fbpx
วิกิพีเดีย

ประเทศอาเซอร์ไบจาน

อาเซอร์ไบจาน (อาเซอร์ไบจาน: Azərbaycan) หรือชื่อทางการว่า สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน (อาเซอร์ไบจาน: Azərbaycan Respublikası) เป็นประเทศในแถบเทือกเขาคอเคซัส บริเวณที่เป็นจุดเชื่อมต่อของภูมิภาคยุโรปตะวันออกกับเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ มีอาณาเขตทิศตะวันออกจรดทะเลแคสเปียน ทิศเหนือติดต่อกับสหพันธรัฐรัสเซีย ทิศตะวันออกเฉียงเหนือติดต่อกับจอร์เจีย ทิศตะวันตกติดต่อกับอาร์มีเนีย และทิศใต้ติดต่อกับอิหร่าน อาเซอร์ไบจานเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต

สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน

Azərbaycan Respublikası (อาเซอร์ไบจาน)
คำขวัญอาเซอร์ไบจาน: Odlar Yurdu
: ดินแดนแห่งไฟนิรันดร
เมืองหลวง
และ ใหญ่สุด
บากู
40°23′43″N 49°52′56″E / 40.39528°N 49.88222°E / 40.39528; 49.88222
ภาษาราชการภาษาอาเซอร์ไบจาน
การปกครองรัฐเดี่ยว ระบบพรรคเด่น สาธารณรัฐระบบกึ่งประธานาธิบดี
• ประธานาธิบดี
อิลฮัม อะลีเยฟ
• รองประธานาธิบดี
Mehriban Aliyeva
• นายกรัฐมนตรี
อะลี อะซาดอฟ
เอกราช 
• ประกาศเอกราช
30 สิงหาคม พ.ศ. 2534
พื้นที่
• รวม
86,600 ตารางกิโลเมตร (33,400 ตารางไมล์) (112)
น้อยมาก
ประชากร
• 2549 ประมาณ
9,164,600 (89)
• สำมะโนประชากร 2543
?
106 ต่อตารางกิโลเมตร (274.5 ต่อตารางไมล์) (81)
จีดีพี (อำนาจซื้อ)2560 (ประมาณ)
• รวม
$ 166.804 พันล้าน
$ 17,432
จีดีพี (ราคาตลาด)2560 (ประมาณ)
• รวม
$ 39.207 พันล้าน
$ 4,097
จีนี (2551)31.8
ปานกลาง
HDI (2562) 0.756
สูง · อันดับที่ 88
สกุลเงินมานัต (AZN)
เขตเวลาUTC+4
• ฤดูร้อน (DST)
UTC+5
รหัสโทรศัพท์994
โดเมนบนสุด.az

สาธารณรัฐปกครองตนเองนาคีเชวาน (ดินแดนส่วนแยกของอาเซอร์ไบจาน) มีอาณาเขตติดต่อกับอาร์มีเนียทางทิศเหนือและทิศตะวันออก ติดต่อกับอิหร่านทางทิศใต้และทิศตะวันตก และติดต่อกับตุรกีทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ส่วนเขตนากอร์โน-คาราบัคทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศ ได้ประกาศเอกราชจากอาเซอร์ไบจานในปี พ.ศ. 2534 แต่ไม่เป็นที่ยอมรับจากนานาชาติ

ภูมิศาสตร์

ภูมิประเทศ ประกอบด้วยเทือกเขาและที่ขรุขระ ทางภาคเหนือเป็นแม่นํ้า The Greater Caucasus ซึ่งมียอดเขา Mount Bazardyuzyu เป็นภูเขาที่สูงที่สุดของประเทศ (4,466 เมตร) ส่วนเทือกเขา The Lesser Caucasus เป็นพรมแดนด้านตะวันออกเฉียงใต้ ภาคกลางของประเทศ จึงเป็นบริเวณที่ราบลุ่มที่สำคัญคือ ลุ่มน้ำ Aras-Kura และที่ราบบริเวณชายฝั่งทะเลสาบ Caspian ที่ราบลุ่มเหล่านี้มีพื้นที่กว่า 4,278 เฮคตาร์ (ใช้เป็นพื้นที่เพาะปลูกประมาณ 1,600 เฮคตาร์ และที่เหลือใช้เลี้ยงสัตว์)มีพื้นที่ป่ากว่า 1 ล้านเฮคตาร์

ภูมิอากาศ อากาศหนาวในเขตเทือกเขาคอเคซัสทางภาคเหนือของอาเซอร์ไบจาน ส่วนบริเวณที่ราบ Kura อากาศเย็นสบาย และมีอากาศแบบเขตร้อนบริเวณที่ราบต่ำ Lenkoran ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของชายฝั่งแคสเปียน (ประมาณ 27 องศาเซลเซียส ในเดือนกรกฎาคม และ 1 องศาเซลเซียส ในเดือนมกราคม)

ประวัติศาสตร์

ดูบทความหลักที่: ประวัติศาสตร์อาเซอร์ไบจาน
 
แผนที่อาเซอร์ไบจาน ค.ศ. 1919

นักประวัติศาสตร์เชื่อว่าชาวอาเซอร์ไบจานสืบเชื้อสายมาจากชนชาติเซลจุคเติร์ก (Seljuk Turks) และชาวเปอร์เซียโบราณ และสันนิษฐานว่าชื่อประเทศในปัจจุบันมาจากภาษาเปอร์เซียโบราณที่แปลว่า “ดินแดนแห่งไฟ” เนื่องจากดินแดนแถบนี้มีทรัพยากรน้ำมันอุดมสมบูรณ์และมีสถานะเป็นศูนย์กลางของศาสนาโซโรอัสเตอร์ (Zoroaster) ซึ่งเป็นกลุ่มชนโบราณที่บูชาไฟ ดินแดนของอาเซอร์ไบจานถูกครอบครองโดยชนเผ่าเติร์กตั้งแต่ศตวรรษที่ 7 จึงทำให้ได้รับการถ่ายทอดวัฒนธรรมแบบมุสลิม ศาสนา และภาษาโดยกลุ่มชนดังกล่าวกว่าหลายศตรวรรษ ต่อมาได้ถูกยึดครองโดยชาวมองโกลตั้งแต่ศตวรรษที่ 13-15 และชาวเปอร์เซีย (อิหร่าน) ในศตวรรษที่ 16 ส่งผลให้อาเซอร์ไบจานรับเอาศาสนาอิสลามนิกายชีอะห์เป็นนิกายประจำชาติ

หลังจากนั้น อาเซอร์ไบจานได้ตกอยู่ภายใต้การครอบครองของหลายชนชาติ อาทิ เปอร์เซีย และออตโตมัน ด้วยเหตุที่เป็นดินแดนที่มีที่ตั้งอยู่ในบริเวณที่เป็นสะพานเชื่อมต่อระหว่างทวีปยุโรปกับเอเชียกลาง รวมทั้งอยู่ติดกับทะเลสาบแคสเปียนซึ่งเป็นบริเวณที่มีน้ำมันอุดมสมบูรณ์ ซึ่งในที่สุดรัสเซียได้ลงนามในสนธิสัญญา Turkmenchay กับเปอร์เซีย ในปี ค.ศ. 1828 เพื่อแบ่งดินแดนของอาเซอร์ไบจานออกจากอาณาจักรเปอร์เซีย และได้ใช้เริ่มสำรวจและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน้ำมันในอาเซอร์ไบจานนับแต่นั้น ซึ่งก่อให้เกิดความเติบโตทางเศรษฐกิจขึ้นในบริเวณดังกล่าวในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 1

อาเซอร์ไบจานได้ประกาศเอกราชครั้งแรกเมื่อเดือนพฤษภาคม ปี ค.ศ. 1918 หลังจากที่จักรวรรดิรัสเซียล่มสลายลง 1 ปี แต่ต่อมาในปี ค.ศ. 1920 กองทัพแดงของพรรคบอลเชวิคได้เข้ารุกรานและมีชัยชนะเหนืออาเซอร์ไบจานรวมทั้งดินแดนอื่นๆ ในส่วนที่เรียกว่าทรานส์คอเคเซีย (ได้แก่ จอร์เจีย อาร์มีเนีย และอาเซอร์ไบจาน) ส่งผลให้ในปี ค.ศ. 1922 อาเซอร์ไบจานได้ถูกผนวกเข้ากับสหภาพโซเวียตในฐานะส่วนหนึ่งของสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคเซียร่วมกับจอร์เจียและอาร์มีเนีย และได้กลายเป็นสาธารณรัฐหนึ่งในสหภาพโซเวียต ในชื่อสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตอาเซอร์ไบจาน เมื่อสหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตทรานส์คอเคเซียล่มสลายลงในปี ค.ศ. 1936

หลังจากนั้น นับแต่ทศวรรษ 1980 อาเซอร์ไบจานประสบกับความวุ่นวายภายในประเทศ รวมทั้งได้เกิดการต่อสู้อย่างรุนแรงกับกองทัพสหภาพโซเวียต ซึ่งส่งผลให้ชาวอาเซอร์ไบจานที่เรียกร้องเอกราชในกรุงบากูเสียชีวิตลงจำนวน 190 คนในปี ค.ศ. 1990 และต่อมาเมื่อสหภาพโซเวียตได้ล่มสลายลงในปี ค.ศ. 1991 อาเซอร์ไบจานก็ได้ประกาศเอกราช.ในที่สุด

การเมือง

รูปแบบการปกครอง

ประชาธิปไตยแบบสาธารณรัฐ รัฐธรรมนูญรับรองโดยประชาชนเมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน ค.ศ. 1995 สถาบันการเมือง • ฝ่ายนิติบัญญัติ - ระบบสภาเดียว (Unicameral) คือ “ Milli Mejlis” หรือ สภาแห่งชาติ (National Assembly) ซึ่งมีสมาชิกจำนวน 125 ที่นั่ง มาจากการเลือกตั้ง โดยตรง (ผลจากการลงประชามติแก้ไขรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม ค.ศ. 2002) มีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี การเลือกตั้งทั่วไปครั้งล่าสุดในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 2005 ผลคือ seats by party - Yeni 58, Azadliq coalition 8, CSP 2, YES 2, Motherland 2, other parties with single seats 7, independents 42, undetermined 4 การเลือกตั้งจะมีครั้งต่อไปปี 2010 • ฝ่ายบริหาร - ประธานาธิบดี เป็นประมุขของประเทศ (Chief of State) มาจากการ เลือกตั้งโดยประชาชน มีวาระการดำรงตำแหน่ง 5 ปี โดยการเลือกตั้ง ครั้งล่าสุดมีขึ้นในวันที่ 15 ตุลาคม ค.ศ. 2003 โดยนาย Ilham Aliyev ได้รับเลือกตั้งเป็นปธน.อาเซอร์ไบจาน ในปีค.ศ.2003 ต่อจากบิดา คือ ปธน. Heydar Aliyev ซึ่งเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจ ท่ามกลางการกล่าวหาว่า รับตำแหน่งอย่างไม่โปรงใส่ ทั้งจากฝ่ายค้านและองค์การระหว่างประเทศ - นายกรัฐมนตรี นายกรัฐมนตรีเป็นหัวหน้ารัฐบาล โดยประธานาธิบดี เป็นผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และคณะรัฐมนตรี (Council of Ministers) โดยการแต่งตั้งต้องได้รับความเห็นชอบจากสภา

ภาพรวมของสถานการณ์การเมืองอาเซอร์ไบจานตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 อาเซอร์ไบจานประกาศเอกราชจากสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 30 สิงหาคม ค.ศ. 1991 โดยนายAyaz Mutalibov ซึ่งเป็นอดีตเลขาธิการพรรคคอมมิวนิสต์แห่งอาเซอร์ไบจานดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนแรก แต่ได้ลาออกจากตำแหน่งหลังจากที่เกิดเหตุการณ์ที่ชาวอาเซอร์ไบจานจำนวนมากถูกสังหารในดินแดนนากอร์โน-คาราบัค (ดินแดนของอาเซอร์ไบจานซึ่งมีชาวอาร์มีเนียจำนวนมากอาศัยอยู่) ต่อมาในการเลือกตั้งปี ค.ศ. 1992 นาย Abulfez Elchibey ผู้นำพรรค Popular Front Party (PFP) ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี แต่ก็ไม่สามารถคลี่คลายสถานการณ์ความขัดแย้งในดินแดนนากอร์โน-คาราบัค และไม่ประสบความสำเร็จในการปฏิรูปเศรษฐกิจรวมทั้งแก้ไขปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง จึงก่อให้เกิดความไม่ พอใจในหมู่ประชาชนจนเกิดการจลาจลสู้รบขึ้นในประเทศ ทำให้ประธานาธิบดี Elchibey ต้องลี้ภัยทางการเมืองไปอยู่ที่เมือง Nakchivan และต่อมารัฐสภาได้แต่งตั้งให้นาย Heydar Aliyev ประธานรัฐสภาในขณะนั้น เป็นผู้รักษาการประธานาธิบดี ซึ่งต่อมานาย Aliyev ซึ่งเป็นหัวหน้าพรรค New Azerbaijan Party ได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งปี ค.ศ. 1992 และดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของอาเซอร์ไบจานเรื่อยมา สถานการณ์ทางการเมืองของอาเซอร์ไบจานกล่าวได้ว่า อำนาจในการปกครองประเทศเกือบทั้งหมดอยู่ในการควบคุมของประธานาธิบดี Heydar Aliyev ซึ่งควบคุมคะแนนเสียงข้างมากในสภาและสมาชิกของพรรคฯ ได้รับตำแหน่งสำคัญๆ ในรัฐบาล อย่างไรก็ดี ยังคงมีปัญหาที่สั่นคลอนเสถียรภาพของ รัฐบาลหลายประการ อาทิ ปัญหาทางการเมืองภายในกับฝ่ายค้านที่พยายามจะแย่งชิงตำแหน่งประธานาธิบดี ในการเลือกตั้งสมัยต่อไป ปัญหาภายในพรรครัฐบาล ข้อกล่าวหาว่ายักยอกเงินกองทุนที่จะนำไปช่วยเหลือผู้อพยพจากการสู้รบกับอาร์มีเนียคาราบัค ปัญหาเรื่องความขัดแย้งเหนือดินแดนนากอร์โน-คาราบัค การเดินขบวนประท้วงในกรุงบากูเพื่อสนับสนุนฝ่ายค้านและต่อต้านการผูกขาดอำนาจในการบริหารประเทศของ ประธานาธิบดี Aliyev การฉ้อราษฎร์บังหลวง การละเมิดสิทธิมนุษยชน และการใช้สื่อของรัฐในการหาเสียงเพื่อประโยชน์ของรัฐบาลเอง เป็นต้น

สถานการณ์การเมืองปัจจุบัน

การเลือกตั้งทั่วไป อาเซอร์ไบจานได้จัดการเลือกตั้งทั่วไปครั้งล่าสุดขึ้นเมื่อปี 2005 ผลคือ seats by party - Yeni 58, Azadliq coalition 8, CSP 2, YES 2, Motherland 2, other parties with single seats 7, independents 42, undetermined 4 การเลือกตั้งจะมีครั้งต่อไปปี 2014

การเลือกตั้งประธานาธิบดี สำหรับการเลือกตั้งประธานาธิบดีครั้งล่าสุด มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2546 ผลการเลือกตั้งปรากฏว่า นาย Ilham Heydar oglu Aliyev นายกรัฐมนตรีและบุตรชายของอดีตประธานาธิบดี Heydar Aliyev ได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งอย่างท่วมท้น โดยได้รับเสียงสนับสนุนร้อยละ 76.84 ในขณะที่นาย Isa Bambar ผู้สมัครคู่แข่ง ได้รับเสียงสนับสนุนเป็นอันดับที่สอง คือ ร้อยละ 10.74 จากจำนวนผู้สมัครทั้งสิ้น 8 ราย โดยสาเหตุที่นาย Ilham Aliyev ได้รับเสียงสนับสนุนจำนวนมาก เนื่องมาจากนาย Heydar Aliyev ซึ่งกำลังป่วยด้วยโรคหัวใจและอยู่ระหว่างรับการรักษาที่สหรัฐฯ ได้ถอนตัวจากการลงสมัครรับเลือกตั้งประธานาธิบดีในครั้งนี้ เพื่อถ่ายโอนคะแนนนิยมให้แก่บุตรชาย ทั้งนี้ นาย Ilham Aliyev อายุ 41 ปี ปัจจุบันดำรงตำแหน่งรองประธานพรรค Yeni Azerbaijan นอกจากนี้ นาย Ilham ยังดำรงตำแหน่งรองประธานหมายเลข 1 ของบริษัทน้ำมันของรัฐ และประธานคณะกรรมการโอลิมปิกแห่งชาติ อย่างไรก็ดี ได้เกิดเหตุการณ์ประท้วงผลการเลือกตั้งดังกล่าวอย่างรุนแรง ประชาชน 60 คน ได้รับความเดือดร้อน เจ้าหน้าที่ของรัฐ 112 ราย ได้รับบาดเจ็บ และผู้สื่อข่าวหลายรายถูกทำร้าย รัฐบาลอาเซอร์ไบจานจึงได้ดำเนินการจับกุมผู้เกี่ยวข้องกับการก่อเหตุการณ์ความไม่สงบทั้งสิ้น 625 ราย

การอสัญกรรมของประธานาธิบดี Heydar Aliyev นาย Haidar Aliyev อดีตประธานาธิบดีสาธารณรัฐอาเซอร์ไบจานได้ถึงแก่อสัญกรรมเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม ค.ศ. 2003 ด้วยอายุ 80 ปี ภายหลังการเดินทางเข้ารับการรักษาอาการหัวใจล้มเหลวและโรคไตที่ Cleveland Clinic Foundation ในสหรัฐฯ นับตั้งแต่วันที่ 6 สิงหาคม ค.ศ. 2003

สถานการณ์ในดินแดนนากอร์โน-คาราบัค นากอร์โน-คาราบัค (Nagorno-Karabakh) ในอดีตเป็นดินแดนปกครองตนเองของสหภาพโซเวียต ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวอาร์มีเนีย นับถือศาสนาคริสต์นิกายออร์โธดอกซ์ ต่อมาในปี ค.ศ. 1923 สหภาพ โซเวียตได้มอบดินแดนนี้ให้แก่อาเซอร์ไบจาน ซึ่งนับถือศาสนาอิสลาม และให้ชาวอาเซอรีเข้าไปตั้งถิ่นฐานในบริเวณดังกล่าว โดยให้ใช้ภาษาอาร์มีเนียเป็นภาษาหลัก นับตั้งแต่ผู้นำท้องถิ่นของชาวอาร์มีเนียในนากอร์โน-คาราบัค ประกาศเอกราชจากอาเซอร์ไบจาน ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1988 จนถึงปัจจุบัน การประกาศเอกราชดังกล่าวก็ยังไม่ได้รับการรับรองจากนานาชาติและอาเซอร์ไบจานถือว่านากอร์โน-คาราบัค เป็นดินแดนกบฏที่ได้รับการสนับสนุนจากอาร์มีเนีย ความขัดแย้งเริ่มเกิดขึ้นพร้อมๆ กับนโยบายปฏิรูป “Perestroika” ของสหภาพโซเวียตในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1988 เมื่อสภาท้องถิ่นของเมือง Stepanakert เมืองหลวงของนากอร์โน-คาราบัค มีมติให้นากอร์โน-คาราบัคประกาศเอกราชจากอาเซอร์ไบจานเพื่อไปรวมตัวกับอาร์มีเนีย รัฐบาลอาเซอร์ไบจาน จึงได้ส่งกองกำลังเข้าไปควบคุมสถานการณ์ในดินแดนดังกล่าวไว้ เหตุการณ์ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยมาจนอาเซอร์ไบจานสามารถเข้ายึดพื้นที่เกือบทั้งหมดของคาราบัคและเมืองหลวง Stepanakert ระหว่างปีค.ศ. 1991-1992 ต่อมารัฐบาลอาร์มีเนียได้ส่งกำลังเข้ารุกรานอาเซอร์ไบจานเพื่อช่วยเหลือกองกำลังคาราบัคระหว่างปีค.ศ. 1993-1994 จนในที่สุดกองกำลังคาราบัคสามารถยึดครองดินแดนส่วนหนึ่งเท่ากับประมาณ 20 % ของสาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน และขับไล่ชาวอาเซอรีประมาณ 600,000 คน ออกจากพื้นที่ สงครามต่อสู้แย่งดินแดนดังกล่าวมีผลทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนกว่า 25,000 คน และมีผู้อพยพจากภัยสงคราม อีกเป็นจำนวนมาก ในที่สุดสงครามระหว่างเชื้อชาติที่ดำเนินมา 6 ปี ได้ยุติลงชั่วคราวในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1994 เมื่ออาเซอร์ไบจานกับอาร์มีเนียได้ร่วมกันจัดทำข้อตกลงหยุดยิงโดยความช่วยเหลือของรัสเซีย อย่างไรก็ตาม จนถึงปัจจุบัน ทั้งสองฝ่ายก็ยังมิได้ปฏิบัติตามข้อตกลงดังกล่าวอย่างแท้จริง ยังคงมีการยิงสู้รบระหว่างกันเป็นระยะๆ ล่าสุดในการพบปะกันระหว่างประธานาธิบดี Aliyev แห่งอาเซอร์ไบจานกับประธานาธิบดี Robert Kocharyan แห่งอาร์มีเนีย ระหว่างการประชุมสุดยอดผู้นำกลุ่มเครือรัฐเอกราชที่กรุงมอสโกเมื่อวันที่ 29 เมษายน ค.ศ.1998 ผู้นำทั้งสองได้ร่วมกันประกาศเจตนารมณ์ที่จะยุติความขัดแย้งเหนือดินแดนนากอร์โน-คาราบัค โดยทั้งสองฝ่ายเรียกร้องให้แต่ละฝ่ายปฏิบัติตามข้อตกลงยุติการยิงที่ทำขึ้นในปีค.ศ. 1994 และให้ดำเนินกระบวนการเพื่อสันติภาพภายใต้กรอบของกลุ่ม Minsk ซึ่งเป็นกลุ่มที่ตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะกิจขององค์การความมั่นคงและความร่วมมือแห่งยุโรป (OSCE) ภายใต้การสนับสนุนของสหรัฐอเมริกาฝรั่งเศส และรัสเซีย จากความล้มเหลวในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง ได้ก่อให้เกิดผลกระทบอย่างรุนแรงภายในภูมิภาค คือทำให้ชาวอาเซอรีกว่าร้อยละ 10 ของประชากรของอาเซอร์ไบจานต้องกลายเป็นผู้อพยพ อาศัยอยู่ตามค่ายอพยพต่างๆ และก่อให้เกิดปัญหาสังคมขึ้นภายในประเทศอีกด้วย นอกจากนั้น การที่อาเซอร์ไบจานกับตุรกีดำเนินการปิดกั้นทางเศรษฐกิจต่อนากอร์โน-คาราบัค และอาร์มีเนีย โดยการปิดชายแดนและเส้นทางรถไฟสายหลัก 3 สาย ซึ่งมีผลทำให้เศรษฐกิจของอาร์มีเนียตกต่ำลงอย่างมาก และยังสั่นคลอนความเชื่อมั่นของนักลงทุนต่างชาติที่เข้ามาลงทุนในอุตสาหกรรมน้ำมันที่ต่างวิตกว่าเส้นทางท่อขนส่งน้ำมันจากทะเลสาบแคสเปียนอาจถูกผลกระทบจากการสู้รบที่อาจจะปะทุขึ้นได้อีก นับตั้งแต่เกิดความขัดแย้งดังกล่าวขึ้น สหประชาชาติก็ได้มีความพยายามในการที่จะระงับ กรณีพิพาทนี้ โดยให้องค์การ OSCE เข้ามามีบทบาทในการจัดตั้งกระบวนการเจรจาสันติภาพ ซึ่งผู้นำอาร์มีเนียได้ปฏิเสธแผนของ OSCE ที่ขอให้อาร์มีเนียถอนกองกำลังออกจากบริเวณนอกเขตนากอร์โน-คาราบัค ที่เป็นพื้นที่ในกรรมสิทธิ์ของอาเซอร์จาน ในขณะเดียวกัน องค์การ OSCE ยังได้เรียกร้องให้นากอร์โน-คาราบัคได้รับอำนาจปกครองตนเองอย่างเต็มที่ ภายใต้อาณาเขตของอาเซอร์ไบจาน ซึ่งประธานาธิบดี Kocharyan ของอาร์มีเนีย ได้ออกมาปฏิเสธที่จะยอมรับข้อตกลงใดๆ ที่จะทำให้ดินแดนนากอร์โน-คาราบัค ต้องกลับไปอยู่ภายใต้การปกครองของอาเซอร์ไบจานอีกครั้ง ตลอดเวลา 10 ปี ของสงครามระหว่างเชื้อชาติ อาเซอร์ไบจานตกอยู่ในฐานะเสียเปรียบและได้กล่าวหาว่ารัสเซียเป็นผู้ให้การสนับสนุนทางการทหารแก่ประเทศอาร์มีเนีย ซึ่งคอยช่วยเหลือชาวอาร์มีเนียในดินแดนนากอร์โน-คาราบัค และการที่อาเซอร์ไบจานทำการปิดกั้นทางเศรษฐกิจต่ออาร์มีเนียและนากอร์โน-คาราบัค ทำให้สหรัฐอเมริกาตอบโต้ด้วยการจำกัดการให้ความช่วยเหลือแก่อาเซอร์ไบจานภายใต้มาตรา 907 ของ Freedom Support Act เมื่อเดือนสิงหาคม ค.ศ. 2002 ประธานาธิบดี Aliyev ได้พบกับประธานาธิบดี Kocharyan ของอาร์มีเนีย เพื่อหารือแนวทางการแก้ไขปัญหานากอร์โน-คาราบัคโดยสันติ แต่ไม่ปรากฏผลคืบหน้าแต่อย่างใด อนึ่ง นับตั้งแต่ประกาศเอกราชอย่างเป็นทางการจากอาเซอร์ไบจานในปี ค.ศ. 1991 นากอร์โน-คาราบัคได้จัดการเลือกตั้งประธานาธิบดีมาแล้วทั้งสิ้น 3 ครั้ง สำหรับการเลือกตั้งประธานาธิบดีครั้งล่าสุดจัดขึ้นเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม ค.ศ. 2001โดยนาย Arkady Gukasian ได้รับเลือกตั้งเป็นประธานาธิบดีสมัยที่สอง

การแบ่งเขตการปกครอง

อาเซอร์ไบจานแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 10 เขตเศรษฐกิจ รวมทั้งหมด 66 จังหวัด (rayonlar, เอกพจน์ rayon) และ 77 เมือง (şəhərlər, เอกพจน์ şəhər) โดยเมือง 12 แห่งในจำนวนดังกล่าวมีหน่วยบริหารขึ้นตรงต่อสาธารณรัฐ นอกจากนี้อาเซอร์ไบจานยังมีเขตปกครองตนเองคือสาธารณรัฐปกครองตนเองนาคีชีวัน รายชื่อจังหวัดและเมืองที่บริหารโดยสาธารณรัฐแบ่งตามเขตเศรษฐกิจ มีดังนี้

หมายเหตุ ชื่อที่เขียนด้วยตัวเอียงมีสถานะเป็นเมือง และในวงเล็บคือชื่อในภาษาอาเซอร์ไบจาน

นโยบายต่างประเทศ

ความสัมพันธ์กับเครือจักรภพรัฐเอกราช

ความสัมพันธ์กับประเทศตะวันตก

ความสัมพันธ์ด้านต่างๆกับประเทศไทย

ความสัมพันธ์อาเซอร์ไบจาน – ไทย
 
 
อาเซอร์ไบจาน
 
ไทย

ความสัมพันธ์ทางการทูต

ความสัมพันธ์ทางการเมือง

ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้า

การท่องเที่ยวของชาวรัสเซียในประเทศไทย

การแลกเปลี่ยนการเยือน

ฝ่ายไทย

กองทัพ

ดูบทความหลักที่: กองทัพอาเซอร์ไบจาน

กองทัพบก

ดูบทความหลักที่: กองทัพบกอาเซอร์ไบจาน

กองทัพอากาศ

ดูบทความหลักที่: กองทัพอากาศอาเซอร์ไบจาน

กองทัพเรือ

ดูบทความหลักที่: กองทัพเรืออาเซอร์ไบจาน

กองกำลังกึ่งทหาร

เศรษฐกิจ

สถานการณ์ทางเศรษฐกิจ

พลังงาน

สินค้าส่งออกหลักของประเทศคือน้ำมันและก๊าซธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ที่มาจากทะเลสาบแคสเปียน มีน้ำมันสำรองอันดับ 3 ของโลก อาเซอร์ไบจานอยู่ระหว่างระยะการเปลี่ยนผ่านทางเศรษฐกิจจากการมีระบบเศรษฐกิจที่รัฐเป็นผู้ควบคุมไปสู่การเปิดเสรีมากขึ้น แต่เดิมอาเซอร์ไบจานเป็นประเทศที่มีพัฒนาการทางด้านอุตสาหกรรมน้อยกว่าอาร์มีเนียและจอร์เจีย โดยมีส่วนคล้ายประเทศในเอเชียกลาง เนื่องจากประชากรส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม มีอัตราการว่างงานสูง และมาตรฐานความเป็นอยู่ที่ต่ำ สินค้าที่สำคัญ ได้แก่ น้ำมัน ฝ้ายและก๊าซธรรมชาติ แต่โดยที่อาเซอร์ไบจานมีทรัพยากรน้ำมันอุดมสมบูรณ์ และตั้งอยู่บริเวณทะเลสาบแคสเปียนซึ่งเป็นแหล่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติใหญ่เป็นอันดับสามของโลก จึงทำให้อาเซอร์ไบจานมีศักยภาพทางเศรษฐกิจที่สูงกว่าประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเดียวกัน ส่งผลให้มีการลงทุนในธุรกิจด้านน้ำมันและก๊าซธรรมชาติในอาเซอร์ไบจานอย่างต่อเนื่อง โดยอาเซอร์ไบจานได้มีสัญญาร่วมลงทุนด้านน้ำมันกับบริษัทน้ำมันต่างชาติหลายบริษัท อาทิ อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐฯ ตุรกี รวมทั้งได้มีการพัฒนาเส้นทางเชื่อมโยงการเชื่อมต่อท่อส่งน้ำมันและก๊าซธรรมชาติผ่านอาเซอร์ไบจานโดยมีเส้นทางสำคัญคือ Baku-Tbilisi-Ceyhan นอกจากนี้ อาเซอร์ไบจานยังได้รับเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศเพื่อกระตุ้นพัฒนาการทางด้านอุตสาหกรรมอีกด้วย ปัจจุบันอาเซอร์ไบจานประสบความสำเร็จในการปฏิรูปเศรษฐกิจในระดับหนึ่ง โดยภายใต้ความร่วมมือกับ IMF อาเซอร์ไบจานสามารถลดระดับเงินเฟ้อจากเดิมสูงถึง 1,800 % ในปี ค.ศ. 1994 เป็น ร้อยละ 1.5 ในปี ค.ศ. 2001 และมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง โดยในปี ค.ศ.2001 มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจร้อยละ 9.9 และ 10.6 ในปี ค.ศ. 2002 รัฐบาลประสบความสำเร็จในการปฏิรูปที่ดินด้านการเกษตร และปฏิรูปรัฐวิสาหกิจขนาดกลาง อย่างไรก็ตาม ยังมีหลายปัจจัยที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ได้แก่ ความขัดแย้งภายในประเทศโดยมีการสู้รบในเขตนากอร์โน-คาราบัค ซึ่งทำให้ชาวต่างประเทศไม่กล้าเข้ามาลงทุนมากนัก การปฏิรูปเศรษฐกิจไปสู่ระบบแบบตลาดยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร ภาวะว่างงานที่สูง และประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ

การท่องเที่ยว

วิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี

การคมนาคม และ โทรคมนาคม

การศึกษา

สาธารณสุข

วัฒนธรรม

ดูบทความหลักที่: วัฒนธรรมอาเซอร์ไบจาน

สถาปัตยกรรม

วรรณกรรม

ดนตรี

นาฎศิลป์

อาหาร

วันสำคัญทางศาสนา

วันหยุด

ประชากร

เชื้อชาติ

9,164,600 คน แบ่งออกเป็น 4 ชาติพันธุ์ใหญ่ ได้แก่ อาเซอรี 93.4 % ดาเกสถาน 1.5 % รัสเซีย 1.5% อาร์มีเนีย 2% อื่น ๆ 1.4 %

ศาสนา

ภาษา

ศาสนาอิสลาม (ชีอะห์) ร้อยละ 93.4 คริสต์นิกายรัสเซียออร์โธดอกซ์ ร้อยละ 2.5 คริสต์นิกายอาร์มีเนียนออโธด็อกซ์ ร้อยละ 2.3 อื่นๆ ร้อยละ 1.8

วัฒนธรรม

อ้างอิง

  1. The International Population Day, The demographic situation in Azerbaijan, The State Statistical Committee of the Republic of Azerbaijan, 11 July 2011
  2. "Human Development Report 2020" (PDF) (ภาษาอังกฤษ). United Nations Development Programme. December 15, 2020. สืบค้นเมื่อ December 15, 2020.
  3. "Azerbaijan". World Bank.
  4. "The State Statistical Committee of the Republic of Azerbaijan, Administrative and territorial units of Azerbaijan Republic". Azstat.org. คลังข้อมูลเก่า เก็บจาก แหล่งเดิม เมื่อ 12 May 2011. Unknown parameter |deadurl= ignored (help)

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิตำรา มีAzerbaijan:
Wikijunior:Countries A-Z
รัฐบาล
  • ประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน
  • คณะกรรมการยุทธศาสตร์แห่งรัฐ
  • United Nations Office in Azerbaijan
ข้อมูลทั่วไป
  • Azerbaijan International
  • Heydar Aliyev Foundation
  • ประเทศอาเซอร์ไบจาน ที่เว็บไซต์ Curlie
  • Azerbaijan entry at The World Factbook
  • Azerbaijan at University of Colorado at Boulder
  • Country profile from BBC
  • Key Development Forecasts for Azerbaijan from International Futures
  •   ดูข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับ ประเทศอาเซอร์ไบจาน ที่ OpenStreetMap
สื่อสารมวลชน
  • Azerbaijan Today
  • Azerbaijan Press Agency


การศึกษา
การท่องเที่ยว
  • Azerbaijan Tourism Portal
  •   Wikimedia Atlas of Azerbaijan

ประเทศอาเซอร, ไบจาน, บทความน, งต, องการเพ, มแหล, งอ, างอ, งเพ, อพ, จน, ความถ, กต, อง, ณสามารถพ, ฒนาบทความน, ได, โดยเพ, มแหล, งอ, างอ, งตามสมควร, เน, อหาท, ขาดแหล, งอ, างอ, งอาจถ, กลบออกอาเซอร, ไบจาน, อาเซอร, ไบจาน, azərbaycan, หร, อช, อทางการว, สาธารณร, ฐอาเซอ. bthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxng khunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxkxaesxribcan xaesxribcan Azerbaycan hruxchuxthangkarwa satharnrthxaesxribcan xaesxribcan Azerbaycan Respublikasi epnpraethsinaethbethuxkekhakhxekhss briewnthiepncudechuxmtxkhxngphumiphakhyuorptawnxxkkbexechiytawntkechiyngit mixanaekhtthistawnxxkcrdthaelaekhsepiyn thisehnuxtidtxkbshphnthrthrsesiy thistawnxxkechiyngehnuxtidtxkbcxreciy thistawntktidtxkbxarmieniy aelathisittidtxkbxihran xaesxribcanekhyepnswnhnungkhxngshphaphosewiytsatharnrthxaesxribcanAzerbaycan Respublikasi xaesxribcan thngchati traaephndinkhakhwy xaesxribcan Odlar Yurdu dinaednaehngifnirndrephlngchati ephlngchatisatharnrthxaesxribcan source source track track track track track emuxnghlwngaela ihysudbaku40 23 43 N 49 52 56 E 40 39528 N 49 88222 E 40 39528 49 88222phasarachkarphasaxaesxribcankarpkkhrxngrthediyw rabbphrrkhedn satharnrthrabbkungprathanathibdi prathanathibdixilhm xalieyf rxngprathanathibdiMehriban Aliyeva naykrthmntrixali xasadxfexkrach cakshphaphosewiyt prakasexkrach30 singhakhm ph s 2534phunthi rwm86 600 tarangkiolemtr 33 400 tarangiml 112 aehlngna nxymakprachakr 2549 praman9 164 600 1 89 samaonprachakr 2543 khwamhnaaenn106 txtarangkiolemtr 274 5 txtarangiml 81 cidiphi xanacsux 2560 praman rwm 166 804 phnlan txhw 17 432cidiphi rakhatlad 2560 praman rwm 39 207 phnlan txhw 4 097cini 2551 31 8panklangHDI 2562 0 756 2 sung xndbthi 88skulenginmant AZN ekhtewlaUTC 4 vdurxn DST UTC 5rhsothrsphth994odemnbnsud azsatharnrthpkkhrxngtnexngnakhiechwan dinaednswnaeykkhxngxaesxribcan mixanaekhttidtxkbxarmieniythangthisehnuxaelathistawnxxk tidtxkbxihranthangthisitaelathistawntk aelatidtxkbturkithangthistawntkechiyngehnux swnekhtnakxron kharabkhthangphakhtawntkechiyngitkhxngpraeths idprakasexkrachcakxaesxribcaninpi ph s 2534 aetimepnthiyxmrbcaknanachati enuxha 1 phumisastr 2 prawtisastr 3 karemuxng 3 1 rupaebbkarpkkhrxng 3 2 sthankarnkaremuxngpccubn 4 karaebngekhtkarpkkhrxng 5 noybaytangpraeths 5 1 khwamsmphnthkbekhruxckrphphrthexkrach 5 2 khwamsmphnthkbpraethstawntk 5 3 khwamsmphnthdantangkbpraethsithy 5 3 1 khwamsmphnththangkarthut 5 3 2 khwamsmphnththangkaremuxng 5 3 3 khwamsmphnththangesrsthkicaelakarkha 5 3 4 karthxngethiywkhxngchawrsesiyinpraethsithy 5 3 5 karaelkepliynkareyuxn 5 3 5 1 fayithy 6 kxngthph 6 1 kxngthphbk 6 2 kxngthphxakas 6 3 kxngthpherux 6 4 kxngkalngkungthhar 7 esrsthkic 7 1 sthankarnthangesrsthkic 7 2 phlngngan 7 3 karthxngethiyw 8 withyasastr aela ethkhonolyi 9 karkhmnakhm aela othrkhmnakhm 10 karsuksa 11 satharnsukh 12 wthnthrrm 12 1 sthaptykrrm 12 2 wrrnkrrm 12 3 dntri 12 4 nadsilp 12 5 xahar 12 6 wnhyud 13 prachakr 13 1 echuxchati 13 2 sasna 13 3 phasa 14 wthnthrrm 15 xangxing 16 aehlngkhxmulxunphumisastr aekikhphumipraeths prakxbdwyethuxkekhaaelathikhrukhra thangphakhehnuxepnaemna The Greater Caucasus sungmiyxdekha Mount Bazardyuzyu epnphuekhathisungthisudkhxngpraeths 4 466 emtr swnethuxkekha The Lesser Caucasus epnphrmaedndantawnxxkechiyngit phakhklangkhxngpraeths cungepnbriewnthirablumthisakhykhux lumna Aras Kura aelathirabbriewnchayfngthaelsab Caspian thirablumehlanimiphunthikwa 4 278 ehkhtar ichepnphunthiephaaplukpraman 1 600 ehkhtar aelathiehluxicheliyngstw miphunthipakwa 1 lanehkhtarphumixakas xakashnawinekhtethuxkekhakhxekhssthangphakhehnuxkhxngxaesxribcan swnbriewnthirab Kura xakaseynsbay aelamixakasaebbekhtrxnbriewnthirabta Lenkoran thangphakhtawnxxkechiyngitkhxngchayfngaekhsepiyn praman 27 xngsaeslesiys ineduxnkrkdakhm aela 1 xngsaeslesiys ineduxnmkrakhm prawtisastr aekikhdubthkhwamhlkthi prawtisastrxaesxribcan aephnthixaesxribcan kh s 1919 nkprawtisastrechuxwachawxaesxribcansubechuxsaymacakchnchatieslcukhetirk Seljuk Turks aelachawepxresiyobran aelasnnisthanwachuxpraethsinpccubnmacakphasaepxresiyobranthiaeplwa dinaednaehngif enuxngcakdinaednaethbnimithrphyakrnamnxudmsmburnaelamisthanaepnsunyklangkhxngsasnaosorxsetxr Zoroaster sungepnklumchnobranthibuchaif dinaednkhxngxaesxribcanthukkhrxbkhrxngodychnephaetirktngaetstwrrsthi 7 cungthaihidrbkarthaythxdwthnthrrmaebbmuslim sasna aelaphasaodyklumchndngklawkwahlaystrwrrs txmaidthukyudkhrxngodychawmxngokltngaetstwrrsthi 13 15 aelachawepxresiy xihran instwrrsthi 16 sngphlihxaesxribcanrbexasasnaxislamnikaychixahepnnikaypracachatihlngcaknn xaesxribcanidtkxyuphayitkarkhrxbkhrxngkhxnghlaychnchati xathi epxresiy aelaxxtotmn dwyehtuthiepndinaednthimithitngxyuinbriewnthiepnsaphanechuxmtxrahwangthwipyuorpkbexechiyklang rwmthngxyutidkbthaelsabaekhsepiynsungepnbriewnthiminamnxudmsmburn sunginthisudrsesiyidlngnaminsnthisyya Turkmenchay kbepxresiy inpi kh s 1828 ephuxaebngdinaednkhxngxaesxribcanxxkcakxanackrepxresiy aelaidicherimsarwcaelaichpraoychncakthrphyakrnamninxaesxribcannbaetnn sungkxihekidkhwametibotthangesrsthkickhuninbriewndngklawinchwngkxnsngkhramolkkhrngthi 1xaesxribcanidprakasexkrachkhrngaerkemuxeduxnphvsphakhm pi kh s 1918 hlngcakthickrwrrdirsesiylmslaylng 1 pi aettxmainpi kh s 1920 kxngthphaedngkhxngphrrkhbxlechwikhidekharukranaelamichychnaehnuxxaesxribcanrwmthngdinaednxun inswnthieriykwathranskhxekhesiy idaek cxreciy xarmieniy aelaxaesxribcan sngphlihinpi kh s 1922 xaesxribcanidthukphnwkekhakbshphaphosewiytinthanaswnhnungkhxngshphnthsatharnrthsngkhmniymosewiytthranskhxekhesiyrwmkbcxreciyaelaxarmieniy aelaidklayepnsatharnrthhnunginshphaphosewiyt inchuxsatharnrthsngkhmniymosewiytxaesxribcan emuxshphnthsatharnrthsngkhmniymosewiytthranskhxekhesiylmslaylnginpi kh s 1936hlngcaknn nbaetthswrrs 1980 xaesxribcanprasbkbkhwamwunwayphayinpraeths rwmthngidekidkartxsuxyangrunaerngkbkxngthphshphaphosewiyt sungsngphlihchawxaesxribcanthieriykrxngexkrachinkrungbakuesiychiwitlngcanwn 190 khninpi kh s 1990 aelatxmaemuxshphaphosewiytidlmslaylnginpi kh s 1991 xaesxribcankidprakasexkrach inthisudkaremuxng aekikhrupaebbkarpkkhrxng aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidprachathipityaebbsatharnrth rththrrmnuyrbrxngodyprachachnemuxwnthi 12 phvscikayn kh s 1995 sthabnkaremuxng faynitibyyti rabbsphaediyw Unicameral khux Milli Mejlis hrux sphaaehngchati National Assembly sungmismachikcanwn 125 thinng macakkareluxktng odytrng phlcakkarlngprachamtiaekikhrththrrmnuyemuxwnthi 24 singhakhm kh s 2002 miwarakardarngtaaehnng 5 pi kareluxktngthwipkhrnglasudineduxnphvscikayn kh s 2005 phlkhux seats by party Yeni 58 Azadliq coalition 8 CSP 2 YES 2 Motherland 2 other parties with single seats 7 independents 42 undetermined 4 kareluxktngcamikhrngtxippi 2010 faybrihar prathanathibdi epnpramukhkhxngpraeths Chief of State macakkar eluxktngodyprachachn miwarakardarngtaaehnng 5 pi odykareluxktng khrnglasudmikhuninwnthi 15 tulakhm kh s 2003 odynay Ilham Aliyev idrbeluxktngepnpthn xaesxribcan inpikh s 2003 txcakbida khux pthn Heydar Aliyev sungesiychiwitdwyorkhhwic thamklangkarklawhawa rbtaaehnngxyangimoprngis thngcakfaykhanaelaxngkhkarrahwangpraeths naykrthmntri naykrthmntriepnhwhnarthbal odyprathanathibdi epnphuaetngtngnaykrthmntri rxngnaykrthmntri aelakhnarthmntri Council of Ministers odykaraetngtngtxngidrbkhwamehnchxbcaksphaphaphrwmkhxngsthankarnkaremuxngxaesxribcantngaetpi kh s 1990 xaesxribcanprakasexkrachcakshphaphosewiytemuxwnthi 30 singhakhm kh s 1991 odynayAyaz Mutalibov sungepnxditelkhathikarphrrkhkhxmmiwnistaehngxaesxribcandarngtaaehnngprathanathibdikhnaerk aetidlaxxkcaktaaehnnghlngcakthiekidehtukarnthichawxaesxribcancanwnmakthuksngharindinaednnakxron kharabkh dinaednkhxngxaesxribcansungmichawxarmieniycanwnmakxasyxyu txmainkareluxktngpi kh s 1992 nay Abulfez Elchibey phunaphrrkh Popular Front Party PFP idrbeluxkepnprathanathibdi aetkimsamarthkhlikhlaysthankarnkhwamkhdaeyngindinaednnakxron kharabkh aelaimprasbkhwamsaercinkarptirupesrsthkicrwmthngaekikhpyhakarchxrasdrbnghlwng cungkxihekidkhwamim phxicinhmuprachachncnekidkarclaclsurbkhuninpraeths thaihprathanathibdi Elchibey txngliphythangkaremuxngipxyuthiemuxng Nakchivan aelatxmarthsphaidaetngtngihnay Heydar Aliyev prathanrthsphainkhnann epnphurksakarprathanathibdi sungtxmanay Aliyev sungepnhwhnaphrrkh New Azerbaijan Party idrbchychnainkareluxktngpi kh s 1992 aeladarngtaaehnngprathanathibdikhxngxaesxribcaneruxyma sthankarnthangkaremuxngkhxngxaesxribcanklawidwa xanacinkarpkkhrxngpraethsekuxbthnghmdxyuinkarkhwbkhumkhxngprathanathibdi Heydar Aliyev sungkhwbkhumkhaaennesiyngkhangmakinsphaaelasmachikkhxngphrrkh idrbtaaehnngsakhy inrthbal xyangirkdi yngkhngmipyhathisnkhlxnesthiyrphaphkhxng rthbalhlayprakar xathi pyhathangkaremuxngphayinkbfaykhanthiphyayamcaaeyngchingtaaehnngprathanathibdi inkareluxktngsmytxip pyhaphayinphrrkhrthbal khxklawhawaykyxkenginkxngthunthicanaipchwyehluxphuxphyphcakkarsurbkbxarmieniykharabkh pyhaeruxngkhwamkhdaeyngehnuxdinaednnakxron kharabkh karedinkhbwnprathwnginkrungbakuephuxsnbsnunfaykhanaelatxtankarphukkhadxanacinkarbriharpraethskhxng prathanathibdi Aliyev karchxrasdrbnghlwng karlaemidsiththimnusychn aelakarichsuxkhxngrthinkarhaesiyngephuxpraoychnkhxngrthbalexng epntn sthankarnkaremuxngpccubn aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid kareluxktngthwip xaesxribcanidcdkareluxktngthwipkhrnglasudkhunemuxpi 2005 phlkhux seats by party Yeni 58 Azadliq coalition 8 CSP 2 YES 2 Motherland 2 other parties with single seats 7 independents 42 undetermined 4 kareluxktngcamikhrngtxippi 2014 kareluxktngprathanathibdi sahrbkareluxktngprathanathibdikhrnglasud mikhunemuxwnthi 15 tulakhm 2546 phlkareluxktngpraktwa nay Ilham Heydar oglu Aliyev naykrthmntriaelabutrchaykhxngxditprathanathibdi Heydar Aliyev idrbchychnainkareluxktngxyangthwmthn odyidrbesiyngsnbsnunrxyla 76 84 inkhnathinay Isa Bambar phusmkhrkhuaekhng idrbesiyngsnbsnunepnxndbthisxng khux rxyla 10 74 cakcanwnphusmkhrthngsin 8 ray odysaehtuthinay Ilham Aliyev idrbesiyngsnbsnuncanwnmak enuxngmacaknay Heydar Aliyev sungkalngpwydwyorkhhwicaelaxyurahwangrbkarrksathishrth idthxntwcakkarlngsmkhrrbeluxktngprathanathibdiinkhrngni ephuxthayoxnkhaaennniymihaekbutrchay thngni nay Ilham Aliyev xayu 41 pi pccubndarngtaaehnngrxngprathanphrrkh Yeni Azerbaijan nxkcakni nay Ilham yngdarngtaaehnngrxngprathanhmayelkh 1 khxngbristhnamnkhxngrth aelaprathankhnakrrmkaroxlimpikaehngchati xyangirkdi idekidehtukarnprathwngphlkareluxktngdngklawxyangrunaerng prachachn 60 khn idrbkhwameduxdrxn ecahnathikhxngrth 112 ray idrbbadecb aelaphusuxkhawhlayraythuktharay rthbalxaesxribcancungiddaeninkarcbkumphuekiywkhxngkbkarkxehtukarnkhwamimsngbthngsin 625 ray karxsykrrmkhxngprathanathibdi Heydar Aliyev nay Haidar Aliyev xditprathanathibdisatharnrthxaesxribcanidthungaekxsykrrmemuxwnthi 12 thnwakhm kh s 2003 dwyxayu 80 pi phayhlngkaredinthangekharbkarrksaxakarhwiclmehlwaelaorkhitthi Cleveland Clinic Foundation inshrth nbtngaetwnthi 6 singhakhm kh s 2003 sthankarnindinaednnakxron kharabkh nakxron kharabkh Nagorno Karabakh inxditepndinaednpkkhrxngtnexngkhxngshphaphosewiyt prachakrswnihyepnchawxarmieniy nbthuxsasnakhristnikayxxrothdxks txmainpi kh s 1923 shphaph osewiytidmxbdinaednniihaekxaesxribcan sungnbthuxsasnaxislam aelaihchawxaesxriekhaiptngthinthaninbriewndngklaw odyihichphasaxarmieniyepnphasahlk nbtngaetphunathxngthinkhxngchawxarmieniyinnakxron kharabkh prakasexkrachcakxaesxribcan ineduxnsinghakhm kh s 1988 cnthungpccubn karprakasexkrachdngklawkyngimidrbkarrbrxngcaknanachatiaelaxaesxribcanthuxwanakxron kharabkh epndinaednkbtthiidrbkarsnbsnuncakxarmieniy khwamkhdaeyngerimekidkhunphrxm kbnoybayptirup Perestroika khxngshphaphosewiytineduxnkumphaphnth kh s 1988 emuxsphathxngthinkhxngemuxng Stepanakert emuxnghlwngkhxngnakxron kharabkh mimtiihnakxron kharabkhprakasexkrachcakxaesxribcanephuxiprwmtwkbxarmieniy rthbalxaesxribcan cungidsngkxngkalngekhaipkhwbkhumsthankarnindinaedndngklawiw ehtukarnthwikhwamrunaerngkhuneruxymacnxaesxribcansamarthekhayudphunthiekuxbthnghmdkhxngkharabkhaelaemuxnghlwng Stepanakert rahwangpikh s 1991 1992 txmarthbalxarmieniyidsngkalngekharukranxaesxribcanephuxchwyehluxkxngkalngkharabkhrahwangpikh s 1993 1994 cninthisudkxngkalngkharabkhsamarthyudkhrxngdinaednswnhnungethakbpraman 20 khxngsatharnrthxaesxribcan aelakhbilchawxaesxripraman 600 000 khn xxkcakphunthi sngkhramtxsuaeyngdinaedndngklawmiphlthaihmiphuesiychiwitcanwnkwa 25 000 khn aelamiphuxphyphcakphysngkhram xikepncanwnmak inthisudsngkhramrahwangechuxchatithidaeninma 6 pi idyutilngchwkhrawineduxnphvsphakhm kh s 1994 emuxxaesxribcankbxarmieniyidrwmkncdthakhxtklnghyudyingodykhwamchwyehluxkhxngrsesiy xyangirktam cnthungpccubn thngsxngfaykyngmiidptibtitamkhxtklngdngklawxyangaethcring yngkhngmikaryingsurbrahwangknepnraya lasudinkarphbpaknrahwangprathanathibdi Aliyev aehngxaesxribcankbprathanathibdi Robert Kocharyan aehngxarmieniy rahwangkarprachumsudyxdphunaklumekhruxrthexkrachthikrungmxsokemuxwnthi 29 emsayn kh s 1998 phunathngsxngidrwmknprakasectnarmnthicayutikhwamkhdaeyngehnuxdinaednnakxron kharabkh odythngsxngfayeriykrxngihaetlafayptibtitamkhxtklngyutikaryingthithakhuninpikh s 1994 aelaihdaeninkrabwnkarephuxsntiphaphphayitkrxbkhxngklum Minsk sungepnklumthitngkhunepnkarechphaakickhxngxngkhkarkhwammnkhngaelakhwamrwmmuxaehngyuorp OSCE phayitkarsnbsnunkhxngshrthxemrikafrngess aelarsesiy cakkhwamlmehlwinkaraekikhpyhakhwamkhdaeyng idkxihekidphlkrathbxyangrunaerngphayinphumiphakh khuxthaihchawxaesxrikwarxyla 10 khxngprachakrkhxngxaesxribcantxngklayepnphuxphyph xasyxyutamkhayxphyphtang aelakxihekidpyhasngkhmkhunphayinpraethsxikdwy nxkcaknn karthixaesxribcankbturkidaeninkarpidknthangesrsthkictxnakxron kharabkh aelaxarmieniy odykarpidchayaednaelaesnthangrthifsayhlk 3 say sungmiphlthaihesrsthkickhxngxarmieniytktalngxyangmak aelayngsnkhlxnkhwamechuxmnkhxngnklngthuntangchatithiekhamalngthuninxutsahkrrmnamnthitangwitkwaesnthangthxkhnsngnamncakthaelsabaekhsepiynxacthukphlkrathbcakkarsurbthixaccapathukhunidxik nbtngaetekidkhwamkhdaeyngdngklawkhun shprachachatikidmikhwamphyayaminkarthicarangb krniphiphathni odyihxngkhkar OSCE ekhamamibthbathinkarcdtngkrabwnkarecrcasntiphaph sungphunaxarmieniyidptiesthaephnkhxng OSCE thikhxihxarmieniythxnkxngkalngxxkcakbriewnnxkekhtnakxron kharabkh thiepnphunthiinkrrmsiththikhxngxaesxrcan inkhnaediywkn xngkhkar OSCE yngideriykrxngihnakxron kharabkhidrbxanacpkkhrxngtnexngxyangetmthi phayitxanaekhtkhxngxaesxribcan sungprathanathibdi Kocharyan khxngxarmieniy idxxkmaptiesththicayxmrbkhxtklngid thicathaihdinaednnakxron kharabkh txngklbipxyuphayitkarpkkhrxngkhxngxaesxribcanxikkhrng tlxdewla 10 pi khxngsngkhramrahwangechuxchati xaesxribcantkxyuinthanaesiyepriybaelaidklawhawarsesiyepnphuihkarsnbsnunthangkarthharaekpraethsxarmieniy sungkhxychwyehluxchawxarmieniyindinaednnakxron kharabkh aelakarthixaesxribcanthakarpidknthangesrsthkictxxarmieniyaelanakxron kharabkh thaihshrthxemrikatxbotdwykarcakdkarihkhwamchwyehluxaekxaesxribcanphayitmatra 907 khxng Freedom Support Act emuxeduxnsinghakhm kh s 2002 prathanathibdi Aliyev idphbkbprathanathibdi Kocharyan khxngxarmieniy ephuxharuxaenwthangkaraekikhpyhanakxron kharabkhodysnti aetimpraktphlkhubhnaaetxyangid xnung nbtngaetprakasexkrachxyangepnthangkarcakxaesxribcaninpi kh s 1991 nakxron kharabkhidcdkareluxktngprathanathibdimaaelwthngsin 3 khrng sahrbkareluxktngprathanathibdikhrnglasudcdkhunemuxwnthi 11 singhakhm kh s 2001odynay Arkady Gukasian idrbeluxktngepnprathanathibdismythisxngkaraebngekhtkarpkkhrxng aekikhdubthkhwamhlkthi ekhtkarpkkhrxngkhxngxaesxribcan xaesxribcanaebngekhtkarpkkhrxngxxkepn 10 ekhtesrsthkic rwmthnghmd 66 cnghwd rayonlar exkphcn rayon aela 77 emuxng seherler exkphcn seher odyemuxng 12 aehngincanwndngklawmihnwybriharkhuntrngtxsatharnrth 4 nxkcaknixaesxribcanyngmiekhtpkkhrxngtnexngkhuxsatharnrthpkkhrxngtnexngnakhichiwn raychuxcnghwdaelaemuxngthibriharodysatharnrthaebngtamekhtesrsthkic midngni hmayehtu chuxthiekhiyndwytwexiyngmisthanaepnemuxng aelainwngelbkhuxchuxinphasaxaesxribcanekhtesrsthkicxbechrxnxbechrxn Abseron khisi Xizi baku Baki sumikxit Sumqayit ekhtesrsthkicxarnxkcabadi Agcabedi xkdch Agdas barda Berde ebylakn Beyleqan bilasuwar Bilesuvar kxyich Goycay hacikabul Haciqabul ximichli Imisli khurdamir Kurdemir enftchala Neftcala satli Saatli sabirabd Sabirabad salyn Salyan xucar Ucar eyflkh Yevlax sardb Zerdab minkaechwir Mingecevir chirwn Sirvan eyflkh Yevlax dkhlikchirwnxksu Agsu okbusthan Qobustan xismayilli Ismayilli chamaki Samaxi knca kaskhxkstafa Agstafa dchkhasn Daskesen kadaib Gedebey kaskh Qazax kxykxl Goygol okrnbxy Goranboy samukh Samux chmkhir Semkir otwus Tovuz knca Gence naftaln Naftalan kuba khchmskuba Quba kusar Qusar khchms Xacmaz chabrn Sabran siyasn Siyezen khlbacar lachinkubdli Qubadli khlbacar Kelbecer lachin Lacin snkilan Zengilan lnkharnxstara Astara calilabd Celilabad lnkharn Lenkeran elrikh Lerik maslli Masalli yardimli Yardimli lnkharn Lenkeran nakhichiwnbaebkh Babek culfa Culfa khnkarli Kengerli xxrdubd Ordubad sadarkh Sederek chkhbus Sahbuz charur Serur nakhichiwn Naxcivan chakhi sakatalabalakhn Balaken kabala Qebele kkh Qax oxkus Oguz chakhi Seki sakatala Zaqatala chakhi Seki yukharikarabkhxkdm Agdam fusuli Fuzuli cabrayil Cebrayil okhcali Xocali okhcawnd Xocavend chucha Susa tartar Terter khanaekndi Xankendi chucha Susa ekhtkarpkkhrxngkhxngxaesxribcanthng 66 cnghwdaela 12 emuxngnoybaytangpraeths aekikhkhwamsmphnthkbekhruxckrphphrthexkrach aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkhwamsmphnthkbpraethstawntk aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkhwamsmphnthdantangkbpraethsithy aekikh khwamsmphnthxaesxribcan ithy xaesxribcan ithykhwamsmphnththangkarthut aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkhwamsmphnththangkaremuxng aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkhwamsmphnththangesrsthkicaelakarkha aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarthxngethiywkhxngchawrsesiyinpraethsithy aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkaraelkepliynkareyuxn aekikh fayithy aekikhkxngthph aekikhdubthkhwamhlkthi kxngthphxaesxribcan kxngthphbk aekikh dubthkhwamhlkthi kxngthphbkxaesxribcan kxngthphxakas aekikh dubthkhwamhlkthi kxngthphxakasxaesxribcan kxngthpherux aekikh dubthkhwamhlkthi kxngthpheruxxaesxribcan kxngkalngkungthhar aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidesrsthkic aekikhsthankarnthangesrsthkic aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidphlngngan aekikh sinkhasngxxkhlkkhxngpraethskhuxnamnaelakasthrrmchatithixudmsmburnthimacakthaelsabaekhsepiyn minamnsarxngxndb 3 khxngolk xaesxribcanxyurahwangrayakarepliynphanthangesrsthkiccakkarmirabbesrsthkicthirthepnphukhwbkhumipsukarepidesrimakkhun aetedimxaesxribcanepnpraethsthimiphthnakarthangdanxutsahkrrmnxykwaxarmieniyaelacxreciy odymiswnkhlaypraethsinexechiyklang enuxngcakprachakrswnihynbthuxsasnaxislam mixtrakarwangngansung aelamatrthankhwamepnxyuthita sinkhathisakhy idaek namn fayaelakasthrrmchati aetodythixaesxribcanmithrphyakrnamnxudmsmburn aelatngxyubriewnthaelsabaekhsepiynsungepnaehlngnamnaelakasthrrmchatiihyepnxndbsamkhxngolk cungthaihxaesxribcanmiskyphaphthangesrsthkicthisungkwapraethsxun inphumiphakhediywkn sngphlihmikarlngthuninthurkicdannamnaelakasthrrmchatiinxaesxribcanxyangtxenuxng odyxaesxribcanidmisyyarwmlngthundannamnkbbristhnamntangchatihlaybristh xathi xngkvs frngess shrth turki rwmthngidmikarphthnaesnthangechuxmoyngkarechuxmtxthxsngnamnaelakasthrrmchatiphanxaesxribcanodymiesnthangsakhykhux Baku Tbilisi Ceyhan nxkcakni xaesxribcanyngidrbenginchwyehluxcaktangpraethsephuxkratunphthnakarthangdanxutsahkrrmxikdwy pccubnxaesxribcanprasbkhwamsaercinkarptirupesrsthkicinradbhnung odyphayitkhwamrwmmuxkb IMF xaesxribcansamarthldradbenginefxcakedimsungthung 1 800 inpi kh s 1994 epn rxyla 1 5 inpi kh s 2001 aelamixtrakarecriyetibotthangesrsthkicxyangtxenuxng odyinpi kh s 2001 mixtrakarecriyetibotthangesrsthkicrxyla 9 9 aela 10 6 inpi kh s 2002 rthbalprasbkhwamsaercinkarptirupthidindankarekstr aelaptiruprthwisahkickhnadklang xyangirktam yngmihlaypccythixacepnxupsrrkhtxkarphthnaesrsthkickhxngpraeths idaek khwamkhdaeyngphayinpraethsodymikarsurbinekhtnakxron kharabkh sungthaihchawtangpraethsimklaekhamalngthunmaknk karptirupesrsthkicipsurabbaebbtladyngimprasbphlsaercethathikhwr phawawangnganthisung aelaprachachnswnihykhxngpraeths karthxngethiyw aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidwithyasastr aela ethkhonolyi aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarkhmnakhm aela othrkhmnakhm aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidkarsuksa aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidsatharnsukh aekikhswnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidwthnthrrm aekikhdubthkhwamhlkthi wthnthrrmxaesxribcan sthaptykrrm aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidwrrnkrrm aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniiddntri aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidnadsilp aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidxahar aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidwnsakhythangsasna wnhyud aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidprachakr aekikhechuxchati aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniid9 164 600 1 khn aebngxxkepn 4 chatiphnthuihy idaek xaesxri 93 4 daeksthan 1 5 rsesiy 1 5 xarmieniy 2 xun 1 4 sasna aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidphasa aekikh swnnirxephimetimkhxmul khunsamarthchwyephimkhxmulswnniidsasnaxislam chixah rxyla 93 4 khristnikayrsesiyxxrothdxks rxyla 2 5 khristnikayxarmieniynxxothdxks rxyla 2 3 xun rxyla 1 8wthnthrrm aekikhxangxing aekikh 1 0 1 1 The International Population Day The demographic situation in Azerbaijan The State Statistical Committee of the Republic of Azerbaijan 11 July 2011 Human Development Report 2020 PDF phasaxngkvs United Nations Development Programme December 15 2020 subkhnemux December 15 2020 Azerbaijan World Bank The State Statistical Committee of the Republic of Azerbaijan Administrative and territorial units of Azerbaijan Republic Azstat org khlngkhxmuleka ekbcak aehlngedim emux 12 May 2011 Unknown parameter deadurl ignored help aehlngkhxmulxun aekikh wikitara miAzerbaijan Wikijunior Countries A Z khnhaekiywkb Azerbaijan ephimthiokhrngkarphinxngkhxngwikiphiediy bthniyam cakwikiphcnanukrm sux cakkhxmmxns thrphyakrkareriyn cakwikiwithyaly xyphcn cakwikikhakhm khxkhwamtnchbb cakwikisxrs tara cakwikitararthbalprathanathibdiaehngsatharnrthxaesxribcan khnakrrmkaryuththsastraehngrth United Nations Office in AzerbaijankhxmulthwipAzerbaijan International Heydar Aliyev Foundation praethsxaesxribcan thiewbist Curlie Azerbaijan entry at The World Factbook Azerbaijan at University of Colorado at Boulder Country profile from BBC Key Development Forecasts for Azerbaijan from International Futures dukhxmulthangphumisastrthiekiywkhxngkb praethsxaesxribcan thi OpenStreetMapsuxsarmwlchnAzerbaijan Today Azerbaijan Press Agency karsuksakarthxngethiywAzerbaijan Tourism Portal Wikimedia Atlas of Azerbaijanekhathungcak https th wikipedia org w index php title praethsxaesxribcan amp oldid 9439616, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม