอร ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๖๗ “ เมื่อมอบอียิปต์ให้มุฮัมหมัด อิบนิ อะบีบักรฺเป็นผู้ดูแล ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๖๘ “ ตำหนิสาวกผู้ไม่ทำตามสัญญาของตน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๖๙ “ เมื่อเช้าของวันที่ท่านถูกฟันศีรษะ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๗๐ “ในการตำหนิชาวอิรัก ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๗๑ “ สั่งสอนการสรรเสริญท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๗๒ “ ณ เมืองบัศเราะฮฺเกี่ยวกับ มัรวาน อิบนิ ฮากัม ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๗๓ “ เมื่อสภาคอลีฟะฮฺต้องการให้สัตยาบันต่ออุษมาน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๗๔ “ เมื่อท่านได้รับข่าวว่า บนีอุมัยยะฮฺ กล่าวหาว่าท่านเป็นผู้สังหารอุษมาน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๗๕ “ในการชมเชยการกระทำที่ศอลิฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๗๖ “ เมื่อซะอีด อิบนิ อาศ ได้ทำการลิดรอนสิทธิของท่าน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๗๗ “ เกี่ยวกับบทวิงวอนของท่าน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๗๘ “ เมื่อท่านเดินไปสู่พวกคอวาริจญฺ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๗๙ “ ตำหนิบรรดาสตรีภายหลังจากสงคราม ญะมัล ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๘๐ “ เกี่ยวกับความยำเกรงต่อพระองค์ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๘๑ “ เกี่ยวกับคุณลักษณะของดุนยา ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๘๒ “ ธรรมเทศนาที่พิเศษในนาม “ฆอรอร” ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๘๓ “ เกี่ยว กับอัมรุ อาศ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๘๔ “ เกี่ยวกับคุณลักษณะของพระเจ้า ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๘๕ “ เกี่ยวกับความเอกะของพระเจ้า และเชิญชวนสู่ความยำเกรง และ การปรึกษาหารือ

- ธรรมเทศนาบทที่ ๘๖ “ เกี่ยวกับคุณลักษณะของผู้ยำเกรง และ ผู้กระทำบาป และตำแหน่งของลูกหลานนบี ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๘๗ “ อธิบายความพินาศของมนุษย์ ” - ธรรมเทศนาบทที่๘๘ “ สภาพของประชาชนก่อนและหลังการแต่งตั้งศาสดา (ศ็อลฯ) ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๘๙ “ ความเป็นเอกะของพระเจ้า และคำสั่งสอน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๙๐ โด่งดังในนาม “ คุฏบะฮ์ อิชบาฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๙๑ “ เมื่อประชาชนขอให้สัตยาบันแก่ท่านภายหลังอุษมานถูกสังหาร ”

- ธรรมเทศนาบทที่๙๒ “ เกี่ยวกับความประเสริฐและความรู้ของตน และแจ้งแผนการร้ายของบนีอุมัยยะฮฺ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๙๓ “ ความประเสริฐของท่านศาสดา (ศ็อลฯ) และคำสั่งสอน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๙๔ “ สภาพของประชาชนในยุคสมัยการแต่งตั้งศาสดา (ศ็อลฯ) ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๙๕ “ เกี่ยวกับท่านศาสดาอิสลาม(ศ็อลฯ) ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๙๖ “ ในการเปรียบเทียบสาวกของท่านกับสาวกของท่านศาสดา(ศ็อลฯ) ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๙๗ “ การกดขี่ของบนีอุมัยยะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๙๘ “ ห่างไกลจากเรื่องดุนยา ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๙๙ “ เกี่ยวกับท่านศาสดาและลูกหลานของท่าน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๐๐ “ แจ้งข่าวจากเหตุการณ์ร้าย ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๐๑ “ เกี่ยวกับความยากลำบาก ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๐๒ “ เชิญชวนสู่ความยำเกรง ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๐๓ “ เกี่ยวกับท่านศาสดา (ศ็อล ฯ) และความประเสริฐของท่าน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๐๔ “ เกี่ยวกับคุณลักษณะของท่านศาสดา (ศ็อลฯ) และคำข่มขู่ ของบนีอุมัยยะฮฺและคำสั่งสอนประชาชน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๐๕ “ ความสูงส่งของอิสลาม คุณลักษณะของท่านศาสดา (ศ็อล ฯ) และการตักเตือนสาวกของท่าน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๐๖ “ วันหนึ่งในสงครามซิฟฟีน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๐๗ “ ทำนายเหตุการณ์ล่วงหน้า ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๐๘ “ เกี่ยวกับพลังอำนาจของพระเจ้า ความตาย และ วันสิ้นโลก ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๐๙ “ การขอความช่วยจากพระองค์ผู้ทรงยิ่งใหญ่ และมหาบริสุทธิ์ยิ่งโดยบรรดาผู้ขอความช่วยเหลือ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๑๐ “ ในการตำหนิดุนยา ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๑๑ “ เกี่ยวกับมาลาอิกะฮฺแห่งความตายและการกระชากวิญญาณ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๑๒ “ ในการตำหนิดุนยา ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๑๓ “ คำสั่งสอนประชาชน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๑๔ “ การขอฝน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๑๕ “ คำสั่งสอนสาวกของท่าน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๑๖ “ ผู้ตระหนี่ในทรัพย์สินและชีวิตของตน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๑๗ “ เกี่ยวสาวกผู้เหมาะสมของท่าน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๑๘ “ เมื่อท่านรวบรวมประชาชนและเชิญชวนให้พวกเขาทำญิฮาด ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๑๙ “ เกี่ยวกับคุณลักษณะของตนและคำสั่งสอนต่อสาวก ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๒๐ “ ภายหลังค่ำคืน ฮะรีร ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๒๑ “ กล่าวต่อบรรดาคอวาริจญฺ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๒๒ “ กล่าวต่อสาวกของท่านในสงครามซิฟฟีน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๒๓ “ เกี่ยวการหลบหนีของสาวก ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๒๔ “ เชิญชวนสาวกของท่านในการทำญิฮาด ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๒๕ “ เกี่ยวกับกลุ่มคอวาริจญฺเมื่อพวกเขาปฏิเสธการตัดสิน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๒๖ “ เมื่อมีคนถามจากท่านถึงสาเหตุที่แบ่งทรัพย์สินของบัยตุลมาลโดยเท่าเทียมกัน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๒๗ “ กล่าวถึงคอวาริจญฺ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๒๘ “แจ้งแผนการและเหตุการณ์ร้ายที่เกิดขึ้นกับเมืองบัศเราะฮฺ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๒๙ “ เกี่ยวกับ ถ้วยตวง และตาชั่ง ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๓๐ “ กล่าวถึง อบูซัร เมื่อถูกเนรเทศ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๓๑ “ ปรัชญาในการยอมรับการปกครองและคุณลักษณะของอิมามที่แท้จริง ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๓๒ “ คำสั่งสอน และ การเชิญชวนสู่การรำลึกถึงความตาย ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๓๓ “ เกี่ยวกับความยิ่งใหญ่ของพระเจ้า อัลกุรอาน ศาสดา และ ความสัมพันธ์กับดุนยา ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๓๔ “ กล่าวถึง อุมัร อิบนิ คอฏฏอบ เมื่อเขาปรึกษากับท่านเกี่ยวสงครามกับโรมัน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๓๕ “ มีการถกเถียงระหว่างท่านและอุษมาน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๓๖ “ เกี่ยวกับการให้สัตยาบันของตน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๓๗ “ เกี่ยวกับ ฏอลฮะ และ ซุเบร ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๓๘ “ เกี่ยวกับฟิตนะฮฺต่าง ๆ และการปกครองของอิมามมะฮฺดีในยุคสุดท้าย ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๓๙ “ กล่าวถึงสภาคอลีฟะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๔๐ “ ห้ามปรามจากการนินทาประชาชน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๔๑ “ ห้ามปรามจากการนินทา ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๔๒ “ เกี่ยวกับการทำดีต่อผู้อื่น ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๔๓ “ เรียกร้องหาสาวก ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๔๔ “ เกี่ยวกับการแต่งตั้งของศาสดา (ศ็อลฯ) และความประเสริฐของลูกหลานของท่าน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๔๕ “ ในความไม่จีรังของดุนยาและตำหนิการบิดอะฮฺ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๔๖ “ ในการให้คำปรึกษาต่อ อุมัร อิบนิ คอฏฏอบ เมื่อจะทำสางครามกับอิหร่าน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๔๗ “ ปรัชญาในการแต่งตั้งศาสดา (ศ็อลฯ) และเหตุการณ์ในอนาคต และคำสั่งสอน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๔๘ “ เกี่ยวกับชาวบัศเราะฮฺ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๔๙ “ ก่อนการเสียชีวิต ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๕๐ “ เกี่ยวกับฟิตนะฮฺต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๕๑ “ การตักเตือนในฟิตนะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๕๒ “ คุณลักษณะของพระองค์ และผู้นำศาสนา ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๕๓ “ ความประเสริฐของลูกหลานศาสดา (ศ็อลฯ) ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๕๔ “ ความมหัศจรรย์ในการสร้างค้างคาว ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๕๕ “แจ้งเหตุการณ์ร้ายที่จะเกิดขึ้นในเมืองบัศเราะฮฺแก่ชาวบัศเราะฮฺ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๕๖ “ เชิญชวนสู่ความยำเกรง ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๕๗ “ เกี่ยวกับท่านศาสดา (ศ็อลฯ) อัลกุรอาน และ การปกครองของบนีอุมัยยะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๕๘ “ การมีมารยาทที่ดีต่อประชาชน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๕๙ “ เกี่ยวกับความเอกะของพระเจ้า และ เรื่องราวของนบีบางท่าน ” - ธรรมเทศนาบทที่๑๖๐ “ เกี่ยวคุณลักษณะของท่านศาสดา(ศ็อลฯ)และลูกหลานของท่าน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๖๑ “ ตอบคำถามของสาวกท่านหนึ่ง ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๖๒ “ เกี่ยวกับความเอกะของพระเจ้า ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๖๓ “ เมื่อประชาชนร้องเรียนถึงการกระทำที่ไม่ดีของอุษมาน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๖๔ “ ความมหัศจรรย์ในการสร้างนกยูง ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๖๕ “ คำสั่งให้มีความรักต่อกัน คุณลักษณะของบนีอุมัยยะฮฺและสาวก ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๖๖ “ เริ่มการปกครองของท่าน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๖๗ “ ภายหลังการให้สัตยาบันต่อท่าน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๖๘ “ เมื่อชาวญะมัลไปยังเมืองบัศเราะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๖๙ “ เมื่อท่านใกล้ถึงเมืองบัศเราะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๗๐ “ เมื่อท่านตัดสินใจที่จะทำการสู้รบกับกองทัพของมุอาวียะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๗๑ “ เกี่ยวกับสิทธิของท่าน และ การตำหนิชาวญะมัล ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๗๒ “ กล่าวถึงผู้ที่เหมาะสมในการปกครอง และเชิญชวนสู่ความยำเกรงต่อพระเจ้าและห่างไกลจากเรื่องดุนยา ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๗๓ “ เกี่ยวกับฏอลฮะ อิบนิ อุบัยดิลละฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๗๔ “ เกี่ยวกับคำสั่งสอน และ กล่าวถึงความใกล้ชิดของท่านที่มีต่อท่านศาสดา(ศ็อล ฯ) ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๗๕ “ คำสั่งสอน ความประเสริฐของอัลกุรอาน และห้ามปรามจากบิดอะฮฺ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๗๖ “ เกี่ยวกับการตัดสิน”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๗๗ “ เกี่ยวกับเตาฮีด และ ความยำเกรงต่อพระองค์ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๗๘ “ไขข้อสงสัยของ ซิกลิบ ยะมานี เกี่ยวกับการพบเห็นพระองค์ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๗๙ “ ตำหนิศอฮาบะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๘๐ “ เกี่ยวกับบุคคลที่ต้องการจะเข้าร่วมกับคอวาริจญฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่๑๘๑ “ เกี่ยวความเอกะของพระองค์และการรำลึกถึงบรรดาชะฮีดในสงครามซิฟฟีน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๘๒ “ พลังอำนาจของพระองค์และความประเสิรฐของอัลกุรอาน และเชิญชวนไปสู่ความยำเกรง ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๘๓ “ กล่าวถึง บุรจฺ อิบนิ มุสฮิร ฏออี ซึ่งเป็นหนึ่งในคอวาริจญฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๘๔ “ กล่าวต่อ ฮัมมามเกี่ยวกับผู้ยำเกรง ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๘๕ “ เกี่ยวกับบรรดาผู้กลับกลอก ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๘๖ “ สรรเสริญพระเจ้าและศาสดา(ศ็อลฯ) และคำสั่งสอน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๘๗ “ เกี่ยวกับการแต่งตั้งศาสดา (ศ็อลฯ) และการห่างไกลจากเรื่องดุนยา ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๘๘ “ เกี่ยวกับความใกล้ชิดของท่านต่อท่านศาสดา(ศ็อลฯ) ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๘๙ “ เกี่ยวกับความยำเกรงต่อพระเจ้า คุณลักษณะของอิสลามและท่านศาสดา(ศ็อลฯ) ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๙๐ “ คำสั่งเสียต่อสาวกของท่าน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๙๑ “ เกี่ยวกับมุอาวียะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๙๒ “ เกี่ยวกับการยืนหยัดในหนทางของสัจธรรม ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๙๓ “ กล่าวถึงเหตุการณ์ขณะฝังท่านหญิงฟาฏิมะฮฺ (ซ) ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๙๔ “ ห่างไกลจากเรื่องดุนยา ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๑๙๕ “ คำสั่งสอนที่มีในวาระต่าง ๆ ต่อสาวกของท่าน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๙๖ “ ภายหลังการให้สัตยาบันของฏอลฮะ และ ซุเบร ท่านอิมามได้กล่าวต่อพวกเขาว่า ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๙๗ “ เมื่อท่านได้ยินว่าบรรดาสาวกได้ว่าร้ายชาวเมืองชามในสงครามซิฟฟีน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๙๘ “ เกี่ยวกับบุตรชายของท่าน อิมามฮาซัน (อฺ) ในสงครามซิฟฟีน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๑๙๙ “ เมื่อบรรดาสาวกของท่านขัดแย้งกับท่านภายหลังการตัดสิน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๐๐ “ เมื่อท่านไปเยี่ยม อะลาอิบนิ ซียาด ฮาริษี ในเมืองบัศเราะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๐๑ “ เมื่อมีผู้คนถามท่านเกี่ยวกับการรายงานและวจนะจอมปลอมและขัดแย้ง ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๐๒ “ พลังอำนาจของพระเจ้าและการสร้างโลก ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๐๓ “ ปลุกระดมสาวกของตนในการสู้รบกับชาวเมืองชาม ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๐๔ “ สรรเสริญพระองค์ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๐๕ “ คุณลักษณะของศาสดา (ศ็อลฯ) และ บรรดาคำสั่งสอน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๐๖ “ การวิงวอน ของท่านต่อพระเจ้า ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๐๗ “ ธรรมเทศนา ณ สงครามซิฟฟีน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๗๘ “ตัดพ้อต่อว่าหล่ากุเรช” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๐๙ “ ธรรมเทศนาในสงครามญะมัลเมื่อท่านผ่านร่างไร้วิญญาณของฏอลฮะ และ อับดุรเราะฮฺมาน อิบนิ อะตาบ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๑๐ “ คุณลักษณะของผู้ขัดเกล่าจิตวิญญาณของตน ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๑๑ “ เชิญชวนสาวกสู่การทำญิฮาด ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๑๒ “ ภายหลังการอ่านโองการ الهیکم التکاثر حتی زرتم المقابر

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๑๓ “ เมื่อท่านอ่านโองการ رجال لا تلهیهم تجارة و لا بیع عن ذکر الله

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๑๔ “ เมื่อท่านอ่านโองการ یا ایها الانسان ما غرک بربک الکریم

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๑๕ “ เกี่ยวกับการรังเกียจการกดขี่ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๑๖ “ เกี่ยวกับการร้องขอปัจจัยยังชีพที่มากมาย ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๑๗ “ ห่างไกลจากเรื่องดุนยา ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๑๘ “ คุณลักษณะของผู้ที่รักพระเจ้า ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๑๙ “ เกี่ยวกับหนึ่งในบรรดาผู้ปกครอง ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๒๐ “ บรรยายการให้สัตยาบันของประชาชนต่อท่านในฐานะคอลีฟะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๒๑ “ เกี่ยวกับความยำเกรง และ ความพยายามในการปฏิบัติดี ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๒๒ “ ณ ซีกอรเมื่อท่านเดินทางไปยังบัศเราะฮฺ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๒๓ “ กล่าวต่อ อับดุลลอฮฺ อิบนิ ซัมอะฮฺ ซึ่งเป็นชีอะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๒๔ “ เกี่ยวกับความประเสริฐของบรรดา อะฮฺลุลบัยตฺ และการตำหนิประชาชนยุคสมัยของตน ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๒๕ “เกี่ยวกับสาเหตุของความขัดแย้งระหว่างบุคลิกภายนอกและภายในจิตใจของมนุษย์ ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๒๖ “ เมื่อทำการฆุซุล และเตรียมการฝังท่านศาสดา(ศ็อลฯ) ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๒๗ “ สรรเสริญท่านศาสดา (ศ็อลฯ)และความมหัศจรรย์ของสิ่งถูกสร้าง ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๒๘ “ ความเอกะของพระเจ้า ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๒๙ “ แจ้งเหตุการณ์ร้ายที่เกิดขึ้น ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๓๐ “ เชิญชวนสู่ความยำเกรง และการรำลึกถึงความตาย ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๓๑ “ เกี่ยวกับความศรัทธา และการฮิจเราะฮฺ ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๓๒ “ สรรเสริญพระเจ้า และเชิญชวนสู่ความยำเกรง ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๓๓ “ สรรเสริญพระเจ้า และ เชิญชวนสู่ความยำเกรง ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๓๔ “ ธรรมเทศนาในนาม กอศิอะฮฺ เกี่ยวกับการสาปแช่งอิบลิส ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๓๕ “ กล่าวต่อ อับดุลลอฮ อิบนิ อับบาส เมื่ออุษมานถูกประชาชนปิดล้อม ”

- ธรรมเทศนาบทที่ ๒๓๖ “ สภาพของตนภายหลังจากการฮิจเราะฮฺของท่านศาสดา (ศ็อลฯ)และเมื่อท่านเข้าร่วมกับการฮิจเราะฮฺของท่านศาสดา (ศ็อลฯ)ในภายหลัง ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๓๗ “ เชิญชวนสู่การปฏิบัติดี ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๓๘ “ เกี่ยวกับการตัดสิน และ ตำหนิชาวเมืองชาม ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๓๙ “ เกี่ยวกับความประเสริฐของลูกหลานท่านศาสดา(ศ็อล ฯ) ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๔๐ “ เกี่ยวกับความประเสริฐของลูกหลานท่านศาสดา(ศ็อลฯ) ” - ธรรมเทศนาบทที่ ๒๔๑ “ เกี่ยวกับการเชิญชวนสู่การทำญิฮาด ”


สาสน์

- สาสน์ที่ ๑ “ สาสน์จากอาลีถึงชาวกูฟะฮฺ เมื่อท่านออกเดินทางจากมาดีนะฮฺไปยังบัศเราะฮฺ ”

- สาสน์ที่ ๒ “ สาสน์จากอาลีถึงประชาชนชาวกูฟะฮฺภายหลังการยึดครองบัศเราะฮฺ ” - สาสน์ที่ ๓ “ สาสน์จากอาลีถึง ผู้พิพากษาของท่าน ชะริฮฺ อิบนิ ฮาริษ ”

- สาสน์ที่ ๔ “ สาสน์จากอาลีถึงแม้ทัพท่านหนึ่ง ”

- สาสน์ที่ ๕ “ สาสน์จากอาลีถึง อัชอาษ อิบนิ เกษ ” - สาสน์ที่ ๖ “ สาสน์จากอาลีถึงมุอาวียะฮฺ ”

- สาสน์ที่ ๗ “ สาสน์จากอาลีถึงมุอาวียะฮฺ ”

- สาสน์ที่ ๘ “ สาสน์จากอาลีถึงญะรีร อิบนิ อับดุลลอฮฺ อัลบะญะลี เมื่อท่านส่งเขาไปยังมุอาวียะฮฺ ” - สาสน์ที่ ๙ “ สาสน์จากอาลีถึงมุอาวียะฮฺ ” - สาสน์ที่ ๑๐ “ สาสน์จากอาลีถึงมุอาวียะฮฺ ” - สาสน์ที่ ๑๑ “ สาสน์จากอาลีเมื่อท่านส่งกองทัพไปยังศัตรู ” - สาสน์ที่ ๑๒ “ สาสน์จากอาลีถึงมะอฺกัลป์ อิบนิ เกส อัรริยาฮี เมื่อท่านส่งกองทัพสามพันคนไปยังชาม ” - สาสน์ที่ ๑๓ “ สาสน์จากอาลีถึงแม่ทัพสองท่าน ” - สาสน์ที่ ๑๔ “ สาสน์จากอาลีถึงกองทัพของท่านก่อนการเผชิญกับกองทัพมุอาวียะฮฺ ” - สาสน์ที่ ๑๕ “ สาสน์จากอาลีเมื่อเผชิญหน้ากับศัตรูในสงครามท่านจะกล่าวเช่นนี้ ”

- สาสน์ที่ ๑๖ “ สาสน์จากอาลีถึงสาวกของท่านในสงคราม ”

- สาสน์ที่ ๑๗ “ สาสน์จากอาลีเพื่อตอบโต้มุอาวียะฮฺ ” - สาสน์ที่ ๑๘ “ สาสน์จากอาลีถึงอิบนิ อับบาส ตัวแทนของท่านในบัศเราะฮฺ ” - สาสน์ที่ ๑๙ “ สาสน์จากอาลีถึงหนึ่งในตัวแทนของท่าน ” - สาสน์ที่ ๒๐ “ สาสน์จากอาลีถึงซิยาด อิบนิ อะบิฮฺ ” - ………


ธรรมเทศนา

สาสน์

บุคคลสำคัญในนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ

ท่านนบี อีซา(อฺ)

ใน นะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺ ได้กล่าวถึงคุณลักษณะของท่านนบีอีซา (อฺ) ว่าท่านใช้ชีวิตอย่างสมถะ และห่างไกลจากเรื่องดุนยา ในธรรมเทศนาบทที่ ๑๕๙ ท่านอิมามอาลี(อฺ)ได้กล่าวถึงท่านนบีอีซา (อฺ) ว่า

“ หากจะกล่าวถึงอีซาจงกล่าวว่าหมอนของท่านคือก้อนหิน และเสื้อผ้าของท่านมาจากผ้าที่มีความหยาบ ท่านจะไม่รับประทานอาหารที่มีรสชาติอร่อย และท่านจะกินเพียงขนมปังเท่านั้น แสงสว่างของท่านคือแสงจันทร์ และที่พักพิงของท่านในยามหนาวคือพื้นดิน ผักและผลไม้ของท่านคือสิ่งที่เจริญเติบโตขึ้นเพื่อสัตว์ ท่านไม่มีภรรยาเพื่อที่จะทำให้ท่านหลงรัก ไม่มีบุตรที่จะสร้างความโศกเศร้าแก่ท่าน ไม่มีทรัพย์สินที่จะทำให้ท่านหลงลืมโลกหน้า ไม่มีความโลภในสิ่งใดที่จะทำให้ท่านต้องตกต่ำ พาหนะของท่านคือสองเท้าของท่าน และผู้รับใช้ของท่านคือสองมือของท่าน”

ท่านนบีมูซา (อฺ)

ในนะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺได้กล่าวถึงท่านนบีมูซาบุตรของอิมรอนหลายต่อหลายครั้ง เมื่อท่านอิมามอาลี (อฺ) ต้องการจะยกแบบอย่างจากเรื่องราวต่าง ๆ ท่านจะกล่าวถึงนบีมูซา (อฺ) และธรรมเทศนาบทอื่นท่านได้ถือว่านบีมูซา (อฺ) คือแบบอย่างของมนุษย์ที่มีความสมบูรณ์แบบ

ธรรมเทศนาที่ ๔

ในบทธรรมเทศนาบทที่ ๔ ท่านอิมามอาลี (อฺ) ได้กล่าวถึงท่านนบีมูซา (อฺ) เพื่อเป็นตัวอย่างโดยกล่าวว่า “ ผู้ที่ไม่ได้ตามแนวทางของฉันคือผู้ที่ไม่ใช้ปัญญา เมื่อฉันได้พบเห็นสัจธรรม ฉันไม่เคยสงสัย คลางแคลงใจดัง (ไม่เคยเกรงกลัวต่อตัวตนเช่นเดียวกับ) มูซาที่ไม่เกรงกลัวตัวเอง แต่ความกังวลของฉันคือชัยชนะของการปกครองที่หลงทาง วันนี้เราทุกคนอยู่ระหว่างสองแยก สัจธรรม และ บาฏิลและแน่นอนว่าผู้ที่มั่นใจในการมีอยู่ของน้ำเขาจะไม่ยอมอยู่อย่างกระหาย

ธรรมเทศนาที่ ๑๕๙

ในธรรมเทศนาบทดังกล่าว ท่านอิมามอาลี (อฺ) ได้ทำการสรรเสริญท่านศาสดา(ศ็อลฯ) และบรรยายถึงความเป็นแบบอย่างของท่านโดยกล่าวว่า “ หากพวกท่านแสวงหาผู้เป็นแบบอย่างท่านที่สอง คือท่านนบีมูซา (อฺ) เมื่อท่านกล่าวว่า “ ข้าพเจ้ามีความจำเป็นต่อทุกสิ่งที่พระองค์ประทานจากความดีงามของพระองค์ ” ขอสาบานว่าเขาไม่เคยขอสิ่งใดจากพระองค์นอกจากขนมปังที่ท่านรับประทานเป็นอาหาร เพราะช่วงเวลาหนึ่งที่ท่านตกอยู่ในความยากลำบากจึงทำให้ท่านต้องกินพืชพันธ์แทนอาหารและท่านล้มลงเนื่องจากความผอมและอ่อนแรงของตน จนสามารถมองเห็นความเขียวของพืชพันธ์ในท้องของท่านได้”

ธรรมเทศนาบทที่ ๑๘๑

ในบทดังกล่าวได้กล่าวถึงการพูดคุยโดยตรงระหว่างพระองค์และท่านนบีมูซา (อฺ)ธรรมเทศนาบทที่ ๒๓๔ ในบทดังกล่าวท่านอิมามอาลี (อฺ) ได้กล่าวถึงการดำรงชีวิตอย่างเรียบง่ายของท่านนบีมูซา (อฺ) ต่อฟาโรห์ โดยกล่าวว่า “ มูซาบุตรของอิมรอน ได้เข้าพบฟาโรห์พร้อมกับพี่ชายของเขาในขณะที่พวกเขาสวมใส่เสื้อคลุมจากขนสัตว์และถือไม้เท้า ”

บางส่วนจากถ้อยคำของท่านอิมามอาลี (อฺ) ๓๑๗

اชาวยาฮูดีคนหนึ่งได้พูดต่อท่านอิมามอาลี (อฺ)ว่า “ พวกท่านบรรดามุสลิม ได้ขัดแย้งกันทั้งที่ยังไม่ได้ฝังศพศาสดาของท่านเอง ” ท่านอิมามอาลี (อฺ) กล่าวตอบเขาว่า “ เราได้ขัดแย้งกันในสิ่งที่เราได้รับแล้ว มิได้ขัดแย้งในตัวตนของท่านศาสดา(ศ็อลฯ) แต่พวกท่านชาวยะฮูดได้กล่าวต่อศาสดาของตนทั้งที่เท้าของพวกท่านยังไม่แห้งจากน้ำทะเลว่า “ จงน้ำเจว็ดที่หลากหลายมาสู่พวกเรา ” จึงทำให้ท่านนบีมูซา (อฺ) ได้ตอบกับพวกท่าน ว่า “พวกเจ้าคือประชาชาติที่โง่เขล่า”

เกี่ยวกับฏอลฮะ และ ซุเบร

ฏอลฮะ บุตรชายของ อุบัยดุลลอฮฺ หนึ่งจากสาวกของท่านนบี (ศ็อลฯ) ซึ่งท่านอิมามอาลี (อฺ) ได้กล่าวถึงเขาใน นะฮฺญุลบะลาเฆาะฮฺภายหลังสงครามญะมัลได้จบลงและฏอลฮะ กับซุเบรถูกสังหารว่า .

ธรรมนาบทที่ ๔

“ พวกท่านได้เข้าช่วยเหลือเราในวันที่มืดมน และได้รับตำแหน่งที่สูงส่ง และท่านได้หลุดออกจากค่ำคืนที่มืดมิด ช่างห่างไกลเสียเหลือเกินหูที่ไม่ยอมรับฟังคำตักเตือนและไม่ได้ยินเสียงใดเนื่องจากรับฟังเสียงที่ดังกว่า แล้วท่านจะได้ยินเสียงที่นิ่มนวลของฉันได้อย่างไรกัน? จงสงบเถิดหัวใจที่ไม่หยุดนิ่งเนื่องจากความเกรงกลัวต่อพระองค์ ฉันเฝ้ารอวันที่พวกท่านจะผิดสัญญาและเห็นแววตาที่หลอกลวงของพวกท่านมาตลอด เราได้หลับตาต่อความผิดพลาดของพวกท่านเนื่องจากพวกท่านอำพรางตนอยู่ภายใต้เสื้อคลุมแห่งศาสนาในขณะที่รัศมีจากหัวใจของฉันคอยเปิดเผยความคิดของพวกท่านมาโดยตลอด ฉันยืนอยู่เคียงข้างหนทางที่หลงผิดเพื่อจะชี้นำพวกท่านเข้าสู่แนวทางที่เที่ยงตรง เมื่อพวกท่านรวมตัวกันโดยไร้ผู้นำ และพากันขุดแสวงหาสายธารแห่งการชี้นำซึ่งพวกท่านไม่ได้พบเจอ ”

ท้ายกระดาษ

แม่แบบ:پانویس

  1. [1] 2020-02-10 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน اسلام پدیا - معرفی نهج البلاغه
  2. عبدالکریم تاراس چرنینکو پایگاه تخصصی نهج البلاغه
  3. پارس تودی، ترجمه نهج البلاغه به زبان گرجی در ایران
  4. الغدیر
  5. استناد نهج‌البلاغه
  6. قانون
  7. الغارات
  8. مرتضی مطهری، سیری در نهج البلاغه قابل دسترسی در اینجا 2010-06-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
  9. مرتضی مطهری، حکمتها و اندرزها قابل دسترسی در اینجا
  10. و اگر می‌خواهی درباره عیسی علیه السّلام بگو که سنگ را 2015-02-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน نهج‌البلاغه ترجمه حسین انصاریان
  11. . คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 2015-02-05. สืบค้นเมื่อ 2018-01-07.
  12. و اگر بخواهی شخص دومی را مقتدا قرار دهی این است موسی کلیم اللّه ـ که درود خدا بر او 2015-02-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน حسین انصاریان ترجمه نهج البلاغه
  13. خداوندی که با موسی سخن گفت، و از آیات عظیمه اش به او نمایاند 2015-02-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน حسین انصاریان ترجمه نهج البلاغه
  14. موسی بن عمران همراه برادرش هارون 2015-02-05 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน حسین انصاریان ترجمه نهج البلاغه
  15. بعضی از یهود گفتند 2014-11-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน حسین انصاریان ترجمه نهج البلاغه

นะฮ, ลบะลาเฆาะฮ, อาหร, ٱل, اغ, อตำราท, รวบรวมธรรมเทศนา, สาสน, และส, นทโรวาทส, จากท, านอ, มามอาล, บน, อะบ, ฏอล, โดยการรวบรวมของท, านซ, ยย, รอฎ, ในศตวรรษท, ของฮ, จเราะฮ, กราช, เน, องจากความสนใจท, านม, ไปย, งสำนวนโวหารท, ไพเราะของท, านอ, มามอาล, ในจดหมายและธรรมเท. nahyulbalaekhaah xahrb ن ه ج ٱل ب ل اغ ة khuxtarathirwbrwmthrrmethsna sasnaelasunthorwathsn cakthanximamxali xibni xabitxlib x odykarrwbrwmkhxngthansyyid rxdi instwrrsthi 4 khxnghiceraah skrach enuxngcakkhwamsnicthithanmiipyngsanwnowharthiipheraakhxngthanximamxali x incdhmayaelathrrmethsna sungidmikaraepltarachbbdngklawxxkmaepnhlayphasa 1 enuxha 1 okhrngsrang 2 nah yulbalaekhaah thukaeplepnhlayphasa 2 1 phasaepxresiy 2 2 phasarsesiy 2 3 phasacxreciy 3 xrrthathibaynah yulbalaekhaah 4 hlkthankarrayngannah yulbalaekhaah 5 khasrresriyeyinyxnah yulbalaekhaah 6 thrrmethsna 7 sasn 8 bukhkhlsakhyinnah yulbalaekhaah 8 1 thannbi xisa x 8 2 thannbimusa x 8 3 ekiywkbtxlha aela suebr 9 thaykradasokhrngsrang aekikhwcnakhxngthanximamxali x thuknaesnxinhnngsuxelmniodyaebngxxkepnsamphakh phakhthi 1 thrrmethsna phakhthi 2 sasn aelakhasngesiy phakhthi 3 sunthorwathnah yulbalaekhaah thukaeplepnhlayphasa aekikhphasaepxresiy aekikh nah yulbalaekhaah mitnchbbepnphasaxahrbaelaidthukaeplepnphasaepxresiy xathikaraeplody syyidyax fr chahidi xali naki efdulxislam yawad fadil muhmhmdtaki yax fari syyidmuhmhmd mah di yax fari huesnxali muntasiri huesn xnsxri muhmhmd dchti mustxfa samani xali xskhr fakihi nah yulbalaekhaah odyxali tawkkuli khunabadi khuxnah yulbalaekhaah chbbphasaepxresiythimikhwamsakhymakthisud phasarsesiy aekikh nah yulbalaekhaah chbbphasarsesiyaeplody xbdulkarim tarscharninok 2 phasacxreciy aekikh ximamkuli nkekhiyn nkaeplchawcxreciy xihran sungepnphuthiaeplxl kurxanepnphasacxreciy idthakaraeplnah yulbalaekhaah epnphasacxreciyepnkhrngaerk 3 phasaithy aeplthxdkhwamody naypraesirth aela khnaxrrthathibaynah yulbalaekhaah aekikhthanxllamah xamini idaenanahnngsuxxrrthathibaynah yulbalaekhaah inhnngsuxkhxdirelmthisithung 81 elm 4 xathi hnngsuxxrrthathibaythiodngdngthisudkhuxkhaxrrthathibaykhxngxibnixabihadidcaksank mux tasilah xrrthathibaykhxng xibnimysm bah rxni xrrthathibaycakthanxyatullxh khuxicakxulamaaehngyukhsmy aeplaelaxrrthathibaysungepnphlngancakthanechkhmuhmhmd taki yax fari aela xrrthathibaynah yulbalaekhaah odythanechkhmuhmhmd taki chuchtarihlkthankarrayngannah yulbalaekhaah aekikhphuthiidthakarrwbrwmsunthorwath epnkhnaerkkhux xali xabuxusman xmr xibni bah r yahis ecakhxnghnngsux bayan aela tibyan esiychiwitemuxpi 255 h s ekhaideluxk 10 thrrmethsnacakthnghmdaelaidtngchayawa khathiphueriykrxng rxngkhxcakthanxamiril mux minin xalixibni xabitxlib sayranganhadis aela nkbnthukprawtisastrthanxuniderimtnthakarrwbrwmthrrmethsnakhxngthanximamxali x echnediywkn xathi kxdimuhmhmd xibni salama odngdnginnam kxdxxi esiychiwitemux pi405 h s idrwbrwmsunthorwathkhxngthanximamxali x innam دستور معالم الحکم و مأثور مکارم الشیم sungthukaeplepnphasaepxresiyodymichuxwa kdhmay aela yngmikhaklawkhxngthanximamxali x xikmakmaythithukeriyberiyngintara xlkhxrxt ody xabulxishak sakxfi kufi caknkwichakarstwrrsthi esiychiwitemuxpi 238 h s echnediywkn swnihykhxngkhasngsxnthiekiywkhxngkbetahidthukbnthukiwintarasakhy tang kxnkarrwbrwmnah yulbalaekhaah epnewlahnungstwrrs echntaraxlkaficakthanechkh kulyni aela tara xtetahidcakthan echkh sxduk 5 xali xibni huesn msxudi nkbnthukprawtisastrphuyingihythidarngchiwitxyukxnhnasyyidrxdiepnewlamakkwahnungpiidbnthukintarathiodngdngkhxngekha muerawic xssahd elmsxngwa singthiprachachnnamaichcdcainchiwitkhxngtncakkhasngsxnkhxngthanxali x micanwnmakkwa 480 thrrmethsna sungthanxaliidklawthnghmdodyimmikhwamcaepntxkarbnthuklwnghna aelaprachachncakhxycdcaaelanamaptibtisungepnkhasngsxnthimikhunkhayingnk 6 cakkaryunynkhxngbrrdankwichakarthanxun ekiywkbcanwnthrrmowharkhxngthanximamxali x mimakkwaniaetthansyyidrxdiideluxkephiyng 239 bthethann sungepnbththimikhunlksnaaelathrrmethsnathiphiessmakthisud 7 mikarkhnkhwaekiywkbhlkthan aelasayrayngantaranah yulbalaekhaah xyangkwangkhwangsungthisakhythisudkhuxsamtarathithukeriyberiyngody muhmhmd dchti inhnngsux ruwat wa muhddasin nah yulbalaekhaah hnngsux xsnad nah yulbalaekhaah ody xalikhxn xarch aelahnngsux masxdir nah yulbalaekhaah ody syyid xbdussah rx husyni aela thxdkhwamphasaepxresiy odythan xyatullxh chirxsikhasrresriyeyinyxnah yulbalaekhaah aekikhnkwichakarphuyingihycakchawxahrbhlaythan xathi xbdulhamid katib stwrrsthi 2 yahis stwrrsthi 3 kidxma xibniyax fr stwrrsthi 4 xibni xabi hadid stwrrsthi 6 khxlil xibnixah hmd farxhidi stwrrsthi 8 idthakarsrresriyowharthixyuinnah yulbalaekhaah xathi thanyahis idklawintarakhxngtn xlbayan wt tbyin sungtarakhxngekhathuknbihepnhnungcaksitaraiwyakrnxahrbthimikhwamsakhymakthisudodyxibnikhxldun odyhyibykkhaklawcakthanximamxali x aelaklawwa hakmiephiyngpraoykhnimathungeraephiyngpraoykhediyw kephiyngphxaelwsahrbphwkerathicayunynwakhaklawkhxngthanxali x mikhwamipheraaaelasanwnowharthisungsngthisud xali xlyundiphuxanwykarmhawithyaly kxhir idekhiynekiywkbsanwnowharthiximamxali x miinnah yulbalaekhaah wamithwngthanxngthiluksung sungsamarthsmphsidemuxidyinthxykhadngklawthungkhnthisamartheriykidwannkhuxbthkwiGeorge Jordac nkekhiynchawkhrisetiynidekhiynhnngsuxhlayelmekiywkbnah yulbalaekhaah aelaidklawwa phayhlngcakxaliaelwchnimphbehnphuidthikhukhwrtxkarklawthungxiktxip ephraaepnechnnichncungimidekhiynthungphuidxiknxkehnuxcakxali muhmmd xbduh khuxnkkarsasnachawxiyipt epnhnungcakphuthiidthakarxrrthathibaynah yulbalaekhaah iheyawchnchawxiyipt sungthanidklawinbthnakhxngtnwa inhmuchawxahrbthukkhnmikhwamechuxwaphayhlngcakkhmphir xl kurxanaelawcnakhxngthansasda sxl sunthorwathkhxngxali x misanwnowharthiipheraamakthisud 8 9 thrrmethsna thrrmethsnabththi1 karsrangchnfaaelaaephndin aelanbixadm x thrrmethsnabththi2 phayhlngsngkhram siffin thrrmethsnabththi3 odngdnginnam chkchakiya thrrmethsnabththi4 phayhlngkarthuksngharkhxngtxlha aela suebr thrrmethsnabththi5 thrrmethsnatxxbbas aela xbusufyanphayhlngkarcakipkhxngthansasda sxl thrrmethsnabththi6 emuxmikhakhxihyutikartam txlha aela suebr thrrmethsnabththi 7 tahniphutamaenwthangkhxngchytxn thrrmethsnabththi 8 eriyksuebrklbmathakarihstyabn thrrmethsnabththi 9 ekiywkbkhunlksnakhxngtn aela ehlastruinsngkhramyaml thrrmethsnabththi 10 bthbathkhxngchytxninkarkaryuaehychawsngkhramyaml aela phlkarkrathakhxngphwkekha thrrmethsnabththi 11 emuxmxbthngihaekbutrchaykhxngtn muhmhmd hanafi insngkhramyaml thrrmethsnabththi 12 emuxidrbchychnainsngkhramyaml thrrmethsnabththi 13 inkarsrresriyemuxngaelachawbseraah phayhlngsngkhramyaml thrrmethsnabththi 14 emuxngbseraah aelachawbseraah thrrmethsnabththi 15 eriykkhunthrphysin bytulmal thrrmethsnabththi 16 emuxmikarmxbstyabntxthan n madinah thrrmethsnabththi 17 klawthungphumihnathitdsininhmuprachachn thrrmethsnabththi 18 inkartahnikhwamkhdaeyngdanthsnakhxngehlaphuru thrrmethsnabththi 19 klawtx xchxs xibni eks thrrmethsnabththi 20 eriykrxngkartuntw aela snicipyngphraeca thrrmethsnabththi 21 karihkhwamsakhytxwnkiyamah thrrmethsnabththi 22 emuxthanidrbkhawkarlaemidstyabnkhxngchawsngkhramyaml thrrmethsnabththi 23 ephuxplxbpraolmcitickhxngphuyakiraelaethsnaphurarwy thrrmethsnabththi 24 surbkbehlastru thrrmethsnabththi 25 emuxthanidrbkhawkarbukrukkhxngmuxawiyah ipyngemuxng thrrmethsnabththi 26 sathyaysphaphkhxngphuongekhlaaela yukhaehngkarningengiybkhxngtn thrrmethsnabththi 27 inkartahniphuimekharwminkaryihad thrrmethsnabththi 28 khwamimcirngyngyunkhxngdunyaaelakarihkhwamsakhytxxakhieraah thrrmethsnabththi 29 phayhlngkartdsin aelakarcuocm khxngdihak xibnieks thrrmethsnabththi 30 ekiywkarthuksngharkhxngxusman thrrmethsnabththi 31 kxnsngkhramyaml thrrmethsnabththi 32 tahniyukhsmykhxngtn thrrmethsnabththi 33 emuxthanxxksngkhramkbchawbseraah thrrmethsnabththi 34 plukradmephuxsurbkbchawcham thrrmethsnabththi 35 phayhlngehtukarn hakimiyt thrrmethsnabththi 36 ephuxtketuxn chawnah rxwan thrrmethsnabththi 37 brryaythungkhunlksnakhxngtn thrrmethsnabththi 38 niyamkarsrang chubhah khxsngsy thrrmethsnabththi 39 tahni sawkaelaechiychwnsukarthayihad thrrmethsnabththi 40 emuxidyinchaw khxwaricy phudwa immikartdsinidnxkcakkartdsinkhxngphraxngkh thrrmethsnabththi 41 hampramkarchxchl aela hlxklwng thrrmethsnabththi 42 kartahnikarkhadhwngxnyawnanaelakarthatamxarmn iftakhxngtnexng thrrmethsnabththi 43 emuxthansng yarir xibni xbdullxh ipyngmuxawiyah ephuxihmuxawiyah thakarihstyabn thrrmethsnabththi 44 emux muslaekaah xibni huiberaah chybani hniiphamuxawiyah thrrmethsnabththi 45 inwnxidfitr aela kartahnidunya thrrmethsnabththi 46 emuxthantdsinicthicaedinthangipyngemuxngcham thrrmethsnabththi 47 ekiywkbemuxngkufah thrrmethsnabththi 48 emuxxxkedinthangipyngemuxngcham thrrmethsnabththi 49 khwamexkakhxngphraxngkh thrrmethsnabththi 50 xthibayeruxngfitnah thrrmethsnabththi 51 emuxkxngthphkhxngmuxawiyah pidthangnatxthanaelasawkinsngkhramsiffin thrrmethsnabththi 52 khwamimsuxtrngkhxngdunya thrrmethsnabththi 53 ekiywkberuxng byxt karmxbstyabn thrrmethsnabththi 54 emuxsawkkhxngthanmxngwathanideluxnewlainkarxnuyaterimsngkhramsiffinxxkip thrrmethsnabththi 55 epriybsawkkhxngtnaelasawkkhxngthansasda sxl thrrmethsnabththi 56 ekiywkbkhunlksnakhxngmuxawiyah thrrmethsnabththi 57 klawthungklum khxwaricy insngkhram nah rxwan thrrmethsnabththi 59 emuxbrrdakhxwaricy thuksnghar thrrmethsnabththi 60 ekiywkbklumkhxwaricy thrrmethsnabththi 61 emuxthanthukkhuwacathuksnghar thrrmethsnabththi 62 inkartahnidunya thrrmethsnabththi 63 inkarchmechykarkrathathisxlih thrrmethsnabththi 64 ekiywkbkhwamexkakhxngphraeca thrrmethsnabththi 65 hlkeknthkhxngsngkhram thrrmethsnabththi 66 ekiywkbxnsxr thrrmethsnabththi 67 emuxmxbxiyiptihmuhmhmd xibni xabibkr epnphuduael thrrmethsnabththi 68 tahnisawkphuimthatamsyyakhxngtn thrrmethsnabththi 69 emuxechakhxngwnthithanthukfnsirsa thrrmethsnabththi 70 inkartahnichawxirk thrrmethsnabththi 71 sngsxnkarsrresriythansasda sxl thrrmethsnabththi 72 n emuxngbseraah ekiywkb mrwan xibni hakm thrrmethsnabththi 73 emuxsphakhxlifah txngkarihstyabntxxusman thrrmethsnabththi 74 emuxthanidrbkhawwa bnixumyyah klawhawathanepnphusngharxusman thrrmethsnabththi 75 inkarchmechykarkrathathisxlih thrrmethsnabththi 76 emuxsaxid xibni xas idthakarlidrxnsiththikhxngthan thrrmethsnabththi 77 ekiywkbbthwingwxnkhxngthan thrrmethsnabththi 78 emuxthanedinipsuphwkkhxwaricy thrrmethsnabththi 79 tahnibrrdastriphayhlngcaksngkhram yaml thrrmethsnabththi 80 ekiywkbkhwamyaekrngtxphraxngkh thrrmethsnabththi 81 ekiywkbkhunlksnakhxngdunya thrrmethsnabththi 82 thrrmethsnathiphiessinnam khxrxr thrrmethsnabththi 83 ekiyw kbxmru xas thrrmethsnabththi 84 ekiywkbkhunlksnakhxngphraeca thrrmethsnabththi 85 ekiywkbkhwamexkakhxngphraeca aelaechiychwnsukhwamyaekrng aela karpruksaharux thrrmethsnabththi 86 ekiywkbkhunlksnakhxngphuyaekrng aela phukrathabap aelataaehnngkhxnglukhlannbi thrrmethsnabththi 87 xthibaykhwamphinaskhxngmnusy thrrmethsnabththi88 sphaphkhxngprachachnkxnaelahlngkaraetngtngsasda sxl thrrmethsnabththi 89 khwamepnexkakhxngphraeca aelakhasngsxn thrrmethsnabththi 90 odngdnginnam khutbah xichbah thrrmethsnabththi 91 emuxprachachnkhxihstyabnaekthanphayhlngxusmanthuksnghar thrrmethsnabththi92 ekiywkbkhwampraesrithaelakhwamrukhxngtn aelaaecngaephnkarraykhxngbnixumyyah thrrmethsnabththi 93 khwampraesrithkhxngthansasda sxl aelakhasngsxn thrrmethsnabththi 94 sphaphkhxngprachachninyukhsmykaraetngtngsasda sxl thrrmethsnabththi 95 ekiywkbthansasdaxislam sxl thrrmethsnabththi 96 inkarepriybethiybsawkkhxngthankbsawkkhxngthansasda sxl thrrmethsnabththi 97 karkdkhikhxngbnixumyyah thrrmethsnabththi 98 hangiklcakeruxngdunya thrrmethsnabththi 99 ekiywkbthansasdaaelalukhlankhxngthan thrrmethsnabththi 100 aecngkhawcakehtukarnray thrrmethsnabththi 101 ekiywkbkhwamyaklabak thrrmethsnabththi 102 echiychwnsukhwamyaekrng thrrmethsnabththi 103 ekiywkbthansasda sxl aelakhwampraesrithkhxngthan thrrmethsnabththi 104 ekiywkbkhunlksnakhxngthansasda sxl aelakhakhmkhu khxngbnixumyyah aelakhasngsxnprachachn thrrmethsnabththi 105 khwamsungsngkhxngxislam khunlksnakhxngthansasda sxl aelakartketuxnsawkkhxngthan thrrmethsnabththi 106 wnhnunginsngkhramsiffin thrrmethsnabththi 107 thanayehtukarnlwnghna thrrmethsnabththi 108 ekiywkbphlngxanackhxngphraeca khwamtay aela wnsinolk thrrmethsnabththi 109 karkhxkhwamchwycakphraxngkhphuthrngyingihy aelamhabrisuththiyingodybrrdaphukhxkhwamchwyehlux thrrmethsnabththi 110 inkartahnidunya thrrmethsnabththi 111 ekiywkbmalaxikah aehngkhwamtayaelakarkrachakwiyyan thrrmethsnabththi 112 inkartahnidunya thrrmethsnabththi 113 khasngsxnprachachn thrrmethsnabththi 114 karkhxfn thrrmethsnabththi 115 khasngsxnsawkkhxngthan thrrmethsnabththi 116 phutrahniinthrphysinaelachiwitkhxngtn thrrmethsnabththi 117 ekiywsawkphuehmaasmkhxngthan thrrmethsnabththi 118 emuxthanrwbrwmprachachnaelaechiychwnihphwkekhathayihad thrrmethsnabththi 119 ekiywkbkhunlksnakhxngtnaelakhasngsxntxsawk thrrmethsnabththi 120 phayhlngkhakhun harir thrrmethsnabththi 121 klawtxbrrdakhxwaricy thrrmethsnabththi 122 klawtxsawkkhxngthaninsngkhramsiffin thrrmethsnabththi 123 ekiywkarhlbhnikhxngsawk thrrmethsnabththi 124 echiychwnsawkkhxngthaninkarthayihad thrrmethsnabththi 125 ekiywkbklumkhxwaricy emuxphwkekhaptiesthkartdsin thrrmethsnabththi 126 emuxmikhnthamcakthanthungsaehtuthiaebngthrphysinkhxngbytulmalodyethaethiymkn thrrmethsnabththi 127 klawthungkhxwaricy thrrmethsnabththi 128 aecngaephnkaraelaehtukarnraythiekidkhunkbemuxngbseraah thrrmethsnabththi 129 ekiywkb thwytwng aelatachng thrrmethsnabththi 130 klawthung xbusr emuxthukenreths thrrmethsnabththi 131 prchyainkaryxmrbkarpkkhrxngaelakhunlksnakhxngximamthiaethcring thrrmethsnabththi 132 khasngsxn aela karechiychwnsukarralukthungkhwamtay thrrmethsnabththi 133 ekiywkbkhwamyingihykhxngphraeca xlkurxan sasda aela khwamsmphnthkbdunya thrrmethsnabththi 134 klawthung xumr xibni khxttxb emuxekhapruksakbthanekiywsngkhramkbormn thrrmethsnabththi 135 mikarthkethiyngrahwangthanaelaxusman thrrmethsnabththi 136 ekiywkbkarihstyabnkhxngtn thrrmethsnabththi 137 ekiywkb txlha aela suebr thrrmethsnabththi 138 ekiywkbfitnah tang aelakarpkkhrxngkhxngximammah diinyukhsudthay thrrmethsnabththi 139 klawthungsphakhxlifah thrrmethsnabththi 140 hampramcakkarninthaprachachn thrrmethsnabththi 141 hampramcakkarnintha thrrmethsnabththi 142 ekiywkbkarthaditxphuxun thrrmethsnabththi 143 eriykrxnghasawk thrrmethsnabththi 144 ekiywkbkaraetngtngkhxngsasda sxl aelakhwampraesrithkhxnglukhlankhxngthan thrrmethsnabththi 145 inkhwamimcirngkhxngdunyaaelatahnikarbidxah thrrmethsnabththi 146 inkarihkhapruksatx xumr xibni khxttxb emuxcathasangkhramkbxihran thrrmethsnabththi 147 prchyainkaraetngtngsasda sxl aelaehtukarninxnakht aelakhasngsxn thrrmethsnabththi 148 ekiywkbchawbseraah thrrmethsnabththi 149 kxnkaresiychiwit thrrmethsnabththi 150 ekiywkbfitnah tang thiekidkhun thrrmethsnabththi 151 kartketuxninfitnah thrrmethsnabththi 152 khunlksnakhxngphraxngkh aelaphunasasna thrrmethsnabththi 153 khwampraesrithkhxnglukhlansasda sxl thrrmethsnabththi 154 khwammhscrryinkarsrangkhangkhaw thrrmethsnabththi 155 aecngehtukarnraythicaekidkhuninemuxngbseraah aekchawbseraah thrrmethsnabththi 156 echiychwnsukhwamyaekrng thrrmethsnabththi 157 ekiywkbthansasda sxl xlkurxan aela karpkkhrxngkhxngbnixumyyah thrrmethsnabththi 158 karmimaryaththiditxprachachn thrrmethsnabththi 159 ekiywkbkhwamexkakhxngphraeca aela eruxngrawkhxngnbibangthan thrrmethsnabththi160 ekiywkhunlksnakhxngthansasda sxl aelalukhlankhxngthan thrrmethsnabththi 161 txbkhathamkhxngsawkthanhnung thrrmethsnabththi 162 ekiywkbkhwamexkakhxngphraeca thrrmethsnabththi 163 emuxprachachnrxngeriynthungkarkrathathiimdikhxngxusman thrrmethsnabththi 164 khwammhscrryinkarsrangnkyung thrrmethsnabththi 165 khasngihmikhwamrktxkn khunlksnakhxngbnixumyyah aelasawk thrrmethsnabththi 166 erimkarpkkhrxngkhxngthan thrrmethsnabththi 167 phayhlngkarihstyabntxthan thrrmethsnabththi 168 emuxchawyamlipyngemuxngbseraah thrrmethsnabththi 169 emuxthaniklthungemuxngbseraah thrrmethsnabththi 170 emuxthantdsinicthicathakarsurbkbkxngthphkhxngmuxawiyah thrrmethsnabththi 171 ekiywkbsiththikhxngthan aela kartahnichawyaml thrrmethsnabththi 172 klawthungphuthiehmaasminkarpkkhrxng aelaechiychwnsukhwamyaekrngtxphraecaaelahangiklcakeruxngdunya thrrmethsnabththi 173 ekiywkbtxlha xibni xubydillah thrrmethsnabththi 174 ekiywkbkhasngsxn aela klawthungkhwamiklchidkhxngthanthimitxthansasda sxl thrrmethsnabththi 175 khasngsxn khwampraesrithkhxngxlkurxan aelahampramcakbidxah thrrmethsnabththi 176 ekiywkbkartdsin thrrmethsnabththi 177 ekiywkbetahid aela khwamyaekrngtxphraxngkh thrrmethsnabththi 178 ikhkhxsngsykhxng siklib yamani ekiywkbkarphbehnphraxngkh thrrmethsnabththi 179 tahnisxhabah thrrmethsnabththi 180 ekiywkbbukhkhlthitxngkarcaekharwmkbkhxwaricy thrrmethsnabththi181 ekiywkhwamexkakhxngphraxngkhaelakarralukthungbrrdachahidinsngkhramsiffin thrrmethsnabththi 182 phlngxanackhxngphraxngkhaelakhwampraesirthkhxngxlkurxan aelaechiychwnipsukhwamyaekrng thrrmethsnabththi 183 klawthung burc xibni mushir txxi sungepnhnunginkhxwaricy thrrmethsnabththi 184 klawtx hmmamekiywkbphuyaekrng thrrmethsnabththi 185 ekiywkbbrrdaphuklbklxk thrrmethsnabththi 186 srresriyphraecaaelasasda sxl aelakhasngsxn thrrmethsnabththi 187 ekiywkbkaraetngtngsasda sxl aelakarhangiklcakeruxngdunya thrrmethsnabththi 188 ekiywkbkhwamiklchidkhxngthantxthansasda sxl thrrmethsnabththi 189 ekiywkbkhwamyaekrngtxphraeca khunlksnakhxngxislamaelathansasda sxl thrrmethsnabththi 190 khasngesiytxsawkkhxngthan thrrmethsnabththi 191 ekiywkbmuxawiyah thrrmethsnabththi 192 ekiywkbkaryunhydinhnthangkhxngscthrrm thrrmethsnabththi 193 klawthungehtukarnkhnafngthanhyingfatimah s thrrmethsnabththi 194 hangiklcakeruxngdunya thrrmethsnabththi 195 khasngsxnthimiinwaratang txsawkkhxngthan thrrmethsnabththi 196 phayhlngkarihstyabnkhxngtxlha aela suebr thanximamidklawtxphwkekhawa thrrmethsnabththi 197 emuxthanidyinwabrrdasawkidwaraychawemuxngchaminsngkhramsiffin thrrmethsnabththi 198 ekiywkbbutrchaykhxngthan ximamhasn x insngkhramsiffin thrrmethsnabththi 199 emuxbrrdasawkkhxngthankhdaeyngkbthanphayhlngkartdsin thrrmethsnabththi 200 emuxthanipeyiym xalaxibni siyad harisi inemuxngbseraah thrrmethsnabththi 201 emuxmiphukhnthamthanekiywkbkarraynganaelawcnacxmplxmaelakhdaeyng thrrmethsnabththi 202 phlngxanackhxngphraecaaelakarsrangolk thrrmethsnabththi 203 plukradmsawkkhxngtninkarsurbkbchawemuxngcham thrrmethsnabththi 204 srresriyphraxngkh thrrmethsnabththi 205 khunlksnakhxngsasda sxl aela brrdakhasngsxn thrrmethsnabththi 206 karwingwxn khxngthantxphraeca thrrmethsnabththi 207 thrrmethsna n sngkhramsiffin thrrmethsnabththi 278 tdphxtxwahlakuerch thrrmethsnabththi 209 thrrmethsnainsngkhramyamlemuxthanphanrangirwiyyankhxngtxlha aela xbdureraah man xibni xatab thrrmethsnabththi 210 khunlksnakhxngphukhdeklacitwiyyankhxngtn thrrmethsnabththi 211 echiychwnsawksukarthayihad thrrmethsnabththi 212 phayhlngkarxanoxngkar الهیکم التکاثر حتی زرتم المقابر thrrmethsnabththi 213 emuxthanxanoxngkar رجال لا تلهیهم تجارة و لا بیع عن ذکر الله thrrmethsnabththi 214 emuxthanxanoxngkar یا ایها الانسان ما غرک بربک الکریم thrrmethsnabththi 215 ekiywkbkarrngekiyckarkdkhi thrrmethsnabththi 216 ekiywkbkarrxngkhxpccyyngchiphthimakmay thrrmethsnabththi 217 hangiklcakeruxngdunya thrrmethsnabththi 218 khunlksnakhxngphuthirkphraeca thrrmethsnabththi 219 ekiywkbhnunginbrrdaphupkkhrxng thrrmethsnabththi 220 brryaykarihstyabnkhxngprachachntxthaninthanakhxlifah thrrmethsnabththi 221 ekiywkbkhwamyaekrng aela khwamphyayaminkarptibtidi thrrmethsnabththi 222 n sikxremuxthanedinthangipyngbseraah thrrmethsnabththi 223 klawtx xbdullxh xibni smxah sungepnchixah thrrmethsnabththi 224 ekiywkbkhwampraesrithkhxngbrrda xah lulbyt aelakartahniprachachnyukhsmykhxngtn thrrmethsnabththi 225 ekiywkbsaehtukhxngkhwamkhdaeyngrahwangbukhlikphaynxkaelaphayincitickhxngmnusy thrrmethsnabththi 226 emuxthakarkhusul aelaetriymkarfngthansasda sxl thrrmethsnabththi 227 srresriythansasda sxl aelakhwammhscrrykhxngsingthuksrang thrrmethsnabththi 228 khwamexkakhxngphraeca thrrmethsnabththi 229 aecngehtukarnraythiekidkhun thrrmethsnabththi 230 echiychwnsukhwamyaekrng aelakarralukthungkhwamtay thrrmethsnabththi 231 ekiywkbkhwamsrththa aelakarhiceraah thrrmethsnabththi 232 srresriyphraeca aelaechiychwnsukhwamyaekrng thrrmethsnabththi 233 srresriyphraeca aela echiychwnsukhwamyaekrng thrrmethsnabththi 234 thrrmethsnainnam kxsixah ekiywkbkarsapaechngxiblis thrrmethsnabththi 235 klawtx xbdullxh xibni xbbas emuxxusmanthukprachachnpidlxm thrrmethsnabththi 236 sphaphkhxngtnphayhlngcakkarhiceraah khxngthansasda sxl aelaemuxthanekharwmkbkarhiceraah khxngthansasda sxl inphayhlng thrrmethsnabththi 237 echiychwnsukarptibtidi thrrmethsnabththi 238 ekiywkbkartdsin aela tahnichawemuxngcham thrrmethsnabththi 239 ekiywkbkhwampraesrithkhxnglukhlanthansasda sxl thrrmethsnabththi 240 ekiywkbkhwampraesrithkhxnglukhlanthansasda sxl thrrmethsnabththi 241 ekiywkbkarechiychwnsukarthayihad sasn sasnthi 1 sasncakxalithungchawkufah emuxthanxxkedinthangcakmadinah ipyngbseraah sasnthi 2 sasncakxalithungprachachnchawkufah phayhlngkaryudkhrxngbseraah sasnthi 3 sasncakxalithung phuphiphaksakhxngthan charih xibni haris sasnthi 4 sasncakxalithungaemthphthanhnung sasnthi 5 sasncakxalithung xchxas xibni eks sasnthi 6 sasncakxalithungmuxawiyah sasnthi 7 sasncakxalithungmuxawiyah sasnthi 8 sasncakxalithungyarir xibni xbdullxh xlbayali emuxthansngekhaipyngmuxawiyah sasnthi 9 sasncakxalithungmuxawiyah sasnthi 10 sasncakxalithungmuxawiyah sasnthi 11 sasncakxaliemuxthansngkxngthphipyngstru sasnthi 12 sasncakxalithungmax klp xibni eks xrriyahi emuxthansngkxngthphsamphnkhnipyngcham sasnthi 13 sasncakxalithungaemthphsxngthan sasnthi 14 sasncakxalithungkxngthphkhxngthankxnkarephchiykbkxngthphmuxawiyah sasnthi 15 sasncakxaliemuxephchiyhnakbstruinsngkhramthancaklawechnni sasnthi 16 sasncakxalithungsawkkhxngthaninsngkhram sasnthi 17 sasncakxaliephuxtxbotmuxawiyah sasnthi 18 sasncakxalithungxibni xbbas twaethnkhxngthaninbseraah sasnthi 19 sasncakxalithunghnungintwaethnkhxngthan sasnthi 20 sasncakxalithungsiyad xibni xabih thrrmethsna aekikhsasn aekikhbukhkhlsakhyinnah yulbalaekhaah aekikhthannbi xisa x aekikh in nah yulbalaekhaah idklawthungkhunlksnakhxngthannbixisa x wathanichchiwitxyangsmtha aelahangiklcakeruxngdunya inthrrmethsnabththi 159 thanximamxali x idklawthungthannbixisa x wa 10 11 hakcaklawthungxisacngklawwahmxnkhxngthankhuxkxnhin aelaesuxphakhxngthanmacakphathimikhwamhyab thancaimrbprathanxaharthimirschatixrxy aelathancakinephiyngkhnmpngethann aesngswangkhxngthankhuxaesngcnthr aelathiphkphingkhxngthaninyamhnawkhuxphundin phkaelaphlimkhxngthankhuxsingthiecriyetibotkhunephuxstw thanimmiphrryaephuxthicathaihthanhlngrk immibutrthicasrangkhwamoskesraaekthan immithrphysinthicathaihthanhlnglumolkhna immikhwamolphinsingidthicathaihthantxngtkta phahnakhxngthankhuxsxngethakhxngthan aelaphurbichkhxngthankhuxsxngmuxkhxngthan thannbimusa x aekikh innah yulbalaekhaah idklawthungthannbimusabutrkhxngximrxnhlaytxhlaykhrng emuxthanximamxali x txngkarcaykaebbxyangcakeruxngrawtang thancaklawthungnbimusa x aelathrrmethsnabthxunthanidthuxwanbimusa x khuxaebbxyangkhxngmnusythimikhwamsmburnaebb thrrmethsnathi 4inbththrrmethsnabththi 4 thanximamxali x idklawthungthannbimusa x ephuxepntwxyangodyklawwa phuthiimidtamaenwthangkhxngchnkhuxphuthiimichpyya emuxchnidphbehnscthrrm chnimekhysngsy khlangaekhlngicdng imekhyekrngklwtxtwtnechnediywkb musathiimekrngklwtwexng aetkhwamkngwlkhxngchnkhuxchychnakhxngkarpkkhrxngthihlngthang wnnierathukkhnxyurahwangsxngaeyk scthrrm aela batilaelaaennxnwaphuthimnicinkarmixyukhxngnaekhacaimyxmxyuxyangkrahay thrrmethsnathi 159inthrrmethsnabthdngklaw thanximamxali x idthakarsrresriythansasda sxl aelabrryaythungkhwamepnaebbxyangkhxngthanodyklawwa hakphwkthanaeswnghaphuepnaebbxyangthanthisxng khuxthannbimusa x emuxthanklawwa khaphecamikhwamcaepntxthuksingthiphraxngkhprathancakkhwamdingamkhxngphraxngkh khxsabanwaekhaimekhykhxsingidcakphraxngkhnxkcakkhnmpngthithanrbprathanepnxahar ephraachwngewlahnungthithantkxyuinkhwamyaklabakcungthaihthantxngkinphuchphnthaethnxaharaelathanlmlngenuxngcakkhwamphxmaelaxxnaerngkhxngtn cnsamarthmxngehnkhwamekhiywkhxngphuchphnthinthxngkhxngthanid 12 thrrmethsnabththi 181inbthdngklawidklawthungkarphudkhuyodytrngrahwangphraxngkhaelathannbimusa x 13 thrrmethsnabththi 234 inbthdngklawthanximamxali x idklawthungkardarngchiwitxyangeriybngaykhxngthannbimusa x txfaorh odyklawwa musabutrkhxngximrxn idekhaphbfaorhphrxmkbphichaykhxngekhainkhnathiphwkekhaswmisesuxkhlumcakkhnstwaelathuximetha 14 bangswncakthxykhakhxngthanximamxali x 317اchawyahudikhnhnungidphudtxthanximamxali x wa phwkthanbrrdamuslim idkhdaeyngknthngthiyngimidfngsphsasdakhxngthanexng thanximamxali x klawtxbekhawa eraidkhdaeyngkninsingthieraidrbaelw miidkhdaeyngintwtnkhxngthansasda sxl aetphwkthanchawyahudidklawtxsasdakhxngtnthngthiethakhxngphwkthanyngimaehngcaknathaelwa cngnaecwdthihlakhlaymasuphwkera cungthaihthannbimusa x idtxbkbphwkthan wa phwkecakhuxprachachatithiongekhla 15 ekiywkbtxlha aela suebr aekikh txlha butrchaykhxng xubydullxh hnungcaksawkkhxngthannbi sxl sungthanximamxali x idklawthungekhain nah yulbalaekhaah phayhlngsngkhramyamlidcblngaelatxlha kbsuebrthuksngharwa thrrmnabththi 4 phwkthanidekhachwyehluxerainwnthimudmn aelaidrbtaaehnngthisungsng aelathanidhludxxkcakkhakhunthimudmid changhangiklesiyehluxekinhuthiimyxmrbfngkhatketuxnaelaimidyinesiyngidenuxngcakrbfngesiyngthidngkwa aelwthancaidyinesiyngthinimnwlkhxngchnidxyangirkn cngsngbethidhwicthiimhyudningenuxngcakkhwamekrngklwtxphraxngkh chnefarxwnthiphwkthancaphidsyyaaelaehnaewwtathihlxklwngkhxngphwkthanmatlxd eraidhlbtatxkhwamphidphladkhxngphwkthanenuxngcakphwkthanxaphrangtnxyuphayitesuxkhlumaehngsasnainkhnathirsmicakhwickhxngchnkhxyepidephykhwamkhidkhxngphwkthanmaodytlxd chnyunxyuekhiyngkhanghnthangthihlngphidephuxcachinaphwkthanekhasuaenwthangthiethiyngtrng emuxphwkthanrwmtwknodyirphuna aelaphaknkhudaeswnghasaytharaehngkarchinasungphwkthanimidphbecx thaykradas aekikhaemaebb پانویس 1 Archived 2020 02 10 thi ewyaebkaemchchin اسلام پدیا معرفی نهج البلاغه عبدالکریم تاراس چرنینکو پایگاه تخصصی نهج البلاغه پارس تودی ترجمه نهج البلاغه به زبان گرجی در ایران الغدیر استناد نهج البلاغه قانون الغارات مرتضی مطهری سیری در نهج البلاغه قابل دسترسی در اینجا Archived 2010 06 12 thi ewyaebkaemchchin مرتضی مطهری حکمتها و اندرزها قابل دسترسی در اینجا و اگر می خواهی درباره عیسی علیه الس لام بگو که سنگ را Archived 2015 02 05 thi ewyaebkaemchchin نهج البلاغه ترجمه حسین انصاریان ادیان و مذاهب khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 2015 02 05 subkhnemux 2018 01 07 و اگر بخواهی شخص دومی را مقتدا قرار دهی این است موسی کلیم الل ه ـ که درود خدا بر او Archived 2015 02 05 thi ewyaebkaemchchin حسین انصاریان ترجمه نهج البلاغه خداوندی که با موسی سخن گفت و از آیات عظیمه اش به او نمایاند Archived 2015 02 05 thi ewyaebkaemchchin حسین انصاریان ترجمه نهج البلاغه موسی بن عمران همراه برادرش هارون Archived 2015 02 05 thi ewyaebkaemchchin حسین انصاریان ترجمه نهج البلاغه بعضی از یهود گفتند Archived 2014 11 11 thi ewyaebkaemchchin حسین انصاریان ترجمه نهج البلاغهekhathungcak https th wikipedia org w index php title nahyulbalaekhaah amp oldid 9570226, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม