fbpx
วิกิพีเดีย

ประวัติศาสตร์ทฤษฎีบิกแบง

ประวัติศาสตร์ทฤษฎีบิกแบง เริ่มต้นจากการพัฒนาแนวคิดทฤษฎีบิกแบงจากการเฝ้าสังเกตการณ์และคำนวณในเชิงทฤษฎี งานด้านทฤษฎีเกี่ยวกับจักรวาลวิทยาในปัจจุบันส่วนมากจะเป็นการขยายความและปรับแต่งทฤษฎีบิกแบงพื้นฐานให้ดียิ่งขึ้น

แนวคิดดั้งเดิมในเชิงปรัชญาและวรรณกรรม

นักปรัชญาในยุคกลางโต้เถียงกันมากว่าเอกภพมีอดีตที่จำกัดหรือไม่จำกัดกันแน่ แนวคิดของอริสโตเติลเชื่อว่าเอกภพสามารถย้อนไปได้ไม่มีที่สิ้นสุด ซึ่งเป็นปัญหาสำหรับชาวยิวยุคกลาง ชาวคริสเตียน และนักปรัชญาอิสลาม ซึ่งไม่สามารถทำให้แนวคิดแบบอริสโตเติลเข้ากันกับปรัชญานิรันดร์ของแนวคิดการสร้างโลกของอับราฮัม ทำให้มีการพัฒนาข้อโต้แย้งว่าเอกภพมีอดีตที่จำกัดโดยนักปรัชญามากมาย เช่น จอห์น ฟิโลโพนัส, อัล-คินดี, ซาเดีย กาออน, อัล-กาซาลิ และ อิมมานูเอล คานท์

ปี ค.ศ. 1610 โยฮันเนส เคปเลอร์ ใช้ท้องฟ้ายามราตรีเป็นข้อโต้แย้งว่าเอกภพมีขีดจำกัด (พาราด็อกซ์ของโอลเบอร์) เจ็ดสิบเจ็ดปีต่อมา ไอแซค นิวตัน อธิบายถึงการเคลื่อนที่ในภาพใหญ่ของจักรวาล

แนวคิดว่าเอกภพมีการขยายตัวและหดตัวเป็นวงรอบเริ่มต้นเป็นครั้งแรกในบทกวีชุดหนึ่งที่เผยแพร่ในปี ค.ศ. 1791 โดย Erasmus Darwin เอ็ดการ์ อัลลัน โพ นำเสนอระบบวงรอบที่คล้ายคลึงกันอีกระบบหนึ่งในงานเขียนปี 1848 ของเขา ชื่อ Eureka: A Prose Poem ซึ่งไม่เป็นที่ยอมรับในเชิงวิทยาศาสตร์ทั้งจากชุมชนนักวิทยาศาสตร์และจากตัวผู้ประพันธ์เอง

การพัฒนาทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20

จากการเฝ้าสังเกตการณ์ช่วงคริสต์ทศวรรษ 1910 เวสโต สลิเฟอร์ และต่อมาคือคาร์ล วิลเฮล์ม เวิร์ทซ์ ได้บรรยายถึงเนบิวลาก้นหอยที่ถอยห่างออกไปจากโลก สลิเฟอร์ใช้วิธีสเปกโตรสโกปีในการตรวจสอบรอบการหมุนของดาวเคราะห์กับองค์ประกอบบรรยากาศของดาวเคราะห์ และเป็นคนแรกที่สามารถสังเกตเห็นความเร็วเชิงรัศมีของดาราจักร เวิร์ทซ์เฝ้าสังเกตปรากฏการณ์การเคลื่อนไปทางแดงอย่างเป็นระบบของเนบิวลา ซึ่งยากต่อการตีความในเชิงจักรวาลวิทยาแบบที่เอกภพเต็มไปด้วยดาวฤกษ์และเนบิวลาที่กระจายตัวอย่างสม่ำเสมอ เวลานั้นพวกเขายังไม่ได้คิดถึงการตีความเชิงจักรวาลวิทยาด้วยซ้ำ เพราะไม่ทราบว่าเนบิวลาดังกล่าวที่แท้เป็นดาราจักรแห่งอื่นที่อยู่ภายนอกทางช้างเผือกของเรา

ในทศวรรษเดียวกันนั้น ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์แสดงให้เห็นว่า จักรวาลมิได้ดำรงอยู่แบบคงที่ มีการพรรณนาถึงเอกภพโดยอาศัยมาตราเทนเซอร์ซึ่งแสดงว่าเอกภพจะต้องขยายตัวอยู่หรือไม่ก็กำลังหดตัว ไอน์สไตน์คิดว่าผลลัพธ์ที่ในตอนแรกนั้นผิดและพยายามแก้ไขโดยการใส่ค่าคงที่จักรวาลเข้าไป บุคคลแรกที่นำทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปมาใช้กับจักรวาลวิทยาโดยไม่ใช้ค่าคงที่จักรวาลคือ อเล็กซานเดอร์ ฟรีดแมน เขาค้นพบแบบจำลองเอกภพขยายตัวที่สอดคล้องกับสมการสนามสัมพัทธภาพในปี ค.ศ. 1922 งานเขียนของฟรีดแมนในปี 1924 ชื่อ "Über die Möglichkeit einer Welt mit konstanter negativer Krümmung des Raumes" ("ความเป็นไปได้ของโลกที่มีความโค้งเป็นค่าลบคงที่") พิมพ์เผยแพร่โดยสมาคมวิทยาศาสตร์เบอร์ลินเมื่อ 7 มกราคม 1924 แสดงสมการของฟรีดแมนที่อธิบายถึงเอกภพตามแบบจำลองของฟรีดแมน-เลอแม็ทร์-โรเบิร์ตสัน-วอล์กเกอร์

ปี ค.ศ. 1927 พระคาทอลิกชาวเบลเยียม ฌอร์ฌ เลอแม็ทร์ ได้เสนอแบบจำลองการขยายตัวของเอกภพเพื่ออธิบายถึงผลสังเกตการณ์การเคลื่อนไปทางแดงของเนบิวลาก้นหอย และทำนายถึงกฎของฮับเบิล เขาอ้างอิงทฤษฎีของตนบนผลงานของไอน์สไตน์และเดอซิตเตอร์ และยังสร้างสมการการขยายตัวของเอกภพของฟรีดแมนขึ้นใหม่โดยอิสระ

ปี ค.ศ. 1929 เอ็ดวิน ฮับเบิล นำเสนอผลสังเกตการณ์ตามทฤษฎีของเลอแม็ทร์ ฮับเบิลค้นพบว่า หากยึดตำแหน่งของโลกเป็นหลัก ดาราจักรต่างๆ กำลังเคลื่อนที่ห่างออกไปในทุกทิศทางที่ความเร็วเป็นสัดส่วนแปรผันตามระยะห่างจากโลก ปีเดียวกันนั้น ฮับเบิลกับ มิลตัน ฮิวมาซัน ช่วยกันสร้างกฎระยะห่างของการเคลื่อนไปทางแดงที่ใช้การได้สำหรับทุกดาราจักร ปัจจุบันเรารู้จักกฎนี้ในชื่อว่า กฎของฮับเบิล ซึ่งเมื่อแปลงค่าการเคลื่อนไปทางแดงว่าเป็นการวัดการเคลื่อนห่างออกไป จะได้ผลสอดคล้องกับผลจากสมการสัมพัทธภาพทั่วไปของไอน์สไตน์ สำหรับอวกาศที่มีการขยายตัวแบบสมมาตรทุกทิศทาง การค้นพบนี้นำไปสู่รากฐานแนวคิดการขยายตัวของเอกภพ กฎของฮับเบิลบ่งชี้ว่า ยิ่งระยะห่างระหว่างดาราจักรสองแห่งมากขึ้นเท่าใด ความเร็วสัมพัทธ์ในการแยกห่างก็ยิ่งมากขึ้นเท่านั้น ในเวลาต่อมาการค้นพบนี้ได้เป็นรากฐานของทฤษฎีบิกแบง

ปี ค.ศ. 1931 เลอแม็ทร์นำเสนองานเขียนเรื่อง "hypothèse de l'atome primitif" (สมมุติฐานเรื่องอะตอมแรกเริ่ม) อธิบายว่าเอกภพเริ่มต้นขึ้นจาก "การระเบิด" ของ "อะตอมแรกเริ่ม" ซึ่งต่อมาภายหลังเรียกว่า บิกแบง เลอแม็ทร์เป็นคนแรกที่ยึดถือว่า รังสีคอสมิก เป็นเศษซากที่เหลืออยู่ของเหตุการณ์นั้น แม้ในปัจจุบันเราจะทราบกันแล้วว่า รังสีคอสมิกมีกำเนิดมาจากภายในดาราจักรของเรานี้เอง ตราบจนเลอแม็ทร์สิ้นชีวิตไปไม่กี่ปี จึงมีการค้นพบการแผ่รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล ซึ่งปัจจุบันเชื่อกันว่าเป็นซากการแผ่รังสีที่เหลืออยู่จากเอกภพยุคแรกเริ่มที่หนาแน่นและร้อนจัด

ช่วงปลายคริสต์ศตวรรษที่ 20

เป็นเวลาหลายปีที่ทฤษฎีเกี่ยวกับเอกภพทั้งสองฝ่ายได้รับการสนับสนุนที่แยกจากกัน จากข้อเท็จจริงที่ว่า ทฤษฎีบิกแบงสามารถอธิบายได้ดีทั้งการกำเนิดของเอกภพและการสังเกตพบไฮโดรเจนกับฮีเลียมจำนวนมากมาย ขณะที่ทฤษฎีเอกภพคงที่สามารถอธิบายได้เพียงการก่อตัว แต่ไม่อาจบอกได้ว่าทำไมจึงมีการสังเกตการณ์พบก๊าซมากมายเช่นนั้น อย่างไรก็ดี ผลสังเกตการณ์เริ่มโอนเอียงไปในทางสนับสนุนแนวคิดที่ว่า เอกภพวิวัฒนาการมาจากสภาวะที่หนาแน่นและร้อนจัด วัตถุอายุเยาว์เช่น เควซาร์ จะสามารถสังเกตพบได้เพียงที่ขอบของเอกภพ ซึ่งเป็นการบ่งชี้ว่าวัตถุเหล่านั้นดำรงอยู่ในเวลาที่ผ่านมานานแสนนานแล้ว ขณะที่ทฤษฎีเอกภพคงที่ทำนายว่า ดาราจักรอายุน้อยควรจะกระจัดกระจายกันอยู่ทั่วไปตลอดทั่วเอกภพ ทั้งใกล้และไกล ครั้นเมื่อมีการค้นพบการแผ่รังสีไมโครเวฟพื้นหลังของจักรวาล ก็ดูเหมือนจะเป็นหลักฐานสำคัญที่ปิดตายทฤษฎีเอกภพคงที่ลง จากหลักฐานข้อมูลต่าง ๆ ในปัจจุบันจึงถือกันว่า ทฤษฎีบิกแบงเป็นทฤษฎีที่ดีที่สุดเท่าที่มีอยู่ที่สามารถอธิบายถึงกำเนิดและวิวัฒนาการของจักรวาลได้

อนาคตของทฤษฎี

อ้างอิง

  1. Seymour Feldman (1967). "Gersonides' Proofs for the Creation of the Universe". Proceedings of the American Academy for Jewish Research. 35: 113–137. doi:10.2307/3622478.
  2. Craig, William Lane (June 1979), "Whitrow and Popper on the Impossibility of an Infinite Past", The British Journal for the Philosophy of Science, 30 (2): 165–170 [165–6], doi:10.1093/bjps/30.2.165
  3. Friedman, A. (1922). "Über die Krümmung des Raumes". Zeitschrift für Physik. 10 (1): 377–386. doi:10.1007/BF01332580. (English translation in: Gen. Rel. Grav. 31 (1999), 1991-2000.) and Friedman, A. (1924). "Über die Möglichkeit einer Welt mit konstanter negativer Krümmung des Raumes". Zeitschrift für Physik. 21 (1): 326–332. doi:10.1007/BF01328280. (English translation in: Gen. Rel. Grav. 31 (1999), 2001-2008.)

ประว, ศาสตร, ทฤษฎ, กแบง, บทความน, างอ, งคร, สต, กราช, คร, สต, ทศวรรษ, คร, สต, ศตวรรษ, งเป, นสาระสำค, ญของเน, อหา, เร, มต, นจากการพ, ฒนาแนวค, ดทฤษฎ, กแบงจากการเฝ, าส, งเกตการณ, และคำนวณในเช, งทฤษฎ, งานด, านทฤษฎ, เก, ยวก, บจ, กรวาลว, ทยาในป, จจ, นส, วนมากจะเป, น. bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha prawtisastrthvsdibikaebng erimtncakkarphthnaaenwkhidthvsdibikaebngcakkarefasngektkarnaelakhanwninechingthvsdi ngandanthvsdiekiywkbckrwalwithyainpccubnswnmakcaepnkarkhyaykhwamaelaprbaetngthvsdibikaebngphunthanihdiyingkhun enuxha 1 aenwkhiddngediminechingprchyaaelawrrnkrrm 2 karphthnathvsdithangwithyasastrchwngtnkhriststwrrsthi 20 3 chwngplaykhriststwrrsthi 20 4 xnakhtkhxngthvsdi 5 xangxingaenwkhiddngediminechingprchyaaelawrrnkrrm aekikhnkprchyainyukhklangotethiyngknmakwaexkphphmixditthicakdhruximcakdknaen aenwkhidkhxngxrisotetilechuxwaexkphphsamarthyxnipidimmithisinsud sungepnpyhasahrbchawyiwyukhklang chawkhrisetiyn aelankprchyaxislam sungimsamarththaihaenwkhidaebbxrisotetilekhaknkbprchyanirndrkhxngaenwkhidkarsrangolkkhxngxbrahm 1 thaihmikarphthnakhxotaeyngwaexkphphmixditthicakdodynkprchyamakmay echn cxhn fiolophns xl khindi saediy kaxxn xl kasali aela ximmanuexl khanth 2 pi kh s 1610 oyhnens ekhpelxr ichthxngfayamratriepnkhxotaeyngwaexkphphmikhidcakd pharadxkskhxngoxlebxr ecdsibecdpitxma ixaeskh niwtn xthibaythungkarekhluxnthiinphaphihykhxngckrwalaenwkhidwaexkphphmikarkhyaytwaelahdtwepnwngrxberimtnepnkhrngaerkinbthkwichudhnungthiephyaephrinpi kh s 1791 ody Erasmus Darwin exdkar xlln oph naesnxrabbwngrxbthikhlaykhlungknxikrabbhnunginnganekhiynpi 1848 khxngekha chux Eureka A Prose Poem sungimepnthiyxmrbinechingwithyasastrthngcakchumchnnkwithyasastraelacaktwphupraphnthexngkarphthnathvsdithangwithyasastrchwngtnkhriststwrrsthi 20 aekikhcakkarefasngektkarnchwngkhristthswrrs 1910 ewsot sliefxr aelatxmakhuxkharl wilehlm ewirths idbrryaythungenbiwlaknhxythithxyhangxxkipcakolk sliefxrichwithisepkotrsokpiinkartrwcsxbrxbkarhmunkhxngdawekhraahkbxngkhprakxbbrryakaskhxngdawekhraah aelaepnkhnaerkthisamarthsngektehnkhwamerwechingrsmikhxngdarackr ewirthsefasngektpraktkarnkarekhluxnipthangaedngxyangepnrabbkhxngenbiwla sungyaktxkartikhwaminechingckrwalwithyaaebbthiexkphphetmipdwydawvksaelaenbiwlathikracaytwxyangsmaesmx ewlannphwkekhayngimidkhidthungkartikhwamechingckrwalwithyadwysa ephraaimthrabwaenbiwladngklawthiaethepndarackraehngxunthixyuphaynxkthangchangephuxkkhxngerainthswrrsediywknnn thvsdismphththphaphthwipkhxngxlebirt ixnsitnaesdngihehnwa ckrwalmiiddarngxyuaebbkhngthi mikarphrrnnathungexkphphodyxasymatraethnesxrsungaesdngwaexkphphcatxngkhyaytwxyuhruximkkalnghdtw ixnsitnkhidwaphllphththiintxnaerknnphidaelaphyayamaekikhodykariskhakhngthickrwalekhaip bukhkhlaerkthinathvsdismphththphaphthwipmaichkbckrwalwithyaodyimichkhakhngthickrwalkhux xelksanedxr fridaemn ekhakhnphbaebbcalxngexkphphkhyaytwthisxdkhlxngkbsmkarsnamsmphththphaphinpi kh s 1922 nganekhiynkhxngfridaemninpi 1924 chux Uber die Moglichkeit einer Welt mit konstanter negativer Krummung des Raumes khwamepnipidkhxngolkthimikhwamokhngepnkhalbkhngthi phimphephyaephrodysmakhmwithyasastrebxrlinemux 7 mkrakhm 1924 3 aesdngsmkarkhxngfridaemnthixthibaythungexkphphtamaebbcalxngkhxngfridaemn elxaemthr orebirtsn wxlkekxrpi kh s 1927 phrakhathxlikchawebleyiym chxrch elxaemthr idesnxaebbcalxngkarkhyaytwkhxngexkphphephuxxthibaythungphlsngektkarnkarekhluxnipthangaedngkhxngenbiwlaknhxy aelathanaythungkdkhxnghbebil ekhaxangxingthvsdikhxngtnbnphlngankhxngixnsitnaelaedxsitetxr aelayngsrangsmkarkarkhyaytwkhxngexkphphkhxngfridaemnkhunihmodyxisrapi kh s 1929 exdwin hbebil naesnxphlsngektkarntamthvsdikhxngelxaemthr hbebilkhnphbwa hakyudtaaehnngkhxngolkepnhlk darackrtang kalngekhluxnthihangxxkipinthukthisthangthikhwamerwepnsdswnaeprphntamrayahangcakolk piediywknnn hbebilkb miltn hiwmasn chwyknsrangkdrayahangkhxngkarekhluxnipthangaedngthiichkaridsahrbthukdarackr pccubneraruckkdniinchuxwa kdkhxnghbebil sungemuxaeplngkhakarekhluxnipthangaedngwaepnkarwdkarekhluxnhangxxkip caidphlsxdkhlxngkbphlcaksmkarsmphththphaphthwipkhxngixnsitn sahrbxwkasthimikarkhyaytwaebbsmmatrthukthisthang karkhnphbninaipsurakthanaenwkhidkarkhyaytwkhxngexkphph kdkhxnghbebilbngchiwa yingrayahangrahwangdarackrsxngaehngmakkhunethaid khwamerwsmphththinkaraeykhangkyingmakkhunethann inewlatxmakarkhnphbniidepnrakthankhxngthvsdibikaebngpi kh s 1931 elxaemthrnaesnxnganekhiyneruxng hypothese de l atome primitif smmutithaneruxngxatxmaerkerim xthibaywaexkphpherimtnkhuncak karraebid khxng xatxmaerkerim sungtxmaphayhlngeriykwa bikaebng elxaemthrepnkhnaerkthiyudthuxwa rngsikhxsmik epnesssakthiehluxxyukhxngehtukarnnn aeminpccubneracathrabknaelwwa rngsikhxsmikmikaenidmacakphayindarackrkhxngeraniexng trabcnelxaemthrsinchiwitipimkipi cungmikarkhnphbkaraephrngsiimokhrewfphunhlngkhxngckrwal sungpccubnechuxknwaepnsakkaraephrngsithiehluxxyucakexkphphyukhaerkerimthihnaaennaelarxncdchwngplaykhriststwrrsthi 20 aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidepnewlahlaypithithvsdiekiywkbexkphphthngsxngfayidrbkarsnbsnunthiaeykcakkn cakkhxethccringthiwa thvsdibikaebngsamarthxthibayiddithngkarkaenidkhxngexkphphaelakarsngektphbihodrecnkbhieliymcanwnmakmay khnathithvsdiexkphphkhngthisamarthxthibayidephiyngkarkxtw aetimxacbxkidwathaimcungmikarsngektkarnphbkasmakmayechnnn xyangirkdi phlsngektkarnerimoxnexiyngipinthangsnbsnunaenwkhidthiwa exkphphwiwthnakarmacaksphawathihnaaennaelarxncd wtthuxayueyawechn ekhwsar casamarthsngektphbidephiyngthikhxbkhxngexkphph sungepnkarbngchiwawtthuehlanndarngxyuinewlathiphanmananaesnnanaelw khnathithvsdiexkphphkhngthithanaywa darackrxayunxykhwrcakracdkracayknxyuthwiptlxdthwexkphph thngiklaelaikl khrnemuxmikarkhnphbkaraephrngsiimokhrewfphunhlngkhxngckrwal kduehmuxncaepnhlkthansakhythipidtaythvsdiexkphphkhngthilng cakhlkthankhxmultang inpccubncungthuxknwa thvsdibikaebngepnthvsdithidithisudethathimixyuthisamarthxthibaythungkaenidaelawiwthnakarkhxngckrwalidxnakhtkhxngthvsdi aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxangxing aekikh Seymour Feldman 1967 Gersonides Proofs for the Creation of the Universe Proceedings of the American Academy for Jewish Research 35 113 137 doi 10 2307 3622478 Craig William Lane June 1979 Whitrow and Popper on the Impossibility of an Infinite Past The British Journal for the Philosophy of Science 30 2 165 170 165 6 doi 10 1093 bjps 30 2 165 Friedman A 1922 Uber die Krummung des Raumes Zeitschrift fur Physik 10 1 377 386 doi 10 1007 BF01332580 English translation in Gen Rel Grav 31 1999 1991 2000 and Friedman A 1924 Uber die Moglichkeit einer Welt mit konstanter negativer Krummung des Raumes Zeitschrift fur Physik 21 1 326 332 doi 10 1007 BF01328280 English translation in Gen Rel Grav 31 1999 2001 2008 bthkhwamekiywkbdarasastrhruxckrwalwithyaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul duephimthi sthaniyxy darasastrekhathungcak https th wikipedia org w index php title prawtisastrthvsdibikaebng amp oldid 5602444, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม