fbpx
วิกิพีเดีย

ปรัชญา

คำว่า ปรัชญา (มีที่มาจากภาษาสันสกฤต प्रज्ञा ปฺรชฺญา) หมายถึง "ความรู้" (ซึ่งเป็นคำเดียวกันใน ภาษาบาลี คือคำว่า ปัญญา) เป็นศัพท์บัญญัติแทนคำว่า philosophy ในภาษาอังกฤษ (ที่มีรากศัพท์มาจากคำกรีกโบราณ: Φιλοσοφία ฟีโลโซเฟีย) ซึ่งอาจเป็นไปได้ที่้พีทาโกรัสเป็นผู้บัญญัติไว้ เมื่อราวปี 570-495 ก่อนค.ศ. โดยเกิดจากการสมาสคำว่า φιλος พีลอส แปลว่า ความรัก และ σοφία โซเฟีย แปลว่าความรู้ เมื่อรวมกันจึงมีความหมายว่า ความรักในความรู้ หรือ ความปรารถนาจะเข้าถึงความรู้

ปรัชญา ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า วิชาว่าด้วยหลักแห่งความรู้และหลักแห่งความจริง โดยในบรรดาความรู้ทั้งหลายของมนุษยชาตินั้น อาจแบ่งได้เป็นสองเรื่องใหญ่ ๆ

เรื่องที่หนึ่ง คือ เรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติ เช่น ฟิสิกส์ มีเป้าหมายในการศึกษาเพื่อหาความจริงต่าง ๆ และเข้าใจในธรรมชาติมากกว่าสิ่งรอบตัวเพราะรวมไปถึงจักรวาลทั้งหมดอย่างลึกซึ้ง ชีววิทยา มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับสิ่งที่มีชีวิตทั้งหลาย เคมี มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับธาตุและองค์ประกอบของธาตุ เป็นต้น นับแต่สมัยกรีกโบราณมาจนถึงศตวรรษที่ 19 การศึกษาวิชาดาราศาสตร์ การแพทย์ และฟิสิกส์ เคยถูกรวมอยู่สาขาปรัชญาธรรมชาติ (Natural philosophy) จนกระทั่งการเติบโตของมหาวิทยาลัยสมัยใหม่ ส่งผลให้นักวิชาการหันไปพัฒนาศาสตร์เฉพาะทางขึ้นมา

เรื่องที่สอง คือ เรื่องเกี่ยวกับสังคม เช่น เศรษฐศาสตร์ มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจของสังคม รัฐศาสตร์ มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบการเมืองการปกครองของสังคม นิติศาสตร์ มีเป้าหมายในการศึกษาเกี่ยวกับระบบกฎหมายของสังคม เป็นต้น

เป้าหมายในการศึกษาของปรัชญา คือการครอบคลุมความรู้และความจริงในทุกศาสตร์และในทุกสาขาความรู้ของมนุษย์ รวมทั้งชีวิตประจำวันของตนด้วย ผลจากการศึกษาของปรัชญาก็สามารถนำไปใช้อ้างอิงได้ ผู้ที่มีความรู้ อุทิศตนเพื่อการศึกษาและการผลิตองค์ความรู้ในทางด้านนี้ เรียกกันว่า นักปรัชญา ปราชญ์ หรือ นักปราชญ์

ประเด็นทางปรัชญา

นักปรัชญาสนใจในเรื่องของ การมีอยู่ (Existence) หรือการเป็นอยู่ คุณธรรม ความรู้ ความจริง และความงาม นักปรัชญา ตั้งคำถามกับแนวคิดเหล่านี้ --- ซึ่งเป็นเรื่องที่อยู่นอกขอบเขตของการศึกษาของวิทยาศาสตร์ในอดีต

เรื่องที่อยู่ในขอบเขตการศึกษาของปรัชญา มีจำนวนมาก อาทิเช่น

  • ความคิดที่ถูกต้อง เป็นอย่างไร?

เราจะตรวจสอบว่า ความคิดใดถูกต้องหรือไม่ ได้อย่างไร? ธรรมชาติของความคิดและการคิดเป็นอย่างไร?

  • ความคิด ที่ถูกต้องนั้นเป็นสิ่งสัมบูรณ์หรือว่าเป็นสิ่งสัมพัทธ์?
  • ธรรมชาติของความรู้เป็นอย่างไร?
  • ความรู้เกิดจากเหตุปัจจัยใดบ้าง และอะไรคือกระบวนการที่ทำให้ได้มาซึ่งความรู้?
  • การกระทำ ควรจะมีเป้าหมายขั้นสุดท้ายอยู่ที่อะไร?
  • มีความแตกต่างระหว่างสิ่งที่ดีกับสิ่งที่ชั่วหรือไม่? อะไรคือเกณฑ์ในการแบ่งแยกระหว่างสิ่งที่ดีและสิ่งที่ชั่ว?
  • ความจริงคืออะไร? อะไรคือสิ่งที่เรามีอยู่? ในจักรวาลนี้มีพระเจ้าหรือไม่?
  • ธรรมชาติพื้นฐานของสรรพสิ่งคืออะไร?
  • สรรพสิ่ง ที่มีอยู่ได้ด้วยตัวของมันเองและอยู่นอกเหนือการรับรู้ของเราหรือไม่?
  • ธรรมชาติ ของสถานที่และเวลาเป็นอย่างไร?
  • คนเรา เกิดมาทำไม? การมีสติรู้ คืออะไร?
  • ความงามเป็นเรื่องที่ขึ้นอยู่กับผู้ที่รับรู้หรือไม่? หรือว่าความงามเป็นสิ่งสากลที่เป็นจริงในตัวเองแม้จะไม่ถูกรับรู้?
  • องค์ประกอบของความงามคืออะไร? อะไรคือศิลปะ?

เหล่านี้ เป็นต้น

ในปรัชญากรีกโบราณ กลุ่มของคำถามเหล่านี้จะถูกพิจารณาถึงในสาขาแยกย่อยของปรัชญา คือ การวิเคราะห์ หรือตรรกศาสตร์, ญาณวิทยา จริยศาสตร์ อภิปรัชญา และสุนทรียศาสตร์ โดยที่จริยศาสตร์กับสุนทรียศาสตร์ถูกรวมเรียกว่าอรรฆวิทยา/คุณวิทยา (Axiology) อย่างไรก็ตามปรัชญามิได้สนใจเฉพาะเรื่องเหล่านี้เท่านั้น อริสโตเติลผู้ริเริ่มการแบ่งสาขาในลักษณะนี้ยังคงจัดให้การเมือง ฟิสิกส์สมัยใหม่ ธรณีวิทยา ชีววิทยา อุตุนิยมวิทยา และดาราศาสตร์เป็นสาขาหนึ่งของการศึกษาทางปรัชญาด้วยเช่นกัน แวดวงปรัชญากรีกได้พัฒนากระแสการคิดแบบวิเคราะห์ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากโสกราตีสและวิธีการของเขา ซึ่งเสนอให้แบ่งปัญหาที่สนใจออกเป็นส่วน ๆ เพื่อทำให้เข้าใจปัญหาได้มากขึ้น

อย่างไรก็ตามปรัชญาแนวอื่น เช่นในปรัชญาตะวันออก อาจไม่จำเป็นต้องใช้การแบ่งสาขาย่อยในลักษณะที่กล่าวมา หรือว่าสนใจในเรื่องเดียวกัน

ปรัชญาสาขาต่าง ๆ

ญาณวิทยา

ญาณวิทยา หรือเรียกอีกอย่างว่า ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) บัญญัติขึ้นเพื่อใช้เป็นคำแปลของคำภาษาอังกฤษว่า Epistemology ซึ่งมาจากภาษากรีกว่า Episteme (ความรู้) และ Logos (วิชา) มีความหมายว่า ทฤษฎีแห่งความรู้ ซึ่งญาณวิทยาจะอธิบายถึงปัญหาเกี่ยวกับที่มาของความรู้ แหล่งเกิดของความรู้ ธรรมชาติของความรู้ และเหตุแห่งความรู้ที่แท้จริง การถกเถียง ทางด้านญาณวิทยานั้นประกอบไปด้วย 4 ข้อสำคัญก็คือ 1) การวิเคราะห์เชิงปรัชญาว่าด้วยธรรมชาติของความรู้และวิธีการที่เกี่ยวข้องกับแนวคิด เช่น ความจริง ความเชื่อ และการให้เหตุผล 2) ปัญหาต่าง ๆ ของลัทธิวิมัตินิยม (skepticism) 3) แหล่งที่มาและขอบเขตของความรู้ และความความเชื่อที่สมเหตุสมผล และ 4) เกณฑ์ของความรู้และเหตุผล คำถามทางญาณวิทยาอยู่บนคำถามที่ว่า อะไรคือสิ่งที่ทำให้ความเชื่อเป็นความเชื่อที่มีเหตุผล การที่เราบอกว่าเรารู้อะไรบางอย่าง หมายความว่าอย่างไร

อภิปรัชญา

อภิปรัชญาเป็นศัพท์บัญญัติของคำว่า Metaphysics หมายถึงศาสตร์ที่ว่าด้วยความเป็นจริงหรือสารัตถะ (Reality Essence) มีปรัชญาอีกสาขาหนึ่งที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับ Metaphysics คือ Ontology แปลว่า ภววิทยา ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยความมี (being) ศาสตร์ทั้งสองนี้มีความเกี่ยวข้องกันเพราะว่า Metaphysics คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยความแท้จริงหรือสารัตถะว่ามีจริงหรือไม่ Ontology ก็ศึกษาเรื่องความมีอยู่ของความแท้จริง หรือสารัตถะนั้นเป็นจริงอย่างไรโดยทั่วไปถือว่าศาสตร์ทั้งสองนี้ศึกษาเรื่องเดียวกัน คือ ความมีอยู่ของความแท้จริง หรือความแท้จริงที่มีอยู่ เพราะฉะนั้นจึงถือว่าศาสตร์ทั้งสองเป็นเรื่องเดียวกัน อภิปรัชญาเป็นการศึกษาปรัชญาที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่อยู่นอกเหนือจากการเห็นทั่ว ๆ ไป หรือความรู้ที่อยู่นอกเหนือการรู้เห็นใด ๆ แต่สามารถรู้และเข้าใจด้วยเหตุผล

จริยศาสตร์

จริยศาสตร์ (Ethics) มีที่มาจากรากศัพท์ภาษาละตินคำว่า (Ethos) ที่หมายถึง อุปนิสัย หรือหลักของความประพฤติ ขนบธรรมเนียมที่เป็นความเคยชิน จริยศาสตร์ เป็นการศึกษาถึงเป้าหมายสูงสุดของมนุษย์เราว่าคืออะไร อะไรควรทำหรือไม่ควรทำเพื่อจะได้ไปถึงเป้าหมายสูงสุดนั้น และจะใช้เกณฑ์อะไรมาตัดสินว่า สิ่งนี้ดี สิ่งนี้ไม่ดี ดังนั้น เป้าหมายของชีวิต คือ ตัวที่จะกำหนดการกระทำของมนุษย์ว่าจะเป็นไปในแนวทางใด และเป้าหมายชีวิตของมนุษย์แต่ละคนนั้นก็แตกต่างกันออกไปหลายแนวคิด

สุนทรียศาสตร์

สุนทรียศาสตร์เป็นศัพท์คำใหม่ ที่บัญญัติขึ้นโดย โบมการ์เด็น (Alexander Gottieb Baumgarte) ซึ่งก่อนหน้าที่เป็นเวลา 2000 กว่าปี นักปราชญ์สมัยกรีก เช่น เพลโต อริสโตเติล กล่าวถึงแต่เรื่องความงาม ความสะเทือนใจ ซึ่งเป็นความรู้สึกทางการรับรู้ (Sense Perception) ของมนุษย์ ปัญหาที่พวกเขาโต้เถียงกันได้แก่ ความงามคืออะไร ค่าของความงามนั้นเป็นจริงมีอยู่โดยตัวของมันเองหรือไม่ หรือว่าค่าของความงามเป็นเพียงความข้อความที่เราใช้กับสิ่งที่เราชอบ ความงามกับสิ่งที่งามสัมพันธ์กันอย่างไร มีมาตรการตายตัวอะไรหรือไม่ที่ทำให้เราตัดสินใจได้ว่าสิ่งนั้นงามหรือไม่งาม สุนทรียศาสตร์นับว่าเป็นแขนงหนึ่งของปรัชญาในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาคุณค่า (Axiology) ในสมัยก่อนวิชานี้เป็นที่รู้จักกันในรูปของวิชา “ทฤษฎีแห่งความงาม” (Theory of Beauty)

ตรรกศาสตร์

ตรรกศาสตร์ หรือ ตรรกวิทยา (logic) มาจากรากศัพท์ ในภาษากรีกว่า "Logos" และความหมายของคำว่า logos ตามรากศัพท์เดิมในภาษากรีก หมายถึง คำพูด การพูด เหตุผล สมมุติฐาน สุนทรพจน์ คำกรีกที่มีรากศัพท์มาจาก logos เช่น logistikon มีความหมายถึง การอธิบาย การให้รายละเอียด นอกจากนี้ยังมีความหมาย หมายถึง คำสัญญา แต่อย่างไรก็ตามความหมาย ที่ซ่อนอยู่ของคำว่า Logic คือ การคิด นั่นเอง ตรรกวิทยามิใช่เรื่องราวของปรัชญาโดยตรง แต่มีความสำคัญในฐานะเป็นเครื่องมือในการคิดทางปรัชญา เพื่อค้นหาเหตุผลและความถูกผิดในการโต้แย้งที่ต่างกัน

หรือ ตรรกศาสตร์ เป็นสาขาที่เกี่ยวกับการแสวงหาเหตุผล ข้ออ้าง ข้อสรุป เพื่อให้เกิดความเชื่อ วิธีคิดอย่างมีเหตุผลของตรรกวิทยาที่นำมาเป็นเครื่องมือของความคิดในปรัชญามักมี 2 วิธีคือ

  1. อนุมานวิธี คือ การหาความจริงจากสิ่งที่เราเชื่อว่าเป็นจริงจากข้อสรุปที่ถูกต้องเหมาะสมที่มีอยู่ก่อนแล้ว
  2. อุปมานวิธี คือ การหาความจริงหรือการคิดหาเหตุผลด้วยการพิจารณาข้อปลีกย่อยอื่นด้วยการทดลอง ค้นคว้า แล้วนำมาเป็นข้อสรุปหากฎเกณฑ์

แนวคิดทางปรัชญาและปรัชญาประยุกต์

จิตนิยม

จิตนิยมเชื่อว่า มนุษย์เรามีองค์ประกอบ 2 อย่างคือ จิต กับ ร่างกาย และเชื่อว่า จิตนั้นมีความสำคัญมากกว่าร่างกาย เพราะเป็นตัวตนที่แท้จริงของมนุษย์ จิตหรือวิญญาณนั้นเป็นอมตะ ไม่มีการเปลี่ยนแปลง แต่ร่างกายนั้นมีการเปลี่ยนแปลงไปมา มีเกิดมีดับตามสภาพโลกภายนอก จึงทำให้ร่างกายเกิดสุขหรือทุกข์ต่าง ๆ จิตนิยมมองว่า จิตนั้นทำหน้าที่ควบคุมร่างกาย ส่วนร่างกายเป็นเพียงสิ่งที่ทำตามความต้องการของจิตเท่านั้น

จิตนั้นเป็นสิ่งที่ทำให้เรารู้จักการเรียนรู้ คิดค้น และมีอารมณ์ ความรู้สึกได้ ส่วนสมองนั้นเป็นเพียงเครื่องมือสำคัญที่ช่วยให้มนุษย์เรียนรู้และเข้าใจสิ่งต่าง ๆ ได้ แต่ผู้ที่กระทำการเรียนรู้ เข้าใจ นึกคิดนั้นต้องเป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ไม่ใช่สมอง และไม่ใช่สสาร และสิ่งนั้นคือ จิตหรือวิญญาณ และแม้ว่า จิตจะไม่มีตัวตน จับต้องไม่ได้ แต่มันก็เป็น จริงอยู่ในตัวเราเท่า ๆ กับร่างกายที่เป็นจริงด้วย

เพลโตเชื่อว่า มนุษย์เรามีธรรมชาติเป็นจิตกับร่างกาย เรียกทัศนะนี้ว่า ทวินิยม เพลโตแบ่งจิตออกเป็น 3 ภาค 3 หน้าที่ จิตภาคไหนแข็งแรงกว่า ร่างกายก็จะทำตามจิตภาคนั้นออกคำสั่ง ได้แก่

  1. ภาคตัณหา คือ ภาคที่มนุษย์ล้วนอยู่ในความต้องการความสุขทางร่างกาย เช่น กิน อยู่ โดยไม่คิดถึงสิ่งใดเลย ไม่สนใจความดี ความงาม หรือความเป็นจริง
  2. ภาคน้ำใจ คือ ภาคที่มนุษย์มีความรู้สึกทางใจเกิดขึ้นโดยไม่มีสาเหตุทางวัตถุ เช่น ความซื่อสัตย์ ความรักเกียรติ ความมีเมตตา คนที่มีจิตภาคนี้เข้มแข็ง ก็จะมีภาคตัณหาน้อยลง เพราะความสุขของเขาไม่ได้อยู่ที่การสนองตัณหา
  3. ภาคปัญญา คือ จิตในด้านที่เป็นเหตุผล เป็นจิตภาคที่มีความสำคัญที่สุดสำหรับความเป็นมนุษย์ เพลโตถือว่า มนุษย์จะแตกต่างจากสัตว์และสิ่งต่าง ๆ ในโลก ก็ด้วยจิตภาคปัญญานี้เท่านั้น และการใช้ปัญญาเหตุผลของมนุษย์ภาคนี้ ก็จะทำให้มนุษย์เข้าถึงโลกของแบบได้

มนุษย์ทุกคนมีจิตทั้ง 3 ภาคเหมือนกัน แตกต่างที่อัตราส่วนของจิตในแต่ละภาคนั้นไม่เท่ากัน ใครคนหนึ่งจะแสดงพฤติกรรมอะไรออกมา ก็แล้วแต่ว่ามีจิตภาคไหนเข้มแข็งที่สุด จิตที่ดีที่สุด คือ จิตที่มีภาค 3 ภาค สมดุลกัน แต่ขอให้ภาคปัญญานำภาคอื่น ๆ ก็เป็นอันใช้ได้

ปรัชญาตะวันออก

ปรัชญาอินเดีย

ปรัชญาอินเดียแบ่งเป็น 2 พวก โดยแบ่งตามการนับถือเกี่ยวกับคัมภีร์พระเวท

  1. ปรัชญานาสติกะ โดยเป็นปรัชญาที่ไม่เชื่อในความศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีร์พระเวท ได้แก่
  2. ปรัชญาอาสติกะ โดยเป็นปรัชญาที่เชื่อในความศักดิ์สิทธิ์ของคัมภีร์พระเวท ได้แก่

ปรัชญาจีน

จีนเป็นหนึ่งในชนชาติที่มีประวัติแนวคิดเรื่องปรัชญามายาวนาน โดยมีความรุ่งเรื่องสูงสุดครั้งแรกในยุคชุนชิวจ้านกว๋อ(春秋战国) ที่เรียกว่า "ร้อยสำนักความคิด" (诸子百家)โดยมีนักปรัชญาที่สำคัญ ๆ ได้แก่ เล่าจื๊อ(老子)และจวงจื่อ (庄子)แห่งลัทธิเต๋า(道家)ที่เน้นหลักธรรมชาติและการไม่กระทำ ขงจื๊อ(孔子)แห่งลัทธิขงจื๊อ(儒家)ผู้ยึดมั่นในระเบียบแบบแผน ซางยางและหานเฟย(韩非)แห่งลัทธิกฎหมาย(法家) ที่เชื่อว่ามนุษย์มีพื้นฐานดั้งเดิมชั่วร้ายและต้องใช้กฎหมายควบคุม ม่อจื่อ(墨子)ที่เชื่อว่ามนุษย์ทุกคนเท่าเทียมกัน

ปรัชญาญี่ปุ่น

ลักษณะปรัชญาญี่ปุ่น ปรัชญาของญี่ปุ่นจำแนกเป็นฐานหลักได้ 3 ฐาน คือ 1. ฐานชินโต ฐานนี้ ญี่ปุ่นรับมาในสมัยมีการนับถือธรรมชาติ (พระเจ้า) มีคัมภีร์โคยิกิและนิเป็น ตำราศาสนาประจำชาติ เริ่มเป็น ระบบสั่งสอนและปฏิบัติจากราชสำนักไปถึงราษฎร์สามัญ โดยการที่จะเป็นศาสนาได้จะต้องมีระเบียบมั่นคงมีแบบแผนเพื่อให้เท่าเทียมกับศาสนาอื่นที่เข้ามาใหม่ 2.ฐานมิกาโต คือ ฐานเกี่ยวกับระบบการนับถือจักรพรรดิ ระบบภายในครอบครัวและระบบทางสังคมที่ยังเป็นระบบที่มีชีวิต มีการปฏิบัติ ทะนุถนอมรักษากันไว้ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ไม่มีเสื่อมคลาย ยากที่จะหาได้ในสังคมของชาติอื่น อันประกอบด้วย ความภักดีต่อบรรพบุรุษ ความภักดีต่อครอบครัวและความภักดีต่อสังคมในชาติ 3. ฐานปุตสุโตหรือพระพุทธศาสนา เป็นการภักดีต่อพระพุทธศาสนา เพราะว่า พระพุทธศาสนา มี อิทธิพลยิ่งใหญ่ ควบคู่ไปกับศาสนาชินโต กล่อมจิตใจขั้นพื้นฐานของชาวญี่ปุ่นรวมเข้าเป็นหนึ่งเดียวมาแต่ต้น นำความเจริญด้าน จิตใจ ด้านศิลปะวิทยาการ และวัฒนธรรมความเป็นอยู่มาให้แก่ ญี่ปุ่นทุกระดับ

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  • จำนงค์ ทองประเสริฐ ปรัชญาประยุกต์ ชุดอินเดีย. พ.ศ. 2539. ISBN 974-519-673-8

วิทยาลัยภาษาจีนปักกิ่ง, มหาวิทยาลัยครูหนานจิง, มหาวิทยาลัยครูอันฮุย. (2550).ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ประเทศจีน.กรุงเทพฯ:สุขภาพใจ.

แหล่งข้อมูลอื่น

  • สารานุกรมปรัชญาออนไลน์
  • อิสลาม.in.th : เพื่อความเข้าใจอิสลาม และมุสลิม
  • Stanford Encyclopedia of Philosophy
  • The Internet Encyclopedia of Philosophy
  • ปรัชญาและสุภาษิต
  1. Steup, Matthias. Zalta, Edward N., ed. "Epistemology". Stanford Encyclopedia of Philosophy (Spring 2014 ed.).
  2. Borchert, Donald M., ed. (1967). "Epistemology". Encyclopedia of Philosophy. 3. Macmillan.
  3. Steup, Matthias (8 September 2017). Zalta, Edward N., ed. The Stanford Encyclopedia of Philosophy. Metaphysics Research Lab, Stanford University – via Stanford Encyclopedia of Philosophy.
  4. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ประเทศจีน/วิทยาลัยภาษาจีนปักกิ่งมหาวิทยาลัยครูหนานจิง, มหาวิทยาลัยครูอันฮุย. กรุงเทพ:สุขภาพใจ,2550

ปร, ชญา, คำว, มาจากภาษาส, นสกฤต, रज, รช, ญา, หมายถ, ความร, งเป, นคำเด, ยวก, นใน, ภาษาบาล, อคำว, ญญา, เป, นศ, พท, ญญ, แทนคำว, philosophy, ในภาษาอ, งกฤษ, รากศ, พท, มาจากคำกร, กโบราณ, Φιλοσοφία, โลโซเฟ, งอาจเป, นไปได, ทาโกร, สเป, นผ, ญญ, ไว, เม, อราวป, อนค, โดยเก. khawa prchya mithimacakphasasnskvt प रज ञ p rch ya hmaythung khwamru sungepnkhaediywknin phasabali khuxkhawa pyya epnsphthbyytiaethnkhawa philosophy inphasaxngkvs thimiraksphthmacakkhakrikobran Filosofia fiolosefiy sungxacepnipidthiphithaokrsepnphubyytiiw emuxrawpi 570 495 kxnkh s odyekidcakkarsmaskhawa filos philxs aeplwa khwamrk aela sofia osefiy aeplwakhwamru emuxrwmkncungmikhwamhmaywa khwamrkinkhwamru hrux khwamprarthnacaekhathungkhwamruprchya tamphcnanukrm chbbrachbnthitysthan aeplwa wichawadwyhlkaehngkhwamruaelahlkaehngkhwamcring odyinbrrdakhwamruthnghlaykhxngmnusychatinn xacaebngidepnsxngeruxngihy eruxngthihnung khux eruxngekiywkbthrrmchati echn fisiks miepahmayinkarsuksaephuxhakhwamcringtang aelaekhaicinthrrmchatimakkwasingrxbtwephraarwmipthungckrwalthnghmdxyangluksung chiwwithya miepahmayinkarsuksaekiywkbsingthimichiwitthnghlay ekhmi miepahmayinkarsuksaekiywkbthatuaelaxngkhprakxbkhxngthatu epntn nbaetsmykrikobranmacnthungstwrrsthi 19 karsuksawichadarasastr karaephthy aelafisiks ekhythukrwmxyusakhaprchyathrrmchati Natural philosophy cnkrathngkaretibotkhxngmhawithyalysmyihm sngphlihnkwichakarhnipphthnasastrechphaathangkhunmaeruxngthisxng khux eruxngekiywkbsngkhm echn esrsthsastr miepahmayinkarsuksaekiywkbrabbesrsthkickhxngsngkhm rthsastr miepahmayinkarsuksaekiywkbrabbkaremuxngkarpkkhrxngkhxngsngkhm nitisastr miepahmayinkarsuksaekiywkbrabbkdhmaykhxngsngkhm epntnepahmayinkarsuksakhxngprchya khuxkarkhrxbkhlumkhwamruaelakhwamcringinthuksastraelainthuksakhakhwamrukhxngmnusy rwmthngchiwitpracawnkhxngtndwy phlcakkarsuksakhxngprchyaksamarthnaipichxangxingid phuthimikhwamru xuthistnephuxkarsuksaaelakarphlitxngkhkhwamruinthangdanni eriykknwa nkprchya prachy hrux nkprachy enuxha 1 praednthangprchya 2 prchyasakhatang 2 1 yanwithya 2 2 xphiprchya 2 3 criysastr 2 4 sunthriysastr 2 5 trrksastr 3 aenwkhidthangprchyaaelaprchyaprayukt 3 1 citniym 4 prchyatawnxxk 4 1 prchyaxinediy 4 2 prchyacin 4 3 prchyayipun 5 duephim 6 xangxing 7 aehlngkhxmulxunpraednthangprchya aekikhnkprchyasnicineruxngkhxng karmixyu Existence hruxkarepnxyu khunthrrm khwamru khwamcring aelakhwamngam nkprchya tngkhathamkbaenwkhidehlani sungepneruxngthixyunxkkhxbekhtkhxngkarsuksakhxngwithyasastrinxditeruxngthixyuinkhxbekhtkarsuksakhxngprchya micanwnmak xathiechn khwamkhidthithuktxng epnxyangir eracatrwcsxbwa khwamkhididthuktxnghruxim idxyangir thrrmchatikhxngkhwamkhidaelakarkhidepnxyangir khwamkhid thithuktxngnnepnsingsmburnhruxwaepnsingsmphthth thrrmchatikhxngkhwamruepnxyangir khwamruekidcakehtupccyidbang aelaxairkhuxkrabwnkarthithaihidmasungkhwamru karkratha khwrcamiepahmaykhnsudthayxyuthixair mikhwamaetktangrahwangsingthidikbsingthichwhruxim xairkhuxeknthinkaraebngaeykrahwangsingthidiaelasingthichw khwamcringkhuxxair xairkhuxsingthieramixyu inckrwalnimiphraecahruxim thrrmchatiphunthankhxngsrrphsingkhuxxair srrphsing thimixyuiddwytwkhxngmnexngaelaxyunxkehnuxkarrbrukhxngerahruxim thrrmchati khxngsthanthiaelaewlaepnxyangir khnera ekidmathaim karmistiru khuxxair khwamngamepneruxngthikhunxyukbphuthirbruhruxim hruxwakhwamngamepnsingsaklthiepncringintwexngaemcaimthukrbru xngkhprakxbkhxngkhwamngamkhuxxair xairkhuxsilpa ehlani epntninprchyakrikobran klumkhxngkhathamehlanicathukphicarnathunginsakhaaeykyxykhxngprchya khux karwiekhraah hruxtrrksastr yanwithya criysastr xphiprchya aelasunthriysastr odythicriysastrkbsunthriysastrthukrwmeriykwaxrrkhwithya khunwithya Axiology xyangirktamprchyamiidsnicechphaaeruxngehlaniethann xrisotetilphurierimkaraebngsakhainlksnaniyngkhngcdihkaremuxng fisikssmyihm thrniwithya chiwwithya xutuniymwithya aeladarasastrepnsakhahnungkhxngkarsuksathangprchyadwyechnkn aewdwngprchyakrikidphthnakraaeskarkhidaebbwiekhraahsungidrbxiththiphlmacakoskratisaelawithikarkhxngekha sungesnxihaebngpyhathisnicxxkepnswn ephuxthaihekhaicpyhaidmakkhunxyangirktamprchyaaenwxun echninprchyatawnxxk xacimcaepntxngichkaraebngsakhayxyinlksnathiklawma hruxwasnicineruxngediywknprchyasakhatang aekikhyanwithya aekikh yanwithya hruxeriykxikxyangwa thvsdikhwamru Theory of Knowledge byytikhunephuxichepnkhaaeplkhxngkhaphasaxngkvswa Epistemology sungmacakphasakrikwa Episteme khwamru aela Logos wicha mikhwamhmaywa thvsdiaehngkhwamru sungyanwithyacaxthibaythungpyhaekiywkbthimakhxngkhwamru aehlngekidkhxngkhwamru thrrmchatikhxngkhwamru aelaehtuaehngkhwamruthiaethcring karthkethiyng thangdanyanwithyannprakxbipdwy 4 khxsakhykkhux 1 karwiekhraahechingprchyawadwythrrmchatikhxngkhwamruaelawithikarthiekiywkhxngkbaenwkhid echn khwamcring khwamechux aelakarihehtuphl 1 2 2 pyhatang khxnglththiwimtiniym skepticism 3 aehlngthimaaelakhxbekhtkhxngkhwamru aelakhwamkhwamechuxthismehtusmphl aela 4 eknthkhxngkhwamruaelaehtuphl khathamthangyanwithyaxyubnkhathamthiwa xairkhuxsingthithaihkhwamechuxepnkhwamechuxthimiehtuphl 3 karthierabxkwaeraruxairbangxyang hmaykhwamwaxyangir xphiprchya aekikh xphiprchyaepnsphthbyytikhxngkhawa Metaphysics hmaythungsastrthiwadwykhwamepncringhruxsarttha Reality Essence miprchyaxiksakhahnungthimienuxhaekiywkhxngkb Metaphysics khux Ontology aeplwa phwwithya sungepnsastrthiwadwykhwammi being sastrthngsxngnimikhwamekiywkhxngknephraawa Metaphysics khux sastrthiwadwykhwamaethcringhruxsartthawamicringhruxim Ontology ksuksaeruxngkhwammixyukhxngkhwamaethcring hruxsartthannepncringxyangirodythwipthuxwasastrthngsxngnisuksaeruxngediywkn khux khwammixyukhxngkhwamaethcring hruxkhwamaethcringthimixyu ephraachanncungthuxwasastrthngsxngepneruxngediywkn xphiprchyaepnkarsuksaprchyathiekiywkhxngkbsingthixyunxkehnuxcakkarehnthw ip hruxkhwamruthixyunxkehnuxkarruehnid aetsamarthruaelaekhaicdwyehtuphl criysastr aekikh criysastr Ethics mithimacakraksphthphasalatinkhawa Ethos thihmaythung xupnisy hruxhlkkhxngkhwampraphvti khnbthrrmeniymthiepnkhwamekhychin criysastr epnkarsuksathungepahmaysungsudkhxngmnusyerawakhuxxair xairkhwrthahruximkhwrthaephuxcaidipthungepahmaysungsudnn aelacaicheknthxairmatdsinwa singnidi singniimdi dngnn epahmaykhxngchiwit khux twthicakahndkarkrathakhxngmnusywacaepnipinaenwthangid aelaepahmaychiwitkhxngmnusyaetlakhnnnkaetktangknxxkiphlayaenwkhid sunthriysastr aekikh sunthriysastrepnsphthkhaihm thibyytikhunody obmkaredn Alexander Gottieb Baumgarte sungkxnhnathiepnewla 2000 kwapi nkprachysmykrik echn ephlot xrisotetil klawthungaeteruxngkhwamngam khwamsaethuxnic sungepnkhwamrusukthangkarrbru Sense Perception khxngmnusy pyhathiphwkekhaotethiyngknidaek khwamngamkhuxxair khakhxngkhwamngamnnepncringmixyuodytwkhxngmnexnghruxim hruxwakhakhxngkhwamngamepnephiyngkhwamkhxkhwamthieraichkbsingthierachxb khwamngamkbsingthingamsmphnthknxyangir mimatrkartaytwxairhruximthithaiheratdsinicidwasingnnngamhruximngam sunthriysastrnbwaepnaekhnnghnungkhxngprchyainswnthiekiywkhxngkbkaraeswnghakhunkha Axiology insmykxnwichaniepnthiruckkninrupkhxngwicha thvsdiaehngkhwamngam Theory of Beauty trrksastr aekikh trrksastr hrux trrkwithya logic macakraksphth inphasakrikwa Logos aelakhwamhmaykhxngkhawa logos tamraksphthediminphasakrik hmaythung khaphud karphud ehtuphl smmutithan sunthrphcn khakrikthimiraksphthmacak logos echn logistikon mikhwamhmaythung karxthibay karihraylaexiyd nxkcakniyngmikhwamhmay hmaythung khasyya aetxyangirktamkhwamhmay thisxnxyukhxngkhawa Logic khux karkhid nnexng trrkwithyamiicheruxngrawkhxngprchyaodytrng aetmikhwamsakhyinthanaepnekhruxngmuxinkarkhidthangprchya ephuxkhnhaehtuphlaelakhwamthukphidinkarotaeyngthitangknhrux trrksastr epnsakhathiekiywkbkaraeswnghaehtuphl khxxang khxsrup ephuxihekidkhwamechux withikhidxyangmiehtuphlkhxngtrrkwithyathinamaepnekhruxngmuxkhxngkhwamkhidinprchyamkmi 2 withikhux xnumanwithi khux karhakhwamcringcaksingthieraechuxwaepncringcakkhxsrupthithuktxngehmaasmthimixyukxnaelw xupmanwithi khux karhakhwamcringhruxkarkhidhaehtuphldwykarphicarnakhxplikyxyxundwykarthdlxng khnkhwa aelwnamaepnkhxsruphakdeknthaenwkhidthangprchyaaelaprchyaprayukt aekikhcitniym aekikh citniymechuxwa mnusyeramixngkhprakxb 2 xyangkhux cit kb rangkay aelaechuxwa citnnmikhwamsakhymakkwarangkay ephraaepntwtnthiaethcringkhxngmnusy cithruxwiyyannnepnxmta immikarepliynaeplng aetrangkaynnmikarepliynaeplngipma miekidmidbtamsphapholkphaynxk cungthaihrangkayekidsukhhruxthukkhtang citniymmxngwa citnnthahnathikhwbkhumrangkay swnrangkayepnephiyngsingthithatamkhwamtxngkarkhxngcitethanncitnnepnsingthithaiheraruckkareriynru khidkhn aelamixarmn khwamrusukid swnsmxngnnepnephiyngekhruxngmuxsakhythichwyihmnusyeriynruaelaekhaicsingtang id aetphuthikrathakareriynru ekhaic nukkhidnntxngepnxiksinghnungthiimichsmxng aelaimichssar aelasingnnkhux cithruxwiyyan aelaaemwa citcaimmitwtn cbtxngimid aetmnkepn cringxyuintweraetha kbrangkaythiepncringdwyephlotechuxwa mnusyeramithrrmchatiepncitkbrangkay eriykthsnaniwa thwiniym ephlotaebngcitxxkepn 3 phakh 3 hnathi citphakhihnaekhngaerngkwa rangkaykcathatamcitphakhnnxxkkhasng idaek phakhtnha khux phakhthimnusylwnxyuinkhwamtxngkarkhwamsukhthangrangkay echn kin xyu odyimkhidthungsingidely imsnickhwamdi khwamngam hruxkhwamepncring phakhnaic khux phakhthimnusymikhwamrusukthangicekidkhunodyimmisaehtuthangwtthu echn khwamsuxsty khwamrkekiyrti khwammiemtta khnthimicitphakhniekhmaekhng kcamiphakhtnhanxylng ephraakhwamsukhkhxngekhaimidxyuthikarsnxngtnha phakhpyya khux citindanthiepnehtuphl epncitphakhthimikhwamsakhythisudsahrbkhwamepnmnusy ephlotthuxwa mnusycaaetktangcakstwaelasingtang inolk kdwycitphakhpyyaniethann aelakarichpyyaehtuphlkhxngmnusyphakhni kcathaihmnusyekhathungolkkhxngaebbidmnusythukkhnmicitthng 3 phakhehmuxnkn aetktangthixtraswnkhxngcitinaetlaphakhnnimethakn ikhrkhnhnungcaaesdngphvtikrrmxairxxkma kaelwaetwamicitphakhihnekhmaekhngthisud citthidithisud khux citthimiphakh 3 phakh smdulkn aetkhxihphakhpyyanaphakhxun kepnxnichidprchyatawnxxk aekikhprchyaxinediy aekikh prchyaxinediyaebngepn 2 phwk odyaebngtamkarnbthuxekiywkbkhmphirphraewth prchyanastika odyepnprchyathiimechuxinkhwamskdisiththikhxngkhmphirphraewth idaek prchyacarwak prchyaechn phuththprchya phuththprchyasankiwphasika phuththprchyasankesatrantika phuththprchyasankoykhacar phuththprchyasankmthymka prchyaxastika odyepnprchyathiechuxinkhwamskdisiththikhxngkhmphirphraewth idaek prchyanyaya prchyaiwessika prchyasangkhya prchyaoykha prchyamimangsa prchyaewthanta prchyaxith wta ewthanta prchyawisistaith wta ewthantaprchyacin aekikh cinepnhnunginchnchatithimiprawtiaenwkhideruxngprchyamayawnan odymikhwamrungeruxngsungsudkhrngaerkinyukhchunchiwcankwx 春秋战国 thieriykwa rxysankkhwamkhid 诸子百家 odyminkprchyathisakhy idaek elacux 老子 aelacwngcux 庄子 aehnglththieta 道家 thiennhlkthrrmchatiaelakarimkratha khngcux 孔子 aehnglththikhngcux 儒家 phuyudmninraebiybaebbaephn sangyangaelahanefy 韩非 aehnglththikdhmay 法家 thiechuxwamnusymiphunthandngedimchwrayaelatxngichkdhmaykhwbkhum mxcux 墨子 thiechuxwamnusythukkhnethaethiymkn 4 prchyayipun aekikh lksnaprchyayipun prchyakhxngyipuncaaenkepnthanhlkid 3 than khux 1 thanchinot thanni yipunrbmainsmymikarnbthuxthrrmchati phraeca mikhmphirokhyikiaelaniepn tarasasnapracachati erimepn rabbsngsxnaelaptibticakrachsankipthungrasdrsamy odykarthicaepnsasnaidcatxngmiraebiybmnkhngmiaebbaephnephuxihethaethiymkbsasnaxunthiekhamaihm 2 thanmikaot khux thanekiywkbrabbkarnbthuxckrphrrdi rabbphayinkhrxbkhrwaelarabbthangsngkhmthiyngepnrabbthimichiwit mikarptibti thanuthnxmrksakniwsungepnexklksnimmiesuxmkhlay yakthicahaidinsngkhmkhxngchatixun xnprakxbdwy khwamphkditxbrrphburus khwamphkditxkhrxbkhrwaelakhwamphkditxsngkhminchati 3 thanputsuothruxphraphuththsasna epnkarphkditxphraphuththsasna ephraawa phraphuththsasna mi xiththiphlyingihy khwbkhuipkbsasnachinot klxmcitickhnphunthankhxngchawyipunrwmekhaepnhnungediywmaaettn nakhwamecriydan citic dansilpawithyakar aelawthnthrrmkhwamepnxyumaihaek yipunthukradbduephim aekikhlththisotxik prchyawiekhraah prchyaphakhphunthwip prchyawiphaks prchyahlngsmyihm prchyatawntk prawtiprchyatawntk prchyasasnakhrist prchyayiw prchyarsesiy prchyaechk prchyatawnxxk phuththprchya prchyacin prchyahindu prchyaxislam prchyayipun raynamnkprchyaxangxing aekikhcanngkh thxngpraesrith prchyaprayukt chudxinediy ph s 2539 ISBN 974 519 673 8withyalyphasacinpkking mhawithyalykhruhnancing mhawithyalykhruxnhuy 2550 khwamruthwipekiywkbprawtisastrpraethscin krungethph sukhphaphic aehlngkhxmulxun aekikhsaranukrmprchyaxxniln xislam in th ephuxkhwamekhaicxislam aelamuslim Stanford Encyclopedia of Philosophy The Internet Encyclopedia of Philosophy prchyaaelasuphasit bthkhwamekiywkbprchya hrux namthrrmniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodyephimkhxmul Steup Matthias Zalta Edward N ed Epistemology Stanford Encyclopedia of Philosophy Spring 2014 ed Borchert Donald M ed 1967 Epistemology Encyclopedia of Philosophy 3 Macmillan Steup Matthias 8 September 2017 Zalta Edward N ed The Stanford Encyclopedia of Philosophy Metaphysics Research Lab Stanford University via Stanford Encyclopedia of Philosophy khwamruthwipekiywkbprawtisastrpraethscin withyalyphasacinpkkingmhawithyalykhruhnancing mhawithyalykhruxnhuy krungethph sukhphaphic 2550ekhathungcak https th wikipedia org w index php title prchya amp oldid 9117588, wikipedia, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด,

บทความ

, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม